You are on page 1of 14

1

สื่อการสอน

ความหมายของสื่อการสอน
นักวิชาการในวงการเทคโนโลยีทางการศึกษา โสตทัศนศึกษา
และวงการการศึกษา ได้ให้คำาจำากัดความของ “สื่อการสอน”ไว้อย่าง
หลากหลาย เช่น
ชอร์ส กล่าวว่า เครื่องมือที่ช่วยสื่อความหมายจัดขึ้นโดยครู
และนักเรียน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เครื่องมือการสอนทุกชนิ ดจัดเป็ น
สื่อการสอน เช่น หนังสือในห้องสมุด โสตทัศนวัสดุต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์
วิทยุ สไลด์ ฟิ ล์มสตริป รูปภาพ แผนที่ ของจริง และทรัพยากรจาก
แหล่งชุมชน
บราวน์ และคณะ กล่าวว่า จำาพวกอุปกรณ์ท้ังหลายที่
สามารถช่วยเสนอความรู้ให้แก่ผู้เรียนจนเกิดผลการเรียนที่ดี ทั้งนี้ รวม
ถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่ไม่เฉพาะแต่ส่ิงที่เป็ นวัตถุหรือเครื่องมือเท่านั้น
เช่น การศึกษานอกสถานที่ การแสดง บทบาทนาฏการ การสาธิต การ
ทดลอง ตลอดจนการสัมภาษณ์และการสำารวจ เป็ นต้น
เปรื่อง กุมุท กล่าวว่า สื่อการสอน หมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ใช้
เป็ นเครื่องมือหรือช่องทางสำาหรับทำาให้การสอนของครูถึงผู้เรียนและ
ทำาให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่ครูวางไว้ได้เป็ น
อย่างดี
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ให้ความหมาย สื่อการสอนว่า วัสดุ
อุปกรณ์และวิธก ี ารประกอบการสอนเพื่อใช้เป็ นสื่อกลางในการสื่อความ
หมายที่ผู้สอนประสงค์จะส่ง หรือถ่ายทอดไปยังผู้เรียนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
นอกจากนี้ ยังมีคำาอื่น ๆ ที่มีความหมายใกล้เคียงกับสื่อการสอน
เป็ นต้นว่า
สื่อการเรียน หมายถึง เครื่องมือ ตลอดจนเทคนิ คต่าง ๆ ที่จะ
มาสนับสนุนการเรียนการสอน เร้าความสนใจผู้เรียนรู้ให้เกิดการเรียน
รู้ เกิดความเข้าใจดีขึ้น อย่างรวดเร็ว
สื่อการศึกษา คือ ระบบการนำาวัสดุ และวิธีการมาเป็ น
ตัวกลางในการให้การศึกษาความรู้แก่ผู้เรียนโดยทั่วไป
โสตทัศนูปกรณ์ หมายถึง วัสดุท้ังหลายที่นำามาใช้ใน
ห้องเรียน หรือนำามาประกอบการสอนใด ๆ ก็ตาม เพื่อช่วยให้การเขียน
การพูด การอภิปรายนั้นเข้าใจแจ่มแจ้งยิ่งขึ้น
2
ความสำาคัญของสื่อการสอน
ไชยยศ เรืองสุวรรณ กล่าวว่า ปั ญหาอย่างหนึ่ งในการ
สอนก็คือ แนวทางการตัดสินใจจัดดำาเนิ นการให้ผู้เรียนเกิดการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขึ้นตามจุดมุ่งหมาย ซึ่งการสอนโดยทั่วไป ครู
มักมีบทบาทในการจัดประสบการณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ นด้านเนื้ อหา
สาระ หรือทักษะและมีบทบาทในการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนการ
สอน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับตัวผู้เรียนแต่ละคนด้วยว่า ผู้เรียนมีความต้องการ
อย่างไร ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบนี้ การจัดสภาพ
แวดล้อมที่ดีเพื่อการเรียนการสอนจึงมีความสำาคัญมาก ทั้งนี้ เพื่อสร้าง
บรรยากาศและแรงจูงใจผู้เรียนให้เกิดความอยากเรียนรู้และเพื่อเป็ น
แหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้ของผู้เรียนได้ตามจุดมุ่งหมาย สภาพ
แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ท้ังมวลที่จัดขึ้นมาเพื่อการเรียนการสอนนั้น ก็
คือ การเรียนการสอนนั่นเอง
เอ็ดการ์ เดล ได้กล่าวสรุปถึงความสำาคัญของสื่อการสอน ดังนี้
สื่อการสอน ช่วยสร้างรากฐานที่เป็ นรูปธรรมขึ้นในความคิดของผู้
เรียน การฟั งเพียงอย่างเดียวนั้น ผู้เรียนจะต้องใช้จินตนาการเข้าช่วย
ด้วย เพื่อให้ส่ิงที่เป็ นนามธรรมเกิดเป็ นรูปธรรมขึ้นในความคิด แต่
สำาหรับสิ่งที่ยุ่งยากซับซ้อน ผู้เรียนย่อมไม่มีความสามารถจะทำาได้ การ
ใช้อุปกรณ์เข้าช่วยจะทำาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและสร้างรูปธรรมขึ้นใน
ใจได้
สื่อการสอน ช่วยเร้าความสนใจของผู้เรียน เพราะผู้เรียนสามารถ
ใช้ประสาทสัมผัสได้ด้วยตา หู และการเคลื่อนไหวจับต้องได้แทนการฟั ง
หรือดูเพียงอย่างเดียว
เป็ นรากฐานในการพัฒนาการเรียนรู้และช่วยความทรงจำาอย่าง
ถาวร ผู้เรียนจะสามารถนำาประสบการณ์เดิมไปสัมพันธ์กับ
ประสบการณ์ใหม่ ๆ ได้ เมื่อมีพ้ ืนฐานประสบการณ์เดิมที่ดีอยู่แล้ว
ช่วยให้ผู้เรียนได้มีพัฒนาการทางความคิด ซึ่งต่อเนื่ องเป็ นอันหนึ่ งอัน
เดียวกันทำาให้เห็นความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น เวลา สถาน
ที่ วัฏจักรของสิ่งมีชีวิต
ช่วยเพิ่มทักษะในการอ่านและเสริมสร้างความเข้าใจในความ
หมายของคำาใหม่ ๆ ให้มากขึ้น ผู้เรียนที่อ่านหนังสือช้าก็จะสามารถอ่าน
ได้ทันพวกที่อ่านเร็วได้ เพราะได้ยินเสียงและได้เห็นภาพประกอบกัน
เปรื่อง กุมุท ให้ความสำาคัญของสื่อการสอน ดังนี้
ช่วยให้คุณภาพการเรียนรู้ดีขึ้น เพราะมีความจริงจังและมีความ
หมายชัดเจนต่อผู้เรียน
ช่วยให้นักเรียนรู้ได้ในปริมาณมากขึ้นในเวลาที่กำาหนดไว้จำานวน
หนึ่ ง
ช่วยให้ผู้เรียนสนใจและมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในกระบวนการ
3
เรียนการสอน
ช่วยให้ผู้เรียนจำา ประทับความรู้สึก และทำาอะไรเป็ นเร็วขึ้นและดี
ขึ้น
ช่วยส่งเสริมการคิดและการแก้ปัญหาในขบวนการเรียนรู้ของ
นักเรียน
ช่วยให้สามารถเรียนรู้ในสิ่งที่เรียนได้ลำาบากโดยการช่วยแก้
ปั ญหา หรือข้อจำากัดต่าง ๆ ได้ดังนี้
ช่วยให้นักเรียนเรียนสำาเร็จง่ายขึ้นและสอบได้มากขึ้น เมื่อ
ทราบความสำาคัญของสื่อการสอนดังกล่าวข้างต้นแล้ว สิ่งที่ควร
พิจารณาอีกประการก็คือ ประเภท หรือชนิ ดของสื่อการสอน ดังจะกล่าว
ต่อไปดังนี้
ทำาสิ่งที่ซับซ้อนให้ง่ายขึ้น
ทำานามธรรมให้มีรูปธรรมขึ้น
ทำาสิ่งที่เคลื่อนไหวเร็วให้ดูช้าลง
ทำาสิ่งที่ใหญ่มากให้ย่อยขนาดลง
ทำาสิ่งที่เล็กมากให้ขยายขนาดขึ้น
นำาอดีตมาศึกษาได้
นำาสิ่งที่อยู่ไกลหรือลี้ลับมาศึกษาได้
ประเภทของสื่อการสอน
เอ็ดการ์ เดล จำาแนกประสบการณ์ทางการศึกษา เรียง
ลำาดับจากประสบการณ์ท่ีเป็ นรูปธรรมไปสู่ประสบการณ์ท่ีเป็ น
นามธรรม โดยยึดหลักว่า คนเราสามารถเข้าใจสิ่งที่เป็ นรูปธรรมได้ดี
และเร็วกว่าสิ่งที่เป็ นนามธรรมซึ่งเรียกว่า "กรวยแห่ง
ประสบการณ์" (Cone of Experiences) ซึ่งมีท้ังหมด 10 ขั้น ดังแผนภาพ
ต่อไปนี้
4

รูปภาพที่ 1 แสดงแผนภาพกรวยแห่งประสบการณ์
้ ที่1 ประสบการณ์ตรงและมีความมุ่งหมาย (Direct
ขัน
Purposeful Experience) เป็ นประสบการณ์ท่เี ป็ นรากฐานของ
ประสบการณ์ท้ังปวง เพราะได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ได้เห็น
ได้ยินเสียง ได้สัมผัสด้วยตนเอง เช่น การเรียนจากของจริง (Real
object) ได้ร่วม กิจกรรมการเรียนด้วยการลงมือกระทำา เป็ นต้น
้ ที่ 2 ประสบการณ์จำาลอง (Contrived Simulation
ขัน
Experience) จากข้อจำากัดที่ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนจาก
ประสบการณ์จริงให้แก่ผู้เรียนได้ เช่น ของจริงมีขนาดใหญ่หรือเล็กเกิน
ไป มีความซับซ้อน มีอันตราย จึงใช้ประสบการณ์จำาลองแทน เช่น การ
ใช้หุ่นจำาลอง (Model) ของตัวอย่าง (Specimen) เป็ นต้น
้ ที่ 3 ประสบการณ์นาฏการ (Dramatized Experience) เป็ น
ขัน
ประสบการณ์ท่ีจัดขึ้นแทนประสบการณ์จริงที่เป็ นอดีตไปแล้ว หรือเป็ น
นามธรรมที่ยากเกินกว่าจะเข้าใจและไม่สามารถ ใช้ประสบการณ์
จำาลองได้ เช่นการละเล่นพื้นเมือง ประเพณีต่างๆ เป็ นต้น
้ ที่ 4 การสาธิต (Demonstration) คือ การอธิบายข้อเท็จจริง
ขัน
ความจริง และกระบวนการที่สำาคัญด้วยการแสดงให้เห็นเป็ นลำาดับขั้น
การสาธิตอาจทำาได้โดยครูเป็ นผู้สาธิต นอกจากนี้ อาจใช้ภาพยนตร์
สไลด์และฟิ ล์มสตริป แสดงการสาธิตในเนื้ อหาที่ต้องการสาธิตได้
้ ที่ 5 การศึกษานอกสถานที่ (Field Trip) การพานักเรียนไป
ขัน
ศึกษายังแหล่งความรู้นอกห้องเรียน เพื่อเปิ ดโอกาสให้นักเรียนรู้
หลายๆด้าน ได้แก่ การศึกษาความรู้จากสถานที่สำาคัญ เช่น โบราณ
5
สถาน โรงงาน อุตสาหกรรม เป็ นต้น
้ ที่ 6 นิ ทรรศการ (Exhibition) คือ การจัดแสดงสิ่งต่างๆ รวม
ขัน
ทั้งมีการสาธิตและการฉายภาพยนตร์ประกอบเพื่อให้ประสบการณ์ใน
การเรียนรู้แก่ผู้เรียนหลายด้าน ได้แก่ การจัดป้ ายนิ ทรรศการ การ
จัดแสดงผลงานนักเรียน
้ ที่ 7 ภาพยนตร์ และโทรทัศน์ (Motion Picture and
ขัน
Television) ผู้เรียนได้เรียนด้วยการเห็นและได้ยินเสียงเหตุการณ์ และ
เรื่องราวต่างๆ ได้มองเห็นภาพในลักษณะการเคลื่อนไหวเหมือนจริง
ไปพร้อมๆกัน
้ ที่ 8 การบันทึกเสียง วิทย่ และภาพนิง
ขัน ่ (Recording, Radio
and Picture) ได้แก่ เทปบันทึกเสียง แผ่นเสียง วิทยุ ซึ่งต้องอาศัยเรื่อง
การขยายเสียง ส่วนภาพนิ่ ง ได้แก่ รูปภาพทั้งชนิ ดโปร่งแสงที่ใช้กับ
เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ(Overhead projector) สไลด์ (Slide) ภาพนิ่ ง
จากคอมพิวเตอร์ และภาพบันทึกเสียงที่ใช้กับเครื่องฉายภาพทึบแสง
(Overhead projector)
ขัน้ ที่ 9 ทัศนสัญลักษณ์ (Visual Symbol) มีความเป็ น
นามธรรมมากขึ้น จำาเป็ นที่จะต้องคำานึ งถึงประสบการณ์ของผู้เรียน
เป็ นพื้นฐาน ในการเลือกนำาไปใช้ สื่อที่จัดอยู่ในประเภทนี้ คือ
แผนภูมิ แผนสถิติ -ภาพโฆษณา การ์ตูน แผนที่ และสัญลักษณ์ต่าง
เป็ นต้น
้ ที่ 10 วจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbol) เป็ นประสบการณ์
ขัน
ขั้นสุดท้าย ซึ่งเป็ นนามธรรมที่สุด ไม่มีความคล้ายคลึงกันระหว่างวจน
สัญลักษณ์กับของจริง ได้แก่ การใช้ตัวหนังสือแทนคำาพูด
โรเบิร์ต อี. ดี. ดีฟเฟอร์ แบุงประเภทของสื่อการสอน ดังนี้
วัสด่ทีไ ่ มุต้องฉาย ได้แก่ รูปภาพ แผนภูมิ กราฟ ของจริง ของ
ตัวอย่าง หุ่นจำาลอง แผนที่ กระดาษสาธิต ลูกโลก กระดานชอล์ค
กระดานนิ เทศ กระดานแม่เหล็ก การแสดงบทบาท นิ ทรรศการ การ
สาธิต และการทดลองเป็ นต้น
วัสด่ฉายและเครื่องฉาย ได้แก่ สไลด์ ฟิ ล์มสตริป ภาพโปร่งใส
ภาพทึบ ภาพยนตร์ และเครื่องฉายต่าง ๆ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์
เครื่องฉายสไลด์ และฟิ ล์มสตริป เครื่องฉายกระจกภาพ เครื่องฉายภาพ
ข้ามศีรษะ เครื่องฉายภาพทึบแสง เครื่องฉายภาพจุลทัศน์ เป็ นต้น
โสตวัสด่และเครื่องมือ ได้แก่ แผ่นเสียง เครื่องเล่นจานเสียง
เทป เครื่องบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง และวิทยุ เป็ นต้น
ศาสตราจารย์สำาเภา วรางกูร ได้แบ่งประเภทและชนิ ดของสื่อการ
6
สอน ดังนี้
ประเภทวัสดุโสตทัศน์ (Audio-Visual Materials)
ประเภทภาพประกอบการสอน(Picture Instructional Materials)
- ภาพที่ไม่ต้องฉาย (Unprojected Pictures)
- ภาพเขียน (Drawing)
- ภาพแขวนผนัง (Wall Pictures)
- ภาพตัด (Cut-out Pictures)
- สมุดภาพ (Pictorial Books, Scrapt Books)
- ภาพถ่าย (Photographs)
- ภาพที่ต้องฉาย (Project Pictures)
- สไลด์ (Slides)
- ฟิ ล์มสตริป (Filmstrips)
- ภาพทึบ (Opaque Projected Pictures)
- ภาพโปร่งแสง (Transparencies)
- ภาพยนตร์ 16 มม., 8 มม., (Motion Pictures)
- ภาพยนตร์ (Video Tape)
ประเภทวัสดุอุปกรณ์ลายเส้น (Graphic Instructional Materials)
- แผนภูมิ (Charts)
- กราฟ (Graphs)
- แผนภาพ (Diagrams)
- โปสเตอร์ (Posters)
- การ์ตูน (Cartoons, Comic strips)
- รูปสเก็ช (Sketches)
- แผนที่ (Maps)
- ลูกโลก (Globe)
ประเภทกระดานและแผ่นป้ ายแสดง (Instructional Boards and
7

Displays)
- กระดานดำาหรือกระดานชอล์ก (Blackboard,Chalk Board)
- กระดานผ้าสำาลี (Flannel Boards)
- กระดานนิ เทศ (Bulletin Boards)
- กระดานแม่เหล็ก (Magnetic Boards)
- กระดานไฟฟ้ า (Electric Boards)
ประเภทวัสดุสามมิติ (Three-Dimensional Materials) มี
- หุ่นจำาลอง (Models)
- ของตัวอย่าง (Specimens)
- ของจริง (Objects)
- ของล้อแบบ (Mock-Ups)
- นิ ทรรศการ (Exhibits)
- ไดออรามา (Diorama)
- กระบะทราย (Sand Tables)
ประเภทโสตวัสดุ (Auditory Instructional Materials)
- แผ่นเสียง (Disc Recorded Materials)
- เทปบันทึกเสียง (Tape Recorded Materials)
- รายการวิทยุ (Radio Program)
ประเภทกิจกรรมและการละเล่น (Instructional Activities and
Plays)
- การทัศนาจรศึกษา (Field Trip)
- การสาธิต (Demonstrations)
- การทดลอง (Experiments)
- การแสดงแบบละคร (Drama)
- การแสดงบทบาท (Role Playing)
- การแสดงหุ่น (Pupetry)
8

ประเภทเครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ (Audio-Visual Equipments)


- เครื่องฉายภาพยนตร์ 16 มม. , 8 มม.
- เครื่องฉายสไลด์และฟิ ล์มสตริป (Slide and Filmstrip
Projector)
- เครื่องฉายภาพทึบแสง (Opaque Projectors)
- เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (Overhead Projector)
- เครื่องฉายกระจกภาพ (3 1/4 "x 4" หรือ Lantern Slide
Projector)
- เครื่องฉายภาพจุลทัศน์ (Micro-Projector)
- เครื่องเล่นจานเสียง (Record Plays)
- เครื่องเทปบันทึกภาพ (Video Recorder)
- เครื่องรับโทรทัศน์ (Television Receiver)
- จอฉายภาพ (Screen)
- เครื่องรับวิทยุ (Radio Receive)
- เครื่องขยายเสียง(Amplifier)
อุปกรณ์เทคโนโลยีแบบใหม่ต่างๆ (Modern Instructional
Technology Devices) เช่น โทรทัศนศึกษา
ห้องปฏิบัติการภาษา โปรแกรมเรียน (Programmed Learning) และอื่นๆ
จากการศึกษาถึงความสำาคัญ ตลอดจนการแบ่งประเภทและชนิ ด
ของสื่อการสอนข้างต้น ชี้ให้เห็นถึง
ความสัมพันธ์ของสื่อการสอนที่มีบทบาทในการทำาให้การเรียนการสอน
เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ดี แม้ส่ ือการสอนจะมีความ
สำาคัญและมีประโยชน์มาก แต่ก็ต้องอาศัยเทคนิ คในการใช้ส่ ือการสอน
ด้วย
ค่ณคุาของสื่อโสตทัศน์เพื่อการเรียนการสอน
“ไม่มีเทคโนโลยีใดแทนครูได้ท้ังหมด ดังนั้น ครูจะต้องรู้จักใช้
เทคโนโลยีให้เป็ น เพราะถ้าครูใช้เทคโนโลยีไม่เป็ นเทคโนโลยีจะมา
แทนที่ครู อย่าไปยึดติดกับสมัยก่อนที่ใช้แต่ยน
ื พูดอยู่หน้ากระดานดำา
หรือ Talk and chalk แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น”
9
จากงานวิจัยพบว่า
คนจะจำาได้เพียง 20% ของสิ่งที่ได้เห็น
คนจะจำาได้เพียง 30% ของสิ่งที่ได้ยิน
คนจะจำาได้เพียง 50% ของสิ่งที่ได้เห็นและได้ยิน
คนจะจำาได้ถึง 80% ของสิ่งที่ได้เห็น ได้ยิน และได้
สัมผัส

นักเทคโนโลยีการศึกษา แบ่งชนิ ดและประเภทของสื่อการสอน


จากการศึกษากรวยประสบการณ์ของ Edgar Dale, 1969 (Cone of
Experience) โดยสรุปแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว
ประเภทวัสด่ (Material or Software) ได้แก่ วัสดุท่ีทำาหน้าที่เก็บ
ความรู้ ในรูปของภาพ เสียง ตัวอักษร ผู้เรียนสารมารถศึกษาได้อย่าง
แท้จริงและกว้างขวาง สามารถแบ่งย่อยออกได้อีก 2 ลักษณะคือ
สื่อโสตทัศน์ทีเ่ สนอได้ด้วยตัวมันเอง เช่น หนังสือ ตำารา
(Book) วารสาร (Journals) หุ่นจำาลอง (Models) รูปภาพ (Pictures)
แผนภูมิ (Chart) แผนที่ (Atlas) แผนผัง (Map) ป้ ายนิ เทศ บอร์ดนิ เทศ
(Boards)เป็ นต้น
สื่อโสตทัศน์ทีต
่ ้องอาศัยโสตทัศนูปกรณ์ เครื่องมืออื่นเป็ น
ตัวนำาเสนอได้แก่ แถบวีดิทัศน์ (VDO Tape) ฟิ ล์มสไลด์ (Slide) จาน
บันทึกแถบวีดิทัศน์ (VCD, DVD) แถบบันทึกเสียง (Cassette Tape)
แผ่นโปร่งใส (Transparency) รายการวิทยุ (Radio Programmed) และ
สื่อดิจิตอล (Digital Files) เป็ นต้น
กิดานันท์ มลิทอง (2540) รองศาสตราจารย์ ภาควิชาโสต
ทัศนศึกษา ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ให้คำาจำากัดความของสื่อ
การสอนไว้ว่า "สื่อโสตทัศน์ชนิ ดใดก็ตามไม่ว่าจะเป็ น เทปบันทึกเสียง
สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วีดิทัศน์ ภาพนิ่ งแผนภูมิ ฯลฯ ซึ่งบรรจุเนื้ อหา
เกี่ยวกับการเรียนการสอน สิ่งเหล่านี้ เป็ นวัสดุทางกายภาพที่นำามาใช้
ในเทคโนโลยีการศึกษา คือสิ่งที่ใช้เป็ นเครื่องมือหรือช่องทางสำาหรับ
10
ทำาให้การสอนของผู้สอนส่งไปถึงผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ตามวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่ผู้สอนวางไว้เป็ นอย่างดี"

รูปภาพที่ 2 แสดงตัวอย่างสื่อการสอนในรูปแบบต่างๆ

ค่ณคุาของสื่อการสอน
สื่อการสอนจัดเป็ นองค์ประกอบหนึ่ งที่มีความสำาคัญและจำาเป็ น
อย่างหนึ่ งในระบบการเรียนการสอนหรือระบบการศึกษา เมื่อพิจารณา
ถึงประโยชน์หรือคุณค่าของสื่อการสอนในระบบการเรียนการสอน ในที่
นี้ จะพิจารณาเกี่ยวกับประโยชน์หรือคุณค่าของสื่อการสอน ออกเป็ น 2
ด้าน คือ คุณค่าที่มต
ี ่อผู้เรียน และ คุณค่าที่มีต่อผู้สอน ดังนี้
ค่ณคุาของสื่อการสอนทีม
่ ีตอ
ุ ผู้เรียน
ชุวยกระต้่นและเร้าความสนใจของผู้เรียน สื่อการสอนช่วย
ทำาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจเนื้ อหาของบทเรียน ที่ถูกนำาเสนอผ่านทาง
สื่อการสอน ความสนใจของผู้เรียนเป็ นสิ่งที่สำาคัญอย่างยิ่งใน
กระบวนการเรียนรู้ เพราะอาจนับได้ว่า ความสนใจเป็ นบันไดขั้นแรกที่
จะนำาไปสู่การเรียนรู้ของผู้เรียนในที่สุด ตัวอย่างของการใช้ส่ ือการสอน
ในกรณีน้ี เช่น ก่อนที่จะเริ่มต้นการสอน ผู้สอนทำาการฉายวีดิทัศน์ท่ีเป็ น
โฆษณาทางโทรทัศน์ซึ่งมีเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับเนื้ อหาในบทเรียน
ความน่ าสนใจของสื่อวีดิทัศน์จะช่วยกระตุ้นและเร้าความสนใจของผู้
เรียน นำาให้ผู้เรียนสนใจฟั งเนื้ อหาหลักของบทเรียนต่อไป
ชุวยให้การเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดขึ้นอยุางมีประสิทธิภาพ
สะดวก และรวดเร็ว สื่อการสอนควรเป็ นสิ่งที่ถูกออกแบบมาเพื่อช่วย
ให้ผู้เรียนรับรู้และทำาความเข้าใจเนื้ อหาบทเรียนได้อย่างสะดวก ง่าย
และรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบทเรียนที่เนื้ อหามีความสลับ
ซับซ้อนหรือยากที่จะทำาความเข้าใจ ตัวอย่างของการใช้ส่ ือการสอน
เช่น การใช้ภาพวาดเพื่อแสดงให้เห็นถึงเส้นทางการไหลเวียนของโลหิต
11
ในร่างกาย หรือการใช้หุ่นจำาลองเพื่อแสดงให้เห็นถึงลักษณะและ
ตำาแหน่ งที่ต้ังของอวัยวะภายใน เป็ นต้น การใช้ส่ ือการสอนจะช่วยให้ผู้
เรียนเข้าใจเนื้ อหาบทเรียนได้รวดเร็วและง่ายขึ้น นอกจากนี้ ยังช่วยลด
ปั ญหาของการสื่อความหมายโดยการพูดซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ ทำาให้ผู้เรียน
เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องและตรงกับวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน
ชุวยแก้ปัญหาเรื่องความแตกตุางระหวุางบ่คคล บุคคลหรือ
ผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันในด้านต่างๆ เช่น เพศ ระดับสติ
ปั ญญา ความถนัด ความสนใจ สมรรถภาพทางกาย เป็ นต้น สิ่งเหล่านี้
มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยอาจทำาให้ผู้เรียนมีความถนัด
หรือความสามารถในการรับรู้ และการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน การใช้ส่ ือ
การสอนจะช่วยลดอุปสรรคหรือแก้ปัญหาเรื่องความแตกต่างระหว่าง
บุคคลที่มีผลต่อการเรียนรู้ ให้ลดลงหรือหมดไปได้ ตัวอย่างเช่น การใช้
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction; CAI,
Web Based Instruction; WBI) ให้ผู้เรียนเรียนเป็ นรายบุคคล จะเปิ ด
โอกาสให้ผู้เรียนแต่ละคนใช้เวลาในการเรียนตามความสามารถในการ
เรียนของตนเอง เลือกลำาดับหรือเนื้ อหาบทเรียนตามที่ตนเองสนใจหรือ
ถนัด ก่อน-หลัง ในกรณีน้ี ส่ ือการสอนจะช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการ
เรียนรวมกันในชั้นเรียน ที่ผู้เรียนที่เรียนรู้ได้ช้ามักจะทำาความเข้าใจ
เนื้ อหาบทเรียนได้ไม่ทันกับกลุ่มผู้เรียนที่เรียนรู้ได้เร็วกว่า เป็ นต้น
ชุวยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหวุางผู้เรียนกับผู้เรียน และ
ระหวุางผู้สอนกับผู้เรียน สื่อการสอนที่ถูกออกแบบมาให้ผู้เรียนต้อง
มีส่วนร่วมในการทำากิจกรรมการเรียนการสอน ตัวอย่างเช่น การใช้
เกมต่อภาพ (jigsaw) แข่งขันกันเป็ นกลุ่มเพื่อหาคำาตอบจากภาพที่ต่อ
เสร็จสมบูรณ์ การใช้เกมแขวนคอ (hang man) เพื่อทายคำาศัพท์ เป็ นต้น
สื่อการสอนเหล่านี้ ช่วยเอื้ออำานวยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วย
กัน หรือระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ช่วยให้บรรยากาศของการเรียนการ
สอนมีชีวิตชีวา มีสังคมในห้องเรียนเกิดขึ้น นำามาซึ่งการช่วยเหลือกัน
ในด้านการเรียนร้ต ู ่อไป
ชุวยให้สามารถนำาเนื้ อหาทีม ่ ีข้อจำากัดมาสอนในชัน ้ เรียนได้
ตัวอย่างของเนื้ อหาที่มีข้อจำากัด เช่น เนื้ อหาที่มีความอันตราย เนื้ อหาที่
เป็ นเรื่องหรือเหตุการณ์ในอดีต เนื้ อหาที่เกี่ยวข้องกับระยะทางที่ไกล
เนื้ อหามีค่าใช้จ่ายสูง เป็ นต้น การใช้ส่ ือการสอนจะช่วยลดหรือขจัด
ปั ญหาหรือข้อจำากัดเหล่านี้ ออกไปได้ ตัวอย่างเช่น การฉายวีดิทัศน์ท่ี
บันทึกเหตุการณในอดีตไว้ การใช้ภาพถ่ายของพื้นผิวดวงจันทร์ การใช้
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในรูปแบบของสถานการณ์จำาลองเพื่อฝึ ก
ทักษะการตัดสินใจในเรื่องของการปลดชนวนวัตถุระเบิด การใช้ Flight
12

Simulator เพื่อฝึ กนักบิน เป็ นต้น การใช้ส่ ือการสอนจะช่วยขจัดปั ญหา


ในการสอนเรื้อหาที่มีข้อจำากัดดังที่ได้กล่าวไปแล้วได้
ชุวยให้ผู้เรียนเรียนอยุางกระตือรือร้นและมีสุวนรุวมกับ
การเรียน สภาพการเรียนการสอนที่ดี ต้องจัดให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่าง
กระตือรือร้น (active learning) สื่อการสอนที่ได้รับการออกแบบมาเป็ น
อย่างดี ต้องเป็ นสื่อการสอนที่สามารถกระตุ้นหรือเร้าให้ผู้เรียนทำาการ
เรียนรู้ด้วยความกระตือรือร้น โดยให้ผู้เรียนต้องมีปฏิสัมพันธ์กับบท
เรียน โดยควรเน้นที่ปฏิสัมพันธ์ด้านการใช้ความคิดหรือกิจกรรมทาง
สมอง ตัวอย่างของสื่อการสอนที่สามารถกำาหนดเงื่อนไขให้ผู้เรียนต้อง
เรียนรู้อย่างกระตือรือร้นหรือมีส่วนร่วมกับการเรียน ได้แก่ หนังสือบท
เรียนแบบโปรแกรม บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็ นต้น
ชุวยให้ผู้เรียนเรียนรู้อยุางเพลิดเพลิน สน่กสนานและไมุ
เบื่อหนุายตุอการเรียน หากโดยปกติแล้วผู้สอนใช้วิธีการสอนแบบ
บรรยายเป็ นส่วนใหญ่ การใช้ส่ ือการสอน จะเป็ นการเปลี่ยนบรรยากาศ
ในห้องเรียนให้แตกต่างไปจากสิ่งที่เคยปฏิบัติเป็ นประจำาในชั้นเรียน
ทำาให้ผู้เรียนไม่เบื่อหน่ ายต่อการเรียน สื่อการสอนบางอย่างยังช่วยให้ผู้
เรียนเกิดความเพลิดเพลินในการเรียน เรียนรู้อย่างสนุกสนานตัวอย่าง
เช่น การใช้สไลด์ประกอบเสียง การทดลองในห้องปฏิบัติการ การชม
นิ ทรรศการ เป็ นต้น

รูปภาพที่ 3 การใช้ส่ ือการสอนต่าง ๆ ในโรงเรียน

ค่ณคุาของสื่อการสอนทีม
่ ีตุอผู้สอน
ชุวยแบุงเบาภาระของผู้สอนในด้านการเตรียมการสอนหรือ
เนื้ อหาการสอนเมื่อใช้ส่ ือการสอนผู้สอนไม่ต้องจดจำาเนื้ อหาบทเรียน
ทั้งหมดเพื่อนำามาบรรยายด้วยตนเอง เพราะรายละเอียดของเนื้ อหาบท
เรียนส่วนใหญ่จะถูกนำาเสนอผ่านทางสื่อการสอน ซึ่งช่วยลดงานใน
13
การเตรียมตัวสอนลงไปได้มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีท่ีต้องสอน
ซำ้าในเนื้ อหาเดิม ก็สามารถนำาสื่อการสอนที่เคยใช้สอนกลับมาใช้ได้อีก
การใช้ส่ ือการสอนยังสามารถลดภาระเรื่องเวลาในการสอนได้อีกเช่น
กัน ตัวอย่างเช่น การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการฝึ กทักษะ
การใช้ภาษาอังกฤษ การใช้ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็ นต้น กรณี
เหล่านี้ ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองโดยที่ผู้สอนไม่ต้องใช้เวลามา
สอนผู้เรียนโดยตัวผู้สอน
ชุวยสร้างบรรยากาศในการสอนให้นุาสนใจ ในการสอนด้วย
การบรรยายอย่างเดียวนั้น มีความจำาเป็ นอย่างยิ่งที่ผู้สอนควรจะต้องมี
ความสามารถเฉพาะตัวในการกระต้น ุ และตรึงความสนใจของผู้เรียน
ตลอดจนการสร้างบรรยากาศในการเรียนให้มีความน่ าสนใจ ซึ่งถ้าไม่
เป็ นเช่นนั้นแล้วการใช้ส่ ือการสอนจะช่วยสร้างบรรยากาศในการเรียน
ให้มีความน่ าสนใจขึ้นมาได้
ชุวยสร้างความมัน ่ ใจในการสอน ให้แก่ผู้สอนในกรณีท่เี นื้ อหา
บทเรียนมีหลายขั้นตอน มีการเรียงลำาดับ มีจำานวนมาก หรือยากที่จะ
จดจำา การใช้ส่ ือการสอนจะช่วยให้ผู้สอนมีความมั่นใจในการสอนมาก
ขึ้น เพราะเนื้ อหาเหล่านั้นสามารถที่จะบันทึกไว้ได้ในสื่อการสอน
ตัวอย่างเช่น การใช้แผ่นใส ซึ่งช่วยผู้สอนในเรื่องของการจำาลำาดับการ
สอน เนื้ อหา ตลอดจนข้อความที่ยากต่อการจดจำา ได้เป็ นอย่างดี เมื่อใช้
สื่อการสอน ผู้สอนจะมีความมั่นใจในเรื่องลำาดับการสอน และเนื้ อหา
การสอน
กระต้่นให้ผู้สอนตื่นตัวอยุูเสมอ เมื่อผู้สอนเห็นคุณค่าของสื่อ
การสอน ผู้สอนก็จะนำาสื่อการสอนมาใช้ในการสอนของตนเอง ซึ่งในขั้น
การเตรียมผลิตสื่อการสอน การเลือกสื่อการสอน หรือการจัดหาสื่อ
การสอน ตลอดจนการแสวงหาเทคนิ คใหม่ ๆ มาใช้ในการสอน จะทำาให้
ผู้สอนเป็ นผู้มีความตื่นตัว และมีการพิจารณาเพื่อทำาให้การสอนบรรลุ
วัตถุประสงค์ และดำาเนิ นการอย่างมีประสิทธิภาพ ทำาให้เกิดการ
ปรับปรุงการสอนของตนเอง และทำาให้การเรียนการสอนมีความน่ า
สนใจมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการใช้ส่ ือการสอนนอกจากคุณค่า
ของสื่อการสอนที่มีต่อผู้เรียน และผู้สอนดังที่ได้กล่าวไปแล้วนั้น มีการ
วิจัยเกี่ยวกับสื่อการสอนจำานวนมากที่สนับสนุนและบ่งชี้ว่า สื่อการสอน
มีประโยชน์หรือมีคุณค่าต่อกระบวนการเรียนการสอน เช่น สื่อการ
สอนชุวยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้มากขึ้น โดย ใช้เวลาทีน ่ อ
้ ยลง สื่อ
การสอนชุวยให้ผู้เรียนจดจำาเนื้ อหาบทเรียนได้นานกวุาการฟั ง
บรรยายแตุเพียงอยุางเดียว เป็ นต้น
สรุปได้ว่า สื่อการสอนมีคณ ุ ค่าต่อระบบการเรียนการสอนหรือการ
ศึกษาเป็ นอย่างยิ่ง ในหลายประการด้วยกัน ซึ่งการพิจารณาคุณค่าของ
สื่อการสอนอาจทำาได้โดยการพิจารณาถึงคุณค่าที่เกิดขึ้นต่อผู้เรียน
และผู้สอน ซึ่งเป็ นบุคคลที่มค ี วามสำาคัญและมีบทบาทมากใน
กระบวนการเรียนการสอน ประเด็นสำาคัญของคุณค่าของสื่อการสอน
14
คือ สื่อการสอนช่วยอำานวยความสะดวกให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

อ้างอิง
http://sayan201.blogspot.com/
http://board.atcomink.com/show.php?Category=cai&No=188
http://www.dei.ac.th/ac/04.doc
http://www.dei.ac.th/ac/04.doc

You might also like