You are on page 1of 88

โครงการสิ่งประดิษฐ์ โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้

(The Used Material Lamp)

จัดทาโดย
นางสาวปณาลี อานามวัฒน์
นายศุภสัณห์ เทียนอร่าม
นายอัมรินทร์ สโรบล

โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงการ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาการตลาด
วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงการภาษาไทย โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้

ชื่อโครงการภาษาอังกฤษ The Used Material Lamp


โดย 1. นางสาวปณาลี อานามวัฒน์
2. นายศุภสัณห์ เทียนอร่าม
3. นายอัมรินทร์ สโรบล
..................................................................................................................................................
คณะกรรมการอนุมัติให้เอกสารโครงการฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงการตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ

.......................................................... ...........................................................
(อาจารย์กันตชาติ เมธาโชติมณีกุล) (อาจารย์กมลวรรณ บุญสาย)
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมโครงการ
............................................................
(อาจารย์วงค์เดือน ประไพวัชรพันธ์)
หัวหน้าสาขาวิชาการตลาด
(ก)
บทคัดย่อ

หัวข้อโครงการ โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้
(The Used Material Lamp)

ผู้จัดทาโครงการ 1. นางสาวปณาลี อานามวัฒน์


2. นายศุภสัณห์ เทียนอร่าม
3. นายอัมรินทร์ สโรบล

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์กันตชาติ เมธาโชติมณีกุล


อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมโครงการ อาจารย์กมลวรรณ บุญสาย
สาขาวิชา สาขาวิชาการตลาด
สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ ปีการศึกษา 2561

…………………………………………………………………………………………………….
บทคัดย่อ
โครงการนี้เป็นโครงการประเภทสิ่งประดิษฐ์ โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้ (The Used
Material Lamp) ขวดพลาสติกเมื่อใช้แล้วมักจะถูกทิ้ง ตามบริเวณต่างๆเช่น ถังขยะ ใต้ต้นไม้ แม่น้า ลา
คลอง เป็นจานวนมาก จนทาให้พลาสติกไม่ย่อยสลายไปได้เองตามธรรมชาติ เป็นผลที่ทาให้เกิดมลพิษ
และภาวะโลกร้อน ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม ทางกลุ่มของเราได้มีแนวความคิดที่
จะนาขวดพลาสติกกลับมาใช้ประโยชน์ในด้านอื่นได้อีก ซึ่งการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โคมไฟเก่าๆ
ที่ดูไม่มีมูลค่านามาประยุกต์ โดยนาเศษขวดพลาสติกมาประดับตกแต่งรอบโคมไฟเพื่อเพิ่มมูลค่ามาก
ขึ้น
วัตถุประสงค์การจัดโครงการ 1. เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของวิชาโครงการ 2.เพื่อ
สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเศษวัสดุเหลือใช้ 3. เพื่อให้นักศึกษาเกิดความสามัคคีและร่วมมือปฏิบัติงานกัน
เป็นทีม 4. เพื่อให้นักศึกษามีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และเพิ่มทักษะในการออกแบบสิ่งประดิษฐ์
มีวิธีการดาเนินการ 3 ขั้นตอนดังนี้ คือ ขั้นที่ 1. ขั้นเตรียมการ ขั้นที่ 2. ขั้นดาเนินการ และขั้นที่
3. ขั้นประเมินผล จากการดาเนินงานสรุปได้
วันเวลาและสถานที่ดาเนินโครงการ คือเริ่มดาเนินโครงการตั้งแต่ เดือนมิถุนายน 2561 – เดือน
กุมภาพันธ์ 2562 งบประมาณในการลงทุน 2,100 บาท สถานที่ดาเนินโครงการ 120/530 หมู่บ้านมณียา
วิลล์ ซอยวชิรธรรมสาธิตฯ 12 ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260
ผลการดาเนินงานด้านงบประมาณมีเงินลงทุน เป็นเงิน 2,100 บาท ได้กาไรทั้งสิ้น 2,400 บาท
หักทุนจากการดาเนินการ 2,100 บาท รวมได้กาไรสุทธิ 300 บาท แบ่งกาไรให้สมาชิกในกลุ่ม 3 คน
เท่าๆกัน คนละ 800 บาท
ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างที่ปฎิบัติโครงการ 1. วัสดุอุปกรณ์ในการทาสิ่งประดิษฐ์ไม่เพียงพอ 2.
สมาชิกภายในกลุ่มมีความคิดเห็นไม่ตรงกัน
ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาโครงการประเภทการขายสินค้าจากการดาเนินงาน 1.
ควรมีการหาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการทาสิ่งประดิ ษฐ์ 2. ควรหาข้อมูล และความรู้เกี่ยวกับแหล่ง วัสดุ
อุปกรณ์ที่ซื้อควรอยู่ในบริเวณเดียวกัน
จากการดาเนินโครงการประดิษฐ์โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้ (The Used Material Lamp)
พบว่าเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของวิชาโครงการค่าเฉลี่ย ร้อยละ 4.32 อยู่ในระดับ
พึงพอใจมาก เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเศษวัสดุเหลือใช้ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ 4.35 อยู่ในระดับพึง
พอใจมาก เพื่อให้นักศึกษาเกิดความสามัคคีและร่วมมือปฏิบัติงานกันเป็นทีม เฉลี่ย ร้อยละ
4.53 อยู่ ใ นระดั บ พึ ง พอใจมาก เพื่ อ ให้ นัก ศึ ก ษามีค วามคิ ด ริเริ่ มสร้ างสรรค์แ ละเพิ่ มทั ก ษะในการ
ออกแบบสิ่งประดิษฐ์ ร้อยละ 4.49 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก ความแข็งแรงของชิ้นงาน
ร้อยละ 4.44 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก มีแบบให้เลือกหลากหลาย ร้อยละ 4.26ราคาเหมาะสม
ร้อยละ 4.43 ประโยชน์ของการใช้งาน ร้อยละ 4.46 โดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถาม
นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการอยู่ในระดับ พึงพอใจมาก
(ข)

กิตติกรรมประกาศ

ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์กันตชาติ เมธาโชติมณีกุล ที่ปรึกษาโครงการ ที่ได้ให้คาปรึกษา


แนะนาขั้นตอนและวีธีการจัดทาโครงการ และขอขอบพระคุณอาจารย์กมลวรรณ บุญสายที่ปรึกษาร่วม
โครงการที่ได้คอยให้กาลังใจ ให้คาปรึกษาในเอกสาร และขั้นตอนให้สาเร็จลุล่วงด้วยดี
ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์วงค์เดือน ประไพวัชรพันธ์ หัวหน้าสาขาวิชาการตลาด ที่ให้ความรู้
และให้คาปรึกษาในการจัดทาโครงการจนประสบความสาเร็จ
สุดท้ายขอขอบใจเพื่อน ๆ ทุกคน ที่คอยช่วยเหลือ และให้กาลังใจในการทางานครั้งนี้จนสาเร็จ
ลุล่วงด้วยดี

ขอขอบพระคุณ

ผู้จัดทา
โครงการสิ่งประดิษฐ์
โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้
(The Used Material Lamp)
(ค)

สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ .................................................................................................................................... (ก)
กิตติกรรมประกาศ ...................................................................................................................... (ข)
สารบัญ ....................................................................................................................................... (ค)
บทที่ 1 บทนา ................................................................................................................................ 1
หลักการและเหตุผล ......................................................................................................... 1
วัตถุประสงค์โครงการ ..................................................................................................... 1
เป้าหมายของโครงการ .................................................................................................... 2
การติดตามผลและประเมินโครงการ ............................................................................... 2
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ......................................................................................................... 2
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ............................................................................. 3
แนวคิดโครงการและที่มาของการออกแบบงานประดิษฐ์ ................................................ 3
แนวคิด ทฤษฎีการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค .............................................................. 6
แนวคิด ทฤษฏีทางการตลาด ............................................................................................ 9
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ........................................................................................................... 13
บทที่ 3 วิธีการดาเนินโครงการ ..................................................................................................... 14
ขั้นเตรียมการ .................................................................................................................. 14
ขั้นดาเนินการ ................................................................................................................. 14
ขั้นประเมินผล ................................................................................................................ 15
ขั้นตอนการดาเนินงาน ................................................................................................... 15
งบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ ........................................................................................ 17
ความเป็นมาของธุรกิจ .................................................................................................... 17
สินค้าและบริการ ............................................................................................................ 18
แผนบริหารจัดการ .......................................................................................................... 19
แผนการตลาด ................................................................................................................. 20
แผนการผลิต ................................................................................................................... 23
แผนการเงิน .................................................................................................................... 24
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
แผนฉุกเฉิน หรือแผนประเมินความเสี่ยง ........................................................... 24
บทที่ 4 ผลการดาเนินโครงการ ........................................................................................ 36
บัญชี รายรับ-รายจ่าย .......................................................................................... 39
ผลการดาเนินงานด้านงบประมาณ ..................................................................... 41
ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................... 41
บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินโครงการ และข้อเสนอแนะ .................................................... 42
สรุปผลการดาเนินโครงการ ............................................................................................ 42
สรุปตารางการปฏิบัติงาน .................................................................................. 43
ปัญหา และอุปสรรคในการดาเนินโครงการ ....................................................... 44
ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนา .................................................................... 46
บทที่ 1
บทนา

หลักการและเหตุผล
ขวดพลาสติกเมื่อใช้แล้วมักจะถูกทิ้ง ตามบริเวณต่างๆเช่น ถังขยะ ใต้ต้นไม้ แม่น้า ลาคลอง
เป็นจานวนมาก จนทาให้พลาสติกไม่ย่อยสลายไปได้เองตามธรรมชาติ เป็นผลที่ทาให้เกิดมลพิษ และ
ภาวะโลกร้อน ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม ทางกลุ่มของเราได้มีแนวความคิดที่จะ
นาขวดพลาสติกกลับมาใช้ประโยชน์ในด้านอื่นได้อีก ซึ่งการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โคมไฟเก่าๆที่ดู
ไม่มีมูลค่านามาประยุกต์ โดยนาเศษขวดพลาสติกมาประดับตกแต่งรอบโคมไฟเพื่อเพิ่มมูลค่ามากขึ้น
ดังนั้นคณะผู้จัดทาโครงการ จึงมีแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ จากการนา
วัสดุเหลือใช้อย่างขวดพลาสติกมาเพิ่มมูลค่าให้เป็นส่วนผลิตในการสร้างตั วสินค้า ให้ออกมาเป็นโคม
ไฟประดับที่ตกแต่งจากเศษขวดพลาสติกตามที่ออกแบบและวางแผนไว้ เพื่อดาเนินตามรอยเศรษฐกิจ
พอเพียง ดั่งพระราชดาริของพระเจ้าอยู่หัวที่ว่าด้วยการใช้อย่างพอเพียง เช่นเดียวกับกลุ่มของข้าพเจ้าที่
นาขวดพลาสติกที่เหลือใช้ไร้ค่า ทางกลุ่มได้คิดค้นที่ จะพัฒนาขวดพลาสติกให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ หรือ
นวัตกรรมที่มีคุณค่าและสามารถเสนอขายบุคคลที่มีความสนใจในสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้มากขึ้น
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของวิชาโครงการ
2. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเศษวัสดุเหลือใช้
3. เพื่อให้นักศึกษาเกิดความสามัคคีและร่วมมือปฏิบัติงานกันเป็นทีม
4. เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ แ ละเพิ่ ม ทั ก ษะในการออกแบบสิ่ ง ประ
2

เป้าหมายของโครงการ
1. การนาผลงานส่งเข้าประกวดการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
2. เสนอขายบุคคลทีมีความสนใจในสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้

การติดตามผล และการประเมินโครงการ
1. นาเสนอผลงานเพื่อให้คณะกรรมการเป็นผู้ประเมิน
2. นาผลงานส่งเข้าประกวดการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
3. รายงานสรุปผลการดาเนินการ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. การดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของวิชาโครงการ
2. สามารถสร้างมูลเพิ่มให้กับวัสดุเหลือใช้มากขึ้น
3. ทาให้สมาชิกในกลุ่มเกิดความสามัคคีและมีความร่วมมือจากการทางานเป็นทีม
4. ทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์สร้างสิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่และมีคุณค่า
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
สิ่ง ประดิ ษ ฐ์ เ ป็ น การสร้ า งรู ป ลั ก ษณ์ข องชิ้ น งาน โดยเกิ ด จากแนวความคิ ด หรื อ ความคิ ด
สร้างสรรค์ ความรู้และความเข้าใจที่มุ่งสร้างผลงานโดยมีจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ในหลักการ
ออกแบบและนามาใช้ โดยการดัดแปลงแบบเดิมที่มีอยู่ ทาให้ก ารออกแบบชิ้นงานนั้นมีคุณค่าและ
น่าสนใจมากขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ในการสร้างสิ่งประดิษฐ์เพื่อตอบสนองความต้องการด้วยประโยชน์
ใช้สอยต่าง ๆ ในการประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ “โคมไฟประดับ ” การดาเนินโครงการครั้งนี้ คณะ
ผู้จัดทาโครงการได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัย และงานประดิษฐ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อ
ใช้เป็นแนวทางในการกาหนดโครงการสร้างสิ่งประดิษฐ์ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. แนวคิดโครงการและที่มาของการออกแบบงานประดิษฐ์
2. แนวคิด ทฤษฎีการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค
3. แนวคิด ทฤษฎีทางการตลาด
4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

แนวคิดโครงการและที่มาของการออกแบบงานประดิษฐ์
ประเภทโครงการ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เป็นการใช้บูรณาการร่วมกับการเรียนรู้ทักษะและเป็น
พื้นฐานในการกาหนดโครงงานและปฏิบัติ
2. โครงงานตามความสนใจ เป็นโครงงานที่ผู้เรียนกาหนดขั้นตอน ความถนัด ความ
สนใจ ความต้องการโดยใช้ทักษะความรู้ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ มาบูรณาการเป็นโครงงานและ
ปฏิบัติ สามารถแบ่งได้ 4 รูปแบบ ตามวัตถุประสงค์
4

2.1 โครงงานที่เป็นการสารวจ รวบรวมข้อมูล


เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ในการรวบรวมข้อมูล เรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วนาข้อมูนั้น
มาจาแนกเป็นหมวดหมู่ ในรูปแบบที่เหมาะสม ข้อมูลที่ได้จะนาไปปรับปรุงพัฒนาผลงาน ส่งเสริม
ผลผลิตให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น ข้อมูลดังกล่าว อาจมีผู้จัดทาขึ้นแล้ว แต่มีการเปลี่ยนแปลงจึงต้องมีการ
จัดทาใหม่ เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของผู้ศึกษาโครงงาน
2.2 โครงงานที่เป็นการศึกษาค้นคว้า ทดลอง
เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยศึกษาหลักการและ
ออกแบบการค้นคว้า ในรูปแบบการทดลองเพื่อยืนยันหลักการ ทฤษฎี เพื่อศึกษาแนวทางในการเพิ่ม
คุณค่าและการใช้ประโยชน์มากขึ้น
2.3 โครงงานที่เป็นการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือแนวความคิดใหม่ ๆ
เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้ หรือหลักการใหม่ ๆ เกี่ยวกับเรื่องใด
เรื่องหนึ่งที่ยังไม่มีใครเคยคิด หรือขัดแย้ง หรือขยายจากของเดิมที่มีอยู่ จากเนื้อหาวิชาการต่างๆ นามา
ปรับปรุง พัฒนา ให้สอดคล้องมีความชัดเจน ซึ่งต่างผ่านการพิสูจน์อย่างมีหลักการและเชื่อถือได้
2.4 โครงงานเป็นการสร้างสิ่งประดิษฐ์ คิดค้น
เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ คือ การนาความรู้ทฤษฎี หลักการ มาประยุกต์ใช้ใ นการ
ด าเนิ น ชี วิ ต โดยประดิ ษ ฐ์ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ต่ า ง ๆ เพื่ อ ประโยชน์ ต่ า ง ๆ หรื อ อาจเป็ น การ
สร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่หรือปรับปรุงของเดิมให้ดีขึ้น
การออกแบบงานประดิษฐ์ เป็นการสร้างรูปลักษณ์ของชิ้นงาน โดยอาศัยความคิดสร้างสรรค์
ความรู้ค วามเข้ า ใจ ในหลั ก การออกแบบและน ามาใช้ ทาให้ก ารออกแบบชิ้น งานนั้นมี คุณค่ าและ
น่าสนใจมากขึ้น
1. การออกแบบ หมายถึง การท าต้นแบบ หรื อการทาโครงสร้ างของชิ้นงานที่ต้ องการ
ประดิษฐ์ เพื่อให้ได้ผลงานสาเร็จตามที่มุ่งหวัง โดยการเลือกวัสดุ เลือกสี ที่นามาใช้ให้เหมาะสมสวยงาม
5

2. ที่มาของการออกแบบงานประดิษฐ์
2.1 การศึกษาแบบของงานที่ตนสนใจจากหนังสือ นิตยสารแล้วทดลองปฏิบัติ
2.2 การดัดแปลงแบบที่มีอยู่เดิม หรือแบบตัวอย่างโดยทาการศึกษาแบบ จนเกิดความ
เข้ า ใจ จึง ปฏิบั ติก ารสร้า งแบบ โดยการนาเอาแนวความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์ของตนเองไป
ผสมผสานทาให้ได้แบบที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะไม่เหมือนใคร
2.3 การออกแบบด้วยตนเองคือการออกแบบที่เกิดจากแนวคิดของตนเองและทดลอง
ปฏิบัติสร้างแบบจนได้แบบที่สวยงาม เหมาะสมตามความต้องการ
คุณสมบัติของ นักออกแบบมีหลายประการ จาแนกออกได้ดังนี้
1. เป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
2. เป็นผู้ที่มีทักษะในการออกแบบ
3. เป็นผู้ที่รู้จักสังเกตและทาความเข้าใจกับสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวซึ่งมีทั้งสภาพทางธรรมชาติ
และสิ่งต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น เพื่อให้เป็นแหล่งความคิดสร้างสรรค์ ในการออกแบบ
4. เป็นผู้ที่ติดตามการเปลี่ยนแปลงของงานออกแบบสร้างสรรค์ทุกสาขาอยู่เสมอ
5. เป็นผู้ที่มีความสนใจศึกษาความเชื่อ และผลงานที่ออกแบบตามความเชื่อในยุคต่างๆที่ผ่านมา
6. เป็นผู้ที่เข้าใจสภาพแวดล้อมของสังคม และความต้องการของประชาชนเพื่อให้การออกแบบ
สอดคล้องกับความต้องการ
7. เป็ นผู้ ที่ มี ค วามเข้ า ใจงานออกแบบแต่ล ะชนิด เพื่ อให้ก ารออกแบบตอบสนองได้ตรงตาม
จุดประสงค์ของงานออกแบบนั้น ๆ
ประโยชน์ของงานประดิษฐ์
1. งานประดิษฐ์มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของไทย
2. งานประดิษฐ์มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับขนบธรรมเนียมและประเพณีทางศาสนา
3. งานประดิษฐ์ช่วยให้เกิดความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ
4. งานประดิษฐ์ช่วยให้การทางานของสมองและประสาทสัมผัสประสานสัมพันธ์กัน
5. ใช้เป็นเครื่องประดับตกแต่ง ของเล่น ของขวัญที่ระลึก
6

แนวคิด ทฤษฎีการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค
Shelly อ้างโดย ประกายดาว (2536) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ ว่าความพึงพอใจ
เป็นความรู้สึกสองแบบของมนุษย์ คือ ความรู้สึกทางบวกและความรู้สึกทางลบ ความรู้สึกทางบวกเป็น
ความรู้สึกที่เกิดขึ้นแล้วจะทาให้เกิดความสุข ความสุขนี้เป็นความรู้สึกที่แตกต่างจากความรู้สึกทางบวก
อื่นๆ กล่าวคือ เป็นความรู้สึกที่มีระบบย้อนกลับความสุขสามารถทาให้เกิดความรู้สึกทางบวกเพิ่มขึ้นได้
อีก ดังนั้นจะเห็นได้ว่าความสุขเป็นความรู้สึกที่สลับซับซ้อนและความสุขนี้จะมีผลต่อบุคคลมากกว่า
ความรู้สึกในทางบวกอื่นๆ ขณะที่วิชัย (2531) กล่าวว่า แนวคิดความพึงพอใจ มีส่วนเกี่ยวข้องกับความ
ต้องการของมนุษย์ กล่าวคือ ความพึงพอใจจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อความต้องการของมนุษย์ได้รับการ
ตอบสนอง ซึ่งมนุษย์ไม่ว่าอยู่ในที่ใดย่อมมีความต้องการขั้นพื้นฐานไม่ต่างกัน
พิทักษ์ (2538) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นปฏิกิริยาด้านความรู้สึกต่อสิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้นที่
แสดงผลออกมาในลักษณะของผลลัพธ์สุดท้ายของกระบวนการประเมิน โดยบ่งบอกทิศทางของผลการ
ประเมินว่าเป็นไปในลักษณะทิศทางบวกหรือทิศทางลบหรือไม่มีปฏิกิริยาคือเฉยๆ ต่อสิ่งเร้าหรือสิ่ง
ที่มากระตุ้น
สุเทพ (2541) ได้สรุปว่า สิ่งจูงใจที่ใช้เป็นเครื่องมือกระตุ้นให้บุคคลเกิดความพึงพอใจ มี
ด้วยกัน 4 ประการ คือ
1. สิ่งจูงใจที่เป็นวัตถุ (material inducement) ได้แก่ เงิน สิ่งของ หรือสภาวะทางกายที่ ให้แก่ผู้
ประกอบกิจกรรมต่างๆ
2. สภาพทางกายที่พึงปรารถนา (desirable physical condition ) คือ สิ่งแวดล้อมในการประกอบ
กิจกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งอันก่อให้เกิดความสุขทางกาย
3. ผลประโยชน์ทางอุดมคติ (ideal benefaction) หมายถึง สิ่งต่างๆที่สนองความต้องการของ
บุคคล
4. ผลประโยชน์ทางสังคม (association attractiveness) หมายถึง ความสัมพันธ์ฉันท์มิตรกับผู้ร่วม
กิจกรรม อันจะทาให้เกิดความผูกพัน ความพึงพอใจและสภาพการร่วมกัน
ปรียากร (2535) ได้มีการสรุปว่า ปัจจัยหรือองค์ประกอบที่ใช้เป็นเครื่องมือบ่งชี้ถึงปัญหาที่
เกี่ยวกับความพึงพอใจในการทางานนั้นมี 3 ประการ คือ
ปัจจัยด้านบุคคล (personal factors) หมายถึง คุณลักษณะส่วนตัวของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับงาน
ได้แก่ ประสบการณ์ในการทางาน เพศ จานวนสมาชิก ในความรับผิดชอบ อายุ เวลาในการทางาน
การศึกษา เงินเดือน ความสนใจ เป็นต้น
7

ปัจจัยด้านงาน (factor in the Job) ได้แก่ ลักษณะของงาน ทักษะในการทางาน ฐานะทางวิชาชีพ


ขนาดของหน่วยงาน ความห่างไกลของบ้านและที่ทางาน สภาพทางภูมิศาสตร์ เป็นต้น
ปัจจัยด้านการจัดการ (factors controllable by management) ได้แก่ ความมั่นคงในงานรายรับ
ผลประโยชน์ โอกาสก้าวหน้า อานาจตามตาแหน่งหน้าที่ สภาพการทางาน เพื่อนร่วมงาน ความรับผิด
การสื่อสารกับผู้บังคับบัญชา ความศรัทธาในตัวผู้บริหาร การนิเทศงาน เป็นต้น
แรงจูงใจเป็นคาที่ใช้กันมากแต่บางครั้งก็ใช้กันไม่ค่อยถูกต้อง ความจริงแล้วแรงจูงใจใช้เพื่อ
อธิบายว่าทาไมอินทรีย์จึงการกระทาอย่างนั้นและทาให้เกิดอะไรขึ้นมาบ้าง
คาว่า “แรงจูงใจ” มาจากคากริยาในภาษาละตินว่า “Movere”(Kidd, 1973:101) ซึ่งมีความหมาย
ตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า “to move” อันมีความหมายว่า “เป็นสิ่งที่โน้มน้าวหรือมักชักนาบุคคลเกิด
การกระทาหรือปฏิบัติการ (To move a person to a course of action) ดังนั้นแรงจูงใจจึงได้รับความ
สนใจมากในทุกๆวงการ
โลเวลล์ (Lovell, 1980: 109) ให้ความหมายของแรงจูงใจว่า ”เป็นกระบวนการที่ชักนาโน้มน้าว
ให้บุคคลเกิดความมานะพยายามเพื่อที่จะสนองตอบความต้องการบางประการให้บรรลุผลสาเร็จ ”ไม
เคิล คอมแจน (Domjan 1996: 199) อธิบายว่าการจูงใจเป็นภาวะในการเพิ่ มพฤติกรรมการกระทา
กิจกรรมของบุคคลโดยบุคคลจงใจกระทาพฤติกรรมนั้นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ
สรุปได้ว่าการจูงใจเป็นกระบวนการที่บุคคลถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้าโดยจงใจให้กระทาหรือดิ้นรน
เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์บางอย่างซึ่งจะเห็นได้พฤติกรรมที่เกิดจากการจูงใจเป็นพฤติกรรมที่มิใช่เป็น
เพียงการตอบสนองสิ่งเร้าปกติธรรมดา ยกตัวอย่างลักษณะของการตอบสนองสิ่งเร้าปกติคือ การขานรับ
เมื่อได้ยินเสียงเรียก แต่การตอบสนองสิ่งเร้าจัดว่าเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการจูงใจเช่น พนักงานตั้งใจ
ทางานเพื่อหวังความดีความชองเป็นกรณีพิเศษ

แนวคิด ทฤษฎีทางการตลาด
แนวคิ ด ทางการตลาดของ ฟิ ลลิ ป คอตเลอร์ ความส าคญของฟิ ล ลิ ป คอตเลอร์ ใ นศาสตร์
การตลาดฟิลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) เกิดเมื่อปีค.ศ.1931 จบการศึกษาระดับปริญญาโทจากมหา
วิทยาแห่งชิคาโก (University of Chicago) และปริญญาเอกจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งรัฐแมทซาจูเซทท์
(MIT) ทางด้านเศรษฐศาสตร์และการศึกษาขั้นสูงกว่าปริญญาเอกทางด้านคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยฮา
วาร์ด และทางด้านวิทยาศาสตร์ทางพฤติกรรม (Behavioural Science) ที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐชิคาโก
ขณะนี้เป็นอาจารย์ประจาที่มหาวิ ทยาลัยนอร์ธเวสเทิร์น (Kellogg Graduate School of Management)
ฟิลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) ได้นาเสนอการนาหลักการตลาดทั้งหลายไปประยุกต์ใช้ในโลก
8

ปัจจุบัน ทั้งทางด้านธุรกิจทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business) รูปแบบทางการตลาดขององค์กรและ


คุณค่าต่อลูกค้าและเป็นที่ปรึกษาในด้านของการวางแผนและกลยุทธ์ทางการตลาด การวางผังองค์กร
ทางด้านการตลาดและการตลาดระหว่างประเทศ ให้กับบริษัทเช้น ไอบีเอ็ม (IBM) เจนเนอรัลอิเล็กทริก
(General Electric) เอทีแอนด์ที (AT&T) ฮันนีเวลล์ (Honeywell) ธนาคารแห่งชาติอเมริกา (Bankof
America) สายการบินสวิสแอร์ (SAS Airlines) บริษัทมิชลิน (Michelin) โมโตโรลลา (Motorola)และ
บริษัทรถยนต์ฟอร์ด (Ford)
นอกจากนี้ ฟิลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) ได้เสนอผลงานวิจัยโดยส่วนใหญ่นั้น เน้นทางด้าน
การนาหลักการทางการตลาดไปประยุกต์ใช้ และวิเคราะห์สิ่งที่ เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน อันนาไปสู่การ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆสู่ตลาด และสามารถวางกลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อให้ธุรกิจสามารถแข่งขันได้ใน
ระยะยาว ในฐานะอาจารย์และผู้นาเสนอแนวคิดหลักทางการตลาดสู่สังคม ฟิลลิป คอตเลอร์ (Philip
Kotler) จึงได้รับเชิญไปแนะนาและบรรยายแก่หลายๆบริษัท ทั่วโลกเช่นยุโรป เอเชียและอเมริกาใต้
เกี่ย วกั บการนาหลักการทางเศรษฐศาสตร์และการตลาดไปปฏิบัติ เพื่อสร้างความได้เปรียบในการ
แข่งขันให้กับองค์กรเหล่านั้น ฟิลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) ยังได้ให้คาปรึกษากับรัฐบาลต่างๆ ใน
ด้านการพัฒนาและการนาความสามารถที่มี อยู่ของชาติ หรือคนในชาตินั้นๆ หรือในองค์กรนั้นๆ มาทา
ให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันทั้งในประเทศและในระดับนานาชาติอาทิในประเทศไทย ฟิลลิป
คอตเลอร์ (Philip Kotler) กล่าวได้ว่า เป็นผู้รู้ที่ยิ่งใหญ่ทางด้านเศรษฐศาสตร์ ทั้งเศรษฐศาสตร์จุลภาค
และมหภาค และการตลาดแขนงย่อยๆสาเหตุที่ ฟิลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) ได้รับการยกย่องอย่าง
มากในสาขาทางด้านการตลาด มีดังต่อไปนี้ (The IEBM Handbook of Management Thinking, p. 361.)
ประการแรก ฟิลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) เขาเป็นผู้ที่เปลี่ยนการอธิบายทางด้าน การตลาด
จากกิจกรรม(activity)ไปสู่การให้ความสาคัญที่การสรางความเข้าใจว่าการตลาดคืองานทางด้านการ
ผลิต (work of production)
ประการที่สอง ฟิลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) ได้ต่อยอดความคิดของ ปีเตอร์เอฟ. ดรัคเกอร์
(Peter F. Drucker) ในการเปลี่ยนความคิดทางการตลาดจากเดิม มุ่งเน้นที่ราคา และการกระจายสินค้า
(price and distribution) ไปสู่การเน้นที่พบความต้องการของลูกค้า(meeting customers’s need) และ
ประโยชน์ที่จะได้รับจากผลิตภัณฑ์และบริการ (benefits receivesfrom a product or service) และ
ประการสุดท้าย ฟิลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) เป็นผู้ขยายขอบเขตของการตลาดให้กว้างขึ้น
จากการรับรู้เดิมในมิติของการตลาดว่า เกี่ยวข้องสัมพันธ์ขบวนการสื่อสารและแลกเปลี่ยน (process of
9

communication and exchange) หากแต่ ฟิลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) ได้ขยายกรอบความคิดเหล่านี้


ให้ได้เห็นว่าการตลาดนั้น สามารถเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเรื่องอื่นใดที่ไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจได้เช่นกัน อาทิ
เช่น การกุศล พรรคการเมือง เป็นต้น
ความหมายและขอบเขตของการตลาดตลาด (Market)
ในความหมายของ ฟิลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) หมายถึง ที่ใดก็ตาม ทั้งที่เป็น
สถานที่หรือไม่มีสถานที่ ที่มีอุปสงค์และอุปทาน ในสินค้า หรือบริการมาพบกัน จนทาให้เกิดราคาที่มา
จากกลไกตลาด โดยเศรษฐกิจในระบบตลาดนี้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของราคา เช่น การที่ราคาลดลง
โดยอัตโนมัติเมื่อมีการเสนอขายสินค่าเป็นต้น ทางด้านทฤษฏีนั้น เห็นว่า เศรษฐกิจในระบบตลาดที่
แท้จริงนั้น จาเป็นต้องประกอบไปด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ ดังนี้คือ ผู้ผลิตสินค่าที่มีขนาดเล็ก ผู้บริโภคจานวน
มากรวมถึง มาตรการในการกีดกันการเข้าตลาดที่น้อย เงื่อนไขเหล่านี้ถ้ามีครบทั้งหมดจะถือว่าเป็น
ตลาดที่สมบูรณ์ซึ่งพบได้มากในโลกปัจจุบัน (Kotler, 2003a, p.11) คาว่า “ตลาด (Market)” มี
ความหมายครอบคลุมถึงลูกค้าหลายกลุ่ม รวมทั้งตลาดที่มีตัวตนโดยลักษณะทางกายภาพ และตลาดที่
ไม่ มี ตัวตนในกายภาพ (ตลาด Digital) ตลอดจนตลาดขนาดใหญ่ที่มีหลายๆตลาดย่อยซึ่งมีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์อยู่ในธุรกิจนั้นขอบเขตของการตลาด (The Scope of Marketing) การตลาดเป็นงานที่
เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ การส่งเสริม และการส่งมอบสินค้า หรือบริการให้กับผู้บริโภคและองค์กร
การธุรกิจต่างๆ นักการตลาดมีหน้าที่กระตุ้นความต้องการ ซื้อผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ของบริษัทตลอดจน
รับผิดชอบต่อ
ส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) หมายถึง เครื่องมือทางการตลาดที่สามารถ
ควบคุมได้ ซึ่งกิจการผสมผสานเครื่องมือเหล่านี้ให้สามารถตอบสนองความต้องการและสร้างความพึง
พอใจให้แก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ส่วนประสมการตลาด ประกอบด้วยทุกสิ่งทุกอย่างที่กิจการใช้เพื่อให้มี
อิทธิพลโน้มน้าวความต้องการผลิตภัณฑ์ของกิจการ ส่วนประสมการตลาดแบ่งออกเป็นกลุ่มได้ 4 กลุ่ม
ดังที่รู้จักกันว่าคือ “4 Ps” อันได้แก่ ผลิตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) การจัดจาหน่าย (Place) และการ
ส่งเสริมการขาย (Promotion)
10

องค์ประกอบของส่วนผสมทางการตลาด (4P’s) ว่าเป็นตัวกระตุ้นหรือสิ่งเร้าทางการตลาดที่


กระทบต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อ โดยแบ่งออกได้ดังนี้
1. ผลิ ต ภัณฑ์ (Product) ลัก ษณะบางประการของผลิตภัณฑ์ ของบริษั ทที่อาจกระทบต่อ
พฤติ ก รรมการซื้ อ ของผู้ บ ริ โ ภค คื อ ความใหม่ ความสลั บ ซั บ ซ้ อ นและคุ ณ ภาพที่ ค นรั บ รู้ ไ ด้ ข อง
ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ที่ใหม่และสลับซับซ้อนอาจต้องมีการตัดสินใจอย่างกว้างขวาง ถ้าเรารู้เรื่องเหล่านี้
แล้วในฐานะนักการตลาดเราควรจะเสนอทางเลือกที่ง่ายกว่า ผู้บริโภคมีความคุ้นเคยเพื่อให้ผู้บริโภคที่
ไม่ต้องการเสาะแสวงหาทางเลือกอย่างกว้างขวางในการพิจารณา ส่วนในเรื่องของรูปร่างของผลิตภัณฑ์
ตลอดจนหีบห่อและป้ายฉลาก สามารถก่ออิทธิพลต่อกระบวนการซื้อของผู้บริโภค หีบห่อที่สะดุดตา
อาจทาให้ผู้บริโภคเลือกไว้เพื่อพิจารณา ประเมินเพื่อการตัดสินใจซื้อ
2. ราคา (Price) ราคามีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อก็ต่อเมื่อผู้บริโภคทาการประเมินทางเลือก
และทาการตัดสินใจ โดยปกติผู้บริโภคชอบผลิตภัณฑ์ราคาต่า นักการตลาดจึงควรคิดราคาน้อย ลด
ต้ น ทุ น การซื้ อ หรื อ ท าให้ ผู้ บ ริ โ ภคตั ด สิ น ใจด้ ว ยลั ก ษณะอื่ น ๆ ราคาสู ง ไม่ ท าให้ ก ารซื้ อ ลดน้ อ ยลง
นอกจากนี้ราคายังเป็นเครื่องประเมินคุณค่าของผู้บริโภคซึ่งก็ติดตามด้วยการซื้อ
11

3. ช่องทางการจัดจาหน่าย (Placement-Channel of Distribution) กลยุทธ์ของนักการตลาดใน


การทาให้มีผลิตภัณฑ์ไว้พร้อมจาหน่าย สามารถก่ออิทธิพลต่อการพบผลิตภัณฑ์ แน่นอนว่าสินค้าที่มี
จาหน่ายแพร่หลายและง่ ายที่จะซื้อก็จะทาให้ผู้บริโภคนาไปประเมินประเภทของช่องทางที่นาเสนอก็
อาจก่ออิทธิพลต่อการรับรู้ภาพพจน์ของผลิตภัณฑ์
4. การส่งเสริมการตลาด (Promotion-Marketing Communication) การส่งเสริมการตลาด
สามารถก่ออิทธิพลต่อผู้บริโภคได้ทุกขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจซื้อ ข่าวสารที่นักตลาดส่งไป
อาจเตือนใจให้ผู้บริโภครู้ว่าเขามีปัญหา สินค้าของนักการตลาดสามารถแก้ไขปัญหาได้และมันสามารถ
ส่งมอบให้ได้มากกว่าสินค้าของคู่แข่ง เมื่อได้ข่าวสารหลักการซื้อเป็นการยืนยันว่าการตัดสินใจซื้อของ
ลูกค้าถูกต้อง

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ปัทมาวดี จุ ลภักดิ์ (2554) โครงการออกแบบโคมไฟส าหรับประดับตกแต่งภายในอาคาร :
ความบันดาลใจจากต้นกระบองเพชร ( Lighting Design for Interior Decoration : Cactus Inspiration )
มีจุดประสงค์เพื่อการออกแบบโคมไฟสาหรับใช้ประดับตกแต่งภายในอาคารแบบ Modern Style ที่มี
แนวความคิดมาจากกระบองเพรชมาผสมผสานให้เข้ากับการตกแต่งบ้านพักอาศัยแบบ Modern Style
ที่เน้นความเรียบง่ายและการใช้รูปทรงต่าง ๆ เช่น รูปทรงเลขาคณิต หรือรูปทรงอิสระ นามาเป็นแนว
ทางการออกแบบโคมไฟให้เหมาะสมกับการตกแต่งเพื่อให้เกิดความสวยงามแปลกใหม่ให้เข้ากั บยุค
สมัยในปัจจุบันได้อย่างเหมาะสมและลงตัว
มณีรัตน์ จันทนะผะลิน (2527) โครงการเครื่องแขวนประยุกต์จากลูกปัดด้วยลวดลายชุด
มโนราห์ เครื่องแขวนไทยดอกไม้สดแบบต่าง ๆ เช่น พวงกลาง พวงระย้า พวงแก้ว โคมหวด โคมไฟ
แบบต่าง ๆ เพื่อใช้แขวนเพดานกลางห้อง โรงแรม และในพิธีต่างๆ
ปวริ ศ มหาวรรณศรี (2559) โครงงานโคมไฟกะลามะพร้ า ว เล็ ง เห็ น ประโยชน์ จ าก
กะลามะพร้าวของมะพร้าวนั้นนั้นก็คือ การนามาประดิษฐ์เป็นโคมไฟ ซึ่งในปัจจุบันนั้นมีการออกเเบบ
โคมไฟในหลากหลายรูปเเบบ เราจึงสร้างสรรค์รูปเเบบของโคมไฟในรุปแบบต่างๆ ได้ อาจสามารถ
นามาประดับตกเเต่งบ้านเรือนหรือตามสถานที่ต่างๆ เพื่อทาให้เกิดความสวยงามเเก่ผู้พบเห็น อีกทั้งเป็น
ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มรายได้ในระหว่างเรียนเเก่นักเรียนด้วย 12

คณะจึงจัดทาโครงการเล่มนี้ขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้าขั้นตอน และเทคนิคการทาดอกไม้ประดิษฐ์
จากกระดาษสา โดยยกตัวอย่างรวบรวมไว้ในโครงการเล่มนี้ เพื่อให้บุคคลที่สนใจได้ศึกษาและเป็น
แนวทางต่อไป
บทที่ 3
วิธีการดาเนินโครงการ
วิธีการดาเนินการ

ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการ
1. เตรียมคิดรูปแบบสิ่งประดิษฐ์
2. ประชุมวางแผนงาน วางรูปแบบงาน และจัดสรรงบประมาณ
3. ร่างโครงการเสนออาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
4. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะทาสิ่งประดิษฐ์
5. จัดเตรียมสถานที่ในการลงมือปฏิบัติงาน
6. จัดทาแผนธุรกิจและแผนกลยุทธ์
ขั้นที่ 2 ขั้นดาเนินการ
1. จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทางาน
2. ปฏิบัติงานโดยเริ่มงานจากการนาลูกโป่งมาเป่าให้ได้ขนาดตามที่ต้องการ
3. ตัดก้นขวดพลาสติกพร้อมร้อยสายเข้าไป ผ่านกาวลาเท็กซ์ จากนั้นนามาพันรอบๆลูกโป่ง
4. เมื่อกาวแห้งแล้ว ให้นาเข็มเย็บผ้าเจาะลงไปให้แตก
5. นาท่อมาต่อให้เป็นรูปตัวแอล จากนั้นเสียบสายไฟเข้าไปในรูท่อพร้อมต่อกับหลอดไฟ
6. นาเทปกาวมาพันติดกับท่อ PVC เป็นชั้นแรกเพื่อพันเชื่อกปอชั้นต่อไป
7. จากนั้นนาเชือกปอมาพันพร้อมติดกาว แล้วนาหลอดไฟที่ประกอบแล้วมาติดกับตัวโคมไฟ
8. นาขวดพลาสติกมาเจาะรูก้นขวดและนาสายไฟที่ประกอบแล้วเสียบเข้าไป
9. นาหินสีที่ได้ใส่ลงขวดพลาสติกจานวน 3 ขวดเพื่อเป็นฐานและตัวถ่วงโคมไฟไม่ให้ล้ม
10. ทากาวซิลิโคนลงบนแผ่นไม้สัก แล้วนาขวดพลาสติกมาวางบนแผ่นไม้จนกาวแห้ง
11. ตกแต่งให้สวยงาม พร้อมตรวจสอบความเรียบร้อย
15

ขั้นที่ 3 ขั้นประเมินผล
1. สรุปผลการปฏิบัติงาน
2. ส่งรายงานสรุปผลการดาเนินงาน

แผนการปฏิบัติงาน

ปี 2561 ปี 2562
ขั้นตอนดาเนินการ มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.

1.เตรียมคิดรูปแบบสิ่งประดิษฐ์จาก
วัสดุเหลือใช้
2.ประชุมวางแผนงาน วางรูปแบบ
งานและ จัดสรรงบประมาณ
3.ร่างโครงการเสนออาจารย์ที่
ปรึกษาโครงการ
4.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และ
สถานที่ที่จะทาสิ่งประดิษฐ์
5.จัดทาแผนธุรกิจและแผนกลยุทธ์
6.ลงมือปฏิบัติงานตามแผนงานและ
ขั้นตอนการดาเนินงานที่วางไว้
7.สรุปผลการปฏิบัติงาน
8.ส่งรายงานสรุปผลการดาเนินงาน

วัน เวลา และสถานที่ดาเนินโครงการ


เริ่มดาเนินงานตั้งแต่ เดือนมิถุนายน 2561 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2562
สถานที่ 120/530 หมู่บ้านมณียาวิลล์ ซอยวชิรธรรมสาธิตฯ 12 ถ.สุขุมวิท
แขวงบางนา เขตบางนา จ.กรุงเทพมหานคร 102
16

แผนทีด่ าเนินโครงการ

วิทยาลัยเทคโนโลยี
อรรถวิทย์พณิชยการ

BTS อุดม
สุข

ไปสาโรง สี่แยกบาง ถ.สุขุมวิท


นา

ซ.วชิรธรรมสาธิต
ฯ 101/1

สถานที่จัดทาซอยวชิรธรรมสาธิต 12

หมู่บ้านมณียาวิลล์ ถ.สุขุมวิท
แขวงบางนา เขตบางนา
จ.กรุงเทพมหานคร 10260
17

ขอบเขตด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์
งบประมาณในการลงทุน 1,000 บาท
1. ไหมพรม 60 บาท
2. ลูกโป่ง 20 บาท
3. หลอดไฟ 50 บาท
4. ชุดสายไฟพร้อมขั้วหลอดไฟ 70 บาท
5. หินสี 80 บาท
6. ท่อ PVC 130 บาท
7. กาวซิลิโคน 200 บาท
8. แผ่นไม้สักแกะสลัก 100 บาท
9. กรรไกร 20 บาท
10. คัตเตอร์ 20 บาท
11. กาวลาเท็กซ์ 18 บาท
12. สีอคริลิค 50 บาท
13. เชือกปอ 30 บาท
รวม 908 บาท
การจัดทาแผนธุรกิจ

ความเป็นมาของธุรกิจ
สมาชิกในกลุ่มได้รวบรวมความคิดเห็นเพื่อคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ จากวัสดุเหลือใช้นามา
ประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความแปลกใหม่และสามารถใช้งานได้จริง ทางสมาชิกได้เล็งเห็นว่าโคมไฟ
ที่จะประดิษฐ์ขึ้นนั้นนอกจากจะให้แสงสว่างได้แล้ว ยังสามารถนาไปประดับตกแต่งตามที่ต่าง ๆ ได้
สิ่งประดิษฐ์ของผู้จัดทาโครงการนั้นเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของคนที่ต้องการสิ่งของที่จะมาอานวยความ
สะดวกในราคาประหยัด และใส่ใจในสิ่งแวดล้อม ทางกลุ่มผู้จัดทาโครงการจึงประดิษฐ์โคมไฟประดับ
จากวัสดุเหลือใช้
18

ผลิตภัณฑ์ : “โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้”

รูปร่างลักษณะ
เป็นโคมไฟตั้งโต๊ะ มีลักษณะเป็นทรงกลม รอบๆตกแต่งด้วยชิ้นส่วนของขวดพลาสติกเหลือใช้

ประโยชน์
1. ทาให้มีแสงสว่างสวยงาม
2. ประดับตกแต่งบ้านให้สวยงาม
3. นามาใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตประจาวัน
4. ประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน
5. สามารถนามาสร้างรายได้ให้กับตัวเองได้
19

แผนบริหารจัดการ

ประธานโครงการ

นางสาวปณาลี อานามวัฒน์

รองประธานโครงการ
ฝ่ายบัญชี

นายศุภสัณห์ เทียนอร่าม
นายอัมรินทร์ สโรบล

แผนการตลาด

1.กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์
(Product)
ไว้ใช้สาหรับให้แสง ”ขวดพลาสติก“ กลุ่มสมาชิกโครงการสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้
สว่างหรือประดับตกแต่งตามที่ต่าง ๆ ได้
2. กลยุทธ์ราคา (Price)
วิเคราะห์ต้นทุนการผลิตของโครงการให้มีการควบคุมค่าใช้จ่าย โดยตั้งในราคาขาย 250
บาท เพราะอุปกรณ์ทาจากวัสดุเหลือใช้

3. กลยุทธ์การจัดจาหน่าย (Place) ตามแหล่งขายวัสดุอุปกรณ์ตกแต่งบ้านต่าง หรือ


แหล่งช็อปปิ้งต่าง ๆ และจาหน่ายผ่านทางหน้าร้าน และช่องทางออนไลน์

21

4. กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด (Promotion)
4.1 สื่อโฆษณาสาหรับ Promote page Facebook

4.2 สื่อออนไลน์FB : The Used Material Lamp

22

4.3 การส่งเสริมการขาย
-การรับประกันสินค้าและบริการจัดส่งฟรี

-การสมัครบัตรสมาชิก
23

แผนการผลิต

ขั้นตอนการผลิต

จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์

เตรียมวัตถุดิบ วัสดุ
อุปกรณ์

ลงมือปฏิบัติงาน

การบรรจุภัณฑ์
และจัดจาหน่าย

สรุปผล
การจัดจาหน่าย
24

แผนการเงิน
งบประมาณ 2,100 บาท โดยเก็บสมาชิกในกลุ่มคนละ 700 บาท

แผนฉุกเฉิน หรือแผนประเมินความเสี่ยง

รายการ ผลกระทบที่เกิดขึ้น แนวทางการแก้ไข


1.มีคู่แข่งขันทางตรงมากพอ มีสิ่งประดิษฐ์ส่งเข้าประกวด จัดการส่งเสริมการขายอย่าง
จานวนมากพอ ต่อเนื่อง
2.วัตถุดิบอาจไม่เพียงพอ ทาให้ผลิตงานล่าช้า จัดเตรียมวัตถุดิบสารอง
3.สิ่งประดิษฐ์เกิดความเสียหาย ทาให้ดาเนินงานล่าช้า ควรมีความรอบคอบในการ
ปฏิบัติงานมากกว่านี้
25

วัสดุอุปกรณ์ในการประดิษฐ์

1. ไหมพรม
2. ลูกโป่ง
3. หลอดไฟ
4. ชุดสายไฟพร้อมขั้วหลอดไฟ
5. หินสี
6. ท่อ PVC
7. กาวซิลิโคน
8. แผ่นไม้สักแกะสลัก
9. กรรไกร
10. คัตเตอร์
11. กาวลาเท็กซ์
12. สีอคริลิค
13. เชือกปอ
26

ขั้นตอนในการทาสิ่งประดิษฐ์

1. ตัดก้นขวดพลาสติกและนาคัตเตอร์มาเจาะรู 2 รูด้านหน้าและด้านหลัง

2. นาไหมพรมสอดผ่านรูทั้งสองด้าน จากนั้นเทกาวลาเท็กซ์ให้พอไหมพรมจมลงไป
27

3.เป่าลูกโป่งตามขนาดที่ต้องการ

4.นาไหมพรมที่สอดรูไว้ในถ้วย ค่อยๆดึงมาพันลูกโป่งจนเหมาะสม
28

5.นาไดร์เป่าผมมาเป่าให้รอบตัวลูกโป่งจนแข็งตัวดี

6.นาเข็มเย็บผ้ามาเจาะลูกโป่ง จากนั้นก็จัดและดึงให้เป็นทรง
29

7.นาท่อ PVC มาตัดให้เป็นรูปตัวแอลตามขนาดที่ต้องการ

8. นาสายไฟสอดเข้าไปในท่อ PVC
30

9. จากนั้นต่อสายไฟกับขั้วหลอดไฟให้เรียบร้อย

10. นาหลอดไฟมาต่อกับขั้วหลอดไฟ
31

11.นาเทปกาวมาพันรอบท่อ PVC จนสุดปลายเพื่อการติดกาวที่ง่ายขึ้น

12.นาเชือกปอมาพันจนสุดปลายโดยใช้กาวลาเท็กซ์ทาทีละนิด
32

13.นาโครงไหมพรมที่ทาไว้มาติดกับหลอดไฟให้เรียบร้อย

14.จากนั้นดึงเชือกด้านล่างให้สุดเพื่อให้โคมไฟไม่ลากพื้น
33

15.เจาะขวดพลาสติกตรงก้นขวด แล้วเสียบสายไฟลอดผ่านเข้าไป

16. นาหินสีมาใส่ในขวดเพื่อที่จะเอามาถ่วงโคมไฟไว้
34

17. จากนั้นนามาประกอบใส่ไว้ตรงกลางของขวดพลาสติก

18. นากาวซิลิโคนมาทาที่แผ่นไม้สัก
35

19. ค่อยๆนาขวดทั้งสามขวดมาวางเรียงต่อกัน จัดให้ลงตัว

20. เสร็จสมบูรณ์พร้อมใช้งาน
บทที่ 4
ผลการดาเนินโครงการ

รายงานผลการปฏิบัติงานรายบุคคล

นางสาวปณาลี อานามวัฒน์
ว/ด/ป การปฏิบัติงาน หมายเหตุ
1 ก.ค. 61 คิดชื่อโครงการการประดิษฐ์
5 ก.ค. 61 ส่งโครงการเพื่อขออนุมัติ
10 ก.ค. 61 ส่งเนื้อหา บทที่ 1
31 ก.ค. 61 ส่งเนื้อหา บทที่ 2
19 ส.ค. 61 ส่งเนื้อหา บทที่ 3
25 ส.ค. 61 ส่ง PowerPoint (โครงการ+แผนการดาเนินงานเพื่อนาเสนอ)
30 ส.ค. 61 เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน Present งาน
3 ก.ย. 61 Present โครงการครั้งที่ 1
16 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
18 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
19 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
21 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
22 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
23 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
24 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
25 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
7 พ.ย. 61 เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน Present งาน
12 พ.ย. 61 Present โครงการครั้งที่ 2
16 ธ.ค. 61 งานนิทรรศการ A.T.C. นิทรรศน์
1-18 ม.ค. 62 ทาบทที่ 4-5 (เนื้อหารูปเล่มโครงการ)
10 ก.พ. 62 ตรวจรูปเล่มโครงการ
37

นายศุภสัณห์ เทียนอร่าม
ว/ด/ป การปฏิบัติงาน หมายเหตุ
1 ก.ค. 61 คิดชื่อโครงการการประดิษฐ์
5 ก.ค. 61 ส่งโครงการเพื่อขออนุมัติ
10 ก.ค. 61 ส่งเนื้อหา บทที่ 1
31 ก.ค. 61 ส่งเนื้อหา บทที่ 2
19 ส.ค. 61 ส่งเนื้อหา บทที่ 3
25 ส.ค. 61 ส่ง PowerPoint (โครงการ+แผนการดาเนินงานเพื่อนาเสนอ)
30 ส.ค. 61 เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน Present งาน
3 ก.ย. 61 Present โครงการครั้งที่ 1
16 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
18 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
19 ต.ค.61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
21 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
22 ต.ค.61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
23 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
24 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
25 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
7 พ.ย. 61 เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน Present งาน
12 พ.ย. 61 Present โครงการครั้งที่ 2
16 ธ.ค. 61 งานนิทรรศการ A.T.C. นิทรรศน์
1-18 ม.ค. 62 ทาบทที่ 4-5 (เนื้อหารูปเล่มโครงการ)
10 ก.พ. 62 ตรวจรูปเล่มโครงการ
20 ก.พ. 62 ส่งรูปเล่มโครงการแผ่น แผ่นซีดีเงินค่ารูปเล่มโครงการ+
38

นายอัมรินทร์ สโรบล
ว/ด/ป การปฏิบัติงาน หมายเหตุ
1 ก.ค. 61 คิดชื่อโครงการการประดิษฐ์
5 ก.ค. 61 ส่งโครงการเพื่อขออนุมัติ
10 ก.ค. 61 ส่งเนื้อหา บทที่ 1
31 ก.ค. 61 ส่งเนื้อหา บทที่ 2
19 ส.ค. 61 ส่งเนื้อหา บทที่ 3
25 ส.ค. 61 ส่ง PowerPoint (โครงการ+แผนการดาเนินงานเพื่อนาเสนอ)
30 ส.ค. 61 เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน Present งาน
3 ก.ย. 61 Present โครงการครั้งที่ 1
16 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
18 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
19 ต.ค.61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
21 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
22 ต.ค.61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
23 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
24 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
25 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
7 พ.ย. 61 เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน Present งาน
12 พ.ย. 61 Present โครงการครั้งที่ 2
16 ธ.ค. 61 งานนิทรรศการ A.T.C. นิทรรศน์
1-18 ม.ค. 62 ทาบทที่ 4-5 (เนื้อหารูปเล่มโครงการ)
10 ก.พ. 62 ตรวจรูปเล่มโครงการ
20 ก.พ. 62 ส่งรูปเล่มโครงการแผ่น แผ่นซีดีเงินค่ารูปเล่มโครงการ+
39

บัญชี รายรับ-รายจ่าย
โครงการประดิษฐ์โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้

ว/ด/ป รายการ รับ จ่าย คงเหลือ

1 ต.ค. 61 เก็บเงินสมาชิกในกลุ่ม ( 3 คน ) 2,100 2,100

บัญชี รายรับ-รายจ่าย
โครงการประดิษฐ์โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้ สัปดาห์ที่ 1

ว/ด/ป รายการ รับ จ่าย คงเหลือ


9 ต.ค. 61 ค่าทาป้ายไวนิล 300
รวม 300 1,800

บัญชี รายรับ-รายจ่าย
โครงการประดิษฐ์โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้ สัปดาห์ที่ 2

ว/ด/ป รายการ รับ จ่าย คงเหลือ


16 ต.ค. 61 ไหมพรม 60
ลูกโป่ง 20
หลอดไฟ 50
ชุดสายไฟพร้อมขั้วหลอดไฟ 70
หินสี 80
รวม 280 1,520
40

บัญชี รายรับ-รายจ่าย

ว/ด/ป รายการ รับ จ่าย คงเหลือ


23 ต.ค. 61 ซื้อท่อ PVC 130
ซื้อกาวซิลิโคน 200
ซื้อกาวลาเท็กซ์ 18
รวม 348 1,172
โครงการประดิษฐ์โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้ สัปดาห์ที่ 3

บัญชี รายรับ-รายจ่าย
โครงการประดิษฐ์โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้ สัปดาห์ที่ 4

ว/ด/ป รายการ รับ จ่าย คงเหลือ


16 ต.ค. 61 ซื้อไหมพรม 120
ซื้อลูกโป่ง 40
ซื้อกาวลาเท็กซ์ 18
รวม 178 994
41

ผลการดาเนินงานด้านงบประมาณ
โครงการการประดิษฐ์ โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของโครงการ
2. เพื่อสร้างรายได้ระหว่างเรียนให้กับนักศึกษา
3. เพื่อเป็นการฝึกประสบการณ์ในการสร้างอาชีพให้กับนักศึกษา
ยอดขายทั้งสิ้น 4,500 บาท
หักทุนจากการดาเนินการ 2,100 บาท
กาไรสุทธิ 2,400 บาท
ระยะเวลาในการดาเนินงาน 8 ครั้ง
แบ่งทุนดาเนินงานให้สมาชิกในกลุ่ม 3 คน คนละ 2,100 บาท

รายชื่อ จานวนเงิน
1. นางสาวปณาลี อานามวัฒน์ 700 บาท
2. นายศุภสัณห์ เทียนอร่าม 700 บาท
3. นายอัมรินทร์ สโรบล 700 บาท
รวม 2,100 บาท
กาไรดาเนินงานให้สมาชิกในกลุ่ม 3 คน คนละ 800 บาท
รวม 2,400 บาท

ข้อเสนอแนะ
1. สมาชิกควรให้ความร่วมมือในการทางานมากกว่านี้
2. สมาชิกยังขาดประสบการณ์ในการทางานอยู่
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินโครงการ และข้อเสนอแนะ

สรุปผลการดาเนินโครงการ
จากการดาเนินโครงการประดิษฐ์โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้ (The Used Material Lamp)
ทางกลุ่ม ได้ เริ่ม ดาเนิน การประดิ ษ ฐ์ ม าเป็ นระยะเวลา 8 สัป ดาห์ผลการดาเนิน โครงการได้บ รรลุ
วัตถุป ระสงค์ ที่ ท างกลุ่ม ได้ตั้ง ไว้โดยการสร้ างรายได้ระหว่างเรีย นให้ แก่ นัก ศึก ษา เพื่ อเป็นการฝึ ก
ประสบการณ์ในการสร้างอาชีพให้กับนักศึกษาทาให้สมาชิกในกลุ่มมีทักษะในการปฏิบัติงานที่ดี รู้จัก
การแก้ ไ ขปั ญหาเฉพาะหน้า และยั งรู้จัก การวางแผนในการดาเนินงานสามารถที่จะใช้ความรู้และ
ประสบการณ์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตในอนาคต
การดาเนินโครงการประดิษฐ์โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้ (The Used Material Lamp) มี
วัตถุประสงค์เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของโครงการสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้รับจากการ
เรียนมาประยุกต์ใช้ในรายวิชาโครงการ ตลอดจนสามารถนาไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพใน
อนาคตได้ โดยสามารถสรุปผลโครงการได้ดังนี้
จากการดาเนินงานโครงการประดิษฐ์โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้ (The Used Material
Lamp) ทางกลุ่มได้นาวิชาหลักการตลาดมาใช้ คือ แนวคิดโครงการและที่มาของการออกแบบงาน
ประดิษฐ์ แนวคิด ทฤษฎีการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค แนวคิด ทฤษฎีทางการตลาด
นอกจากการน าความรู้ใ นรายวิช าต่ า งๆ ที่ เรี ย นมาใช้ ใ นรายวิช าโครงการแล้ว ทางกลุ่ม ยั ง
สามารถนาความรู้ที่ได้จากการดาเนินโครงการมาประกอบอาชีพจริงได้ เพราะการดาเนินงานในแต่ละ
ครั้งทางกลุ่มยังเห็นถึงปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริงหากนาไปเป็นธุรกิจส่วนตัวในอนาคตก็จะ
ทาให้ทราบถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้
43

สรุปตารางการปฏิบัติงาน
ว/ด/ป การปฏิบัติงาน หมายเหตุ
1 ก.ค. 61 คิดชื่อโครงการการประดิษฐ์
5 ก.ค. 61 ส่งโครงการเพื่อขออนุมัติ
10 ก.ค. 61 ส่งเนื้อหา บทที่ 1
31 ก.ค. 61 ส่งเนื้อหา บทที่ 2
19 ส.ค. 61 ส่งเนื้อหา บทที่ 3
25 ส.ค. 61 ส่ง PowerPoint (โครงการ+แผนการดาเนินงานเพื่อนาเสนอ)
30 ส.ค. 61 เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน Present งาน
3 ก.ย. 61 Present โครงการครั้งที่ 1
16 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
18 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
19 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
21 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
22 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
23 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
24 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
25 ต.ค. 61 ลงมือปฏิบัติการการประดิษฐ์ (ซ.วชิรธรรมสาธิตฯ 12)
7 พ.ย. 61 เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน Present งาน
12 พ.ย. 61 Present โครงการครั้งที่ 2
16 ธ.ค. 61 งานนิทรรศการ A.T.C. นิทรรศน์
1-18 ม.ค. 62 ทาบทที่ 4-5 (เนื้อหารูปเล่มโครงการ)
10 ก.พ. 62 ตรวจรูปเล่มโครงการ
20 ก.พ. 62 ส่งรูปเล่มโครงการแผ่น แผ่นซีดีเงินค่ารูปเล่มโครงการ+
44

ปัญหา และอุปสรรคในการดาเนินโครงการ
สมาชิกภายในกลุ่มขาดประสบการณ์ในการทาสิ่งประดิษฐ์ คู่แข่งขันทางการตลาดค่อนข้ างสูง
มีการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการใช้งานอยู่ตลอดเวลาจึงทาให้โคมไฟประดับ ของทางร้านหลากหลาย
ชิ้นที่ไม่เป็นที่ต้องการของลูกค้า รวมถึงเรื่องความสามัคคีของสมาชิกในกลุ่ม และสมาชิกในกลุ่มมีเวลา
ว่างไม่ตรงกันจึงทาให้เกิดความล่าช้าในการดาเนินการ
สัปดาห์ที่ 1
กิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. เตรียมรูปแบบในการทาสิ่งประดิษฐ์
2. ประชุมวางแผน และจัดสรรงบประมาณ
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. สมาชิกในกลุ่มมีเวลาว่างไม่ตรงกัน
2. ความคิดเห็นภายในกลุ่มไม่ตรงกัน
สัปดาห์ที่ 2
กิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. จัดหาสถานที่ในการทาสิ่งประดิษฐ์
2. จัดทาแผนการผลิต
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. สิ่งประดิษฐ์ที่จะทาโครงการมีงบประมาณในการลงทุนสูง
2. ความคิดเห็นภายในกลุ่มไม่ตรงกัน
สัปดาห์ที่ 3
กิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทาสิ่งประดิษฐ์
2. ทาป้ายโครงการ
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. สมาชิกในกลุ่มขาดประสบการณ์
2. สมาชิกในกลุ่มขาดความรู้เกี่ยวกับแหล่งซื้อ/ขายวัสดุอุปกรณ์ในการทา
สิ่งประดิษฐ์
สัปดาห์ที่ 4
45

กิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. Present โครงการ
2. ลงมือปฎิบัติทาสิ่งประดิษฐ์
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. สมาชิกในกลุ่มไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน
2. ขาดบุคลากรที่มีความรู้ในการนาเสนอทาให้เสร็จล่าช้า
สัปดาห์ที่ 5
กิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทาสิ่งประดิษฐ์เพิ่มเติม
2. ลงมือปฏิบัติทาสิ่งประดิษฐ์
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. การเคลื่อนย้ายสิ่งของอุปกรณ์มีความลาบาก
2. สถานที่ในการทาสิ่งประดิษฐ์ไม่เอื้ออานวย
สัปดาห์ที่ 6
กิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทาสิ่งประดิษฐ์เพิ่มเติม
2. ลงมือปฏิบัติทาสิ่งประดิษฐ์
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. สมาชิกในกลุ่มไม่สะดวกในการเดินทางไปยังสถานที่ในการทาสิ่งประดิษฐ์
2. การขนย้ายอุปกรณ์ที่ใช้ในการนาเสนอเคลื่อนย้ายลาบาก
สัปดาห์ที่ 7
กิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. จัดทาเอกสารโครงการบทที่ 4 - 5
2. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทาสิ่งประดิษฐ์เพิ่มเติม
3. ลงมือปฏิบัติทาสิ่งประดิษฐ์

ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. สมาชิกในกลุ่มไม่มีความรู้ในการทาเอกสาร
2. สมาชิกบางคนในกลุ่มไม่ให้ความร่วมมือ
46

สัปดาห์ที่ 8
กิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. นาเสนอรูปเล่ม + เงินค่ารูปเล่ม + แผ่นซีดี 1 แผ่น
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมที่ปฏิบัติ
1. สมาชิกไม่ค่อยให้ความร่วมมือ
2. ความคิดเห็นภายในกลุ่มไม่ตรงกัน

ข้อดี/ข้อเสีย การดาเนินงาน
โครงการประดิษฐ์โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้ (The Used Material Lamp)
ข้อดี
1. ช่วยไห้เกิดความสามัคคีภายในหมู่คณะ
2. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
3. สามารถนาไปประกอบอาชีพในอนาคตได้
4. ฝึกการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และรับรับมือกับอุปสรรคที่ตามมาได้ดี
5. ทาให้มีรายได้เสริมให้กับนักศึกษา
ข้อเสีย
1. การเดินทางค่อยข้างไม่ค่อยสะดวก (สาหรับสมาชิกในกลุ่มบางคน)
2. เวลาว่างของสมาชิกในกลุ่มไม่ตรงกัน

ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนา
1. ควรหาข้อมูล และความรู้เกี่ยวกับการทาสิ่งประดิษฐ์
2. ควรหาข้อมูล และความรู้เกี่ยวกับแหล่งวัสดุอุปกรณ์ที่ซื้อควรอยู่ในบริเวณเดียวกัน
3. ควรหาข้อมูล และความรู้การวางแผนการดาเนินก่อนลงมือปฏิบัติ
บรรณานุกรม
กิติมา เพชรทรัพย์. (2542). แนวคิดโครงการและที่มาของการออกแบบงานประดิษฐ์ . ค้นหาข้อมูลเมื่อ
วันที่ 4 มกราคม 2562, จาก http://www.thaigoodview.com
จามจุรี สายแวว. (2556). แนวคิดโครงการและที่มาของการออกแบบงานประดิษฐ์ . ค้นหาข้อมูลเมื่อ
วันที่ 13 มกราคม 2562, จาก https://sites.google.com
จามจุรี สายแวว. (2556). ประโยชน์ของงานประดิษฐ์. ค้นหาข้อมูลเมื่อ วันที่ 11 มกราคม 2562,
จาก https://sites.google.com
จิรดา นาคฤทธิ์. (2561). ส่วนผสมทางการตลาด. ค้นหาข้อมูลเมื่อ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2562,
จาก https://jiradabbc.wordpress.com//
ประกายดาว ดารงพันธ์. (2556). แนวคิด ทฤษฎีการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค ค้นหาข้อมูลเมื่อ
วันที่ 14 มีนาคม 2562, จาก https://www.gotoknow.org
ปัทมาวดี จุลภักดิ์. (2554). โครงการออกแบบโคมไฟสาหรับประดับตกแต่งภายในอาคาร.
วิทยานิพนธ์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, จาก http://www.thapra.lib.su.ac.th
ปวริศ มหาวรรณศรี. (2559). โครงงานโคมไฟกะลามะพร้าว. ค้นหาข้อมูลเมื่อ วันที่ 11 มกราคม 2562,
จาก http://threadlampproject.blogspot.com/2017/
ผดุงศั ก ดิ์ สายสระสรง. (2555). แนวคิด ทฤษฎีทางการตลาด. บัณฑิ ตวิทยาลัย เชีย งใหม่ ,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จาก https://fifathanom.wordpress.com
มณีรัตน์ จันทนะผะลิน. (2527). โครงการเครื่องแขวนประยุกต์จากลูกปัดด้วยลวดลายชุด
มโนราห์. ค้นหาข้อมูลเมื่อ วันที่ 14 มีนาคม 2562, จาก http://www.thapra.lib.su.ac.th
ยุทธพงษ์ (เรืองรัตน์) สืบภักดี . (2558). คุณสมบัติของนักออกแบบ. ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต
(ออกแบบนิเทศศิลป์) ศศ.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป์) ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
ป.บัณฑิต (วิชาชีพครู) จาก http://www.yuttapong.com/
ภาคผนวก ก โครงการ

-แบบนาเสนอขออนุมัติโครงการ
-บันทึกการเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมโครงการ
แบบนาเสนอขออนุมัติโครงการ
สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561

ชื่อโครงการ โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้
(The Used Material Lamp)
ระยะเวลาการดาเนินงาน มิถุนายน 2561 ถึง กุมภาพันธ์ 2562
สถานที่การดาเนินงาน 120/530 หมู่บ้านมณียาวิลล์ ซอยวชิรธรรมสาธิต 12
ถ.สุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260
ประมาณการค่าใช้จ่าย 1,000 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
1. นางสาวปณาลี อานามวัฒน์ รหัสประจาตัว 38336 ปวช.3/3
2. นายศุภสัณห์ เทียนอร่าม รหัสประจาตัว 38367 ปวช.3/3
3. นายอัมรินทร์ สโรบล รหัสประจาตัว 38206 ปวช.3/3

ลงชื่อ..........................................................ประธานโครงการ
(นางสาวปณาลี อานามวัฒน์) ........./........./........

ความเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ความเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมโครงการ
.......................................................................................... ..........................................................................................
.......................................................................................... ..........................................................................................
.......................................................................................... .........................................................................................

ลงชื่อ.................................................................... ลงชื่อ....................................................................
(อาจารย์กันตชาติ เมธาโชติมณีกุล ) ......./......./....... (อาจารย์กมลวรรณ บุญสาย) ......./......./.......

ลงชื่อ.............................................................หัวหน้าสาขาวิชาการตลาด
(อาจารย์วงค์เดือน ประไพวัชรพันธ์) ......./......./.......
ชื่อโครงการ โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้ ( The Used Material Lamp)
แผนงาน นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด โครงการกลุ่ม สิ่งประดิษฐ์

อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์กันตชาติ เมธาโชติมณีกุล

อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม อาจารย์กมลวรรณ บุญสาย

ผู้รับผิดชอบโครงการ
1. นางสาวปณาลี อานามวัฒน์ ประธานโครงการ
2. นายศุภสัณห์ เทียนอร่าม รองประธานโครงการ
3. นายอัมรินทร์ สโรบล ฝ่ายบัญชี

หลักการและเหตุผล
ขวดพลาสติกเมื่อใช้แล้วมักจะถูกทิ้ง ตามบริเวณต่างๆเช่น ถังขยะ ใต้ต้นไม้ แม่น้า ลาคลอง
เป็นจานวนมาก จนทาให้พลาสติกไม่ย่อยสลายไปได้เองตามธรรมชาติ เป็นผลที่ทาให้เกิดมลพิษ และ
ภาวะโลกร้อน ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม ทางกลุ่มของเราได้มีแนวความคิดที่จะ
นาขวดพลาสติก กลับ มาใช้ป ระโยชน์ในด้านอื่นได้อีก ซึ่งการออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยใช้เส้นด้าย
ธรรมดาๆนามาประยุกต์ และนาเศษขวดพลาสติกมาประดับตกแต่งรอบโคมไฟเพื่อเพิ่มมูลค่ามากขึ้น
ดังนั้นคณะผู้จัดทาโครงการ จึงมีแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ จากการนา
วัสดุเหลือใช้อย่างขวดพลาสติกมาเพิ่มมูลค่าให้เป็นส่วนผลิตในการสร้างตัวสินค้า ให้ออกมาเป็นโคม
ไฟประดับที่ตกแต่งจากเศษขวดพลาสติกตามที่ออกแบบและวางแผนไว้ เพื่อดาเนินตามรอยเศรษฐกิจ
พอเพียง ดั่งพระราชดาริของพระเจ้าอยู่หัวที่ว่าด้วยการใช้อย่างพอเพียง เช่นเดี ยวกับกลุ่มของข้าพเจ้าที่
นาขวดพลาสติกที่เหลือใช้ไร้ค่า ทางกลุ่มได้คิดค้นที่จะพัฒนาขวดพลาสติกให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ หรือ
นวัตกรรมที่มีคุณค่าและสามารถเสนอขายบุคคลที่มีความสนใจในสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้มากขึ้น
วัตถุประสงค์
5. เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของวิชาโครงการ
6. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเศษวัสดุเหลือใช้
7. เพื่อให้นักศึกษาเกิดความสามัคคีและร่วมมือปฏิบัติงานกันเป็นทีม
8. เพื่อให้นักศึกษามีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และเพิ่มทักษะในการออกแบบสิ่งประดิษฐ์
เป้าหมาย
1. การนาผลงานส่งเข้าประกวดการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
2. เสนอขายบุคคลที่มีความสนใจในสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้

วิธีการดาเนินการ
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการ
7. เตรียมคิดรูปแบบสิ่งประดิษฐ์
8. ประชุมวางแผนงาน วางรูปแบบงาน และจัดสรรงบประมาณ
9. ร่างโครงการเสนออาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
10. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะทาสิ่งประดิษฐ์
11. จัดเตรียมสถานที่ในการลงมือปฏิบัติงาน
12. จัดทาแผนธุรกิจและแผนกลยุทธ์
ขั้นที่ 2 ขั้นดาเนินการ
12. จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทางาน
13. ปฏิบัติงานโดยเริ่มงานจากการนาลูกโป่งมาเป่าให้ได้ขนาดตามที่ต้องการ
14. ตัดก้นขวดพลาสติกพร้อมร้อยสายเข้าไป ผ่านกาวลาเท็กซ์ จากนั้นนามาพันรอบๆลูกโป่ง
15. เมื่อกาวแห้งแล้ว ให้นาเข็มเย็บผ้าเจาะลงไปให้แตก
16. นาท่อมาต่อให้เป็นรูปตัวแอล จากนั้นเสียบสายไฟเข้าไปในรูท่อพร้อมต่อกับหลอดไฟ
17. นาเทปกาวมาพันติดกับท่อ PVC เป็นชั้นแรกเพื่อพันเชือ่ กปอชั้นต่อไป
18. จากนั้นนาเชือกปอมาพันพร้อมติดกาว แล้วนาหลอดไฟที่ประกอบแล้วมาติดกับตัวโคมไฟ
19. นาขวดพลาสติกมาเจาะรูก้นขวดและนาสายไฟที่ประกอบแล้วเสียบเข้าไป
20. นาหินสีที่ได้ใส่ลงขวดพลาสติกจานวน 3 ขวดเพื่อเป็นฐานและตัวถ่วงโคมไฟไม่ให้ล้ม
21. ทากาวซิลิโคนลงบนแผ่นไม้สัก แล้วนาขวดพลาสติกมาวางบนแผ่นไม้จนกาวแห้ง
22. ตกแต่งให้สวยงาม พร้อมตรวจสอบความเรียบร้อย
ขั้นที่ 3 ขั้นประเมินผล
1. สรุปผลการปฏิบัติงาน
2. ส่งรายงานสรุปผลการดาเนินงาน

ขั้นตอนดาเนินงาน

ขั้นตอนดาเนินการ ปี 2561 ปี 2562


มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.
1.เตรียมคิดรูปแบบสิ่งประดิษฐ์จาก
วัสดุเหลือใช้
2.ประชุมวางแผนงาน วางรูปแบบ
งานและ จัดสรรงบประมาณ
3.ร่างโครงการเสนออาจารย์ที่
ปรึกษาโครงการ
4.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และ
สถานที่ที่จะทาสิ่งประดิษฐ์
5.จัดทาแผนธุรกิจและแผนกลยุทธ์
6.ลงมือปฏิบัติงานตามแผนงานและ
ขั้นตอนการดาเนินงานที่วางไว้
7.สรุปผลการปฏิบัติงาน
8.ส่งรายงานสรุปผลการดาเนินงาน

วัน เวลา สถานที่


เริ่มดาเนินงานตั้งแต่ เดือนมิถุนายน 2561 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2562
สถานที่ 120/530 หมู่บ้านมณียาวิลล์ ซอยวชิรธรรมสาธิต 12 ถ.สุขุมวิท
แขวงบางนา เขตบางนา จ.กรุงเทพมหานคร 10260
งบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์
งบประมาณในการลงทุน เป็นเงิน 1,000 บาท
14. ไหมพรม 60 บาท
15. ลูกโป่ง 20 บาท
16. หลอดไฟ 50 บาท
17. ชุดสายไฟพร้อมขั้วหลอดไฟ 70 บาท
18. สายไฟพร้อมปลั๊กตัวผู้ 60 บาท
19. หินสี 80 บาท
20. ท่อ PVC 130 บาท
21. กาวซิลิโคน 200 บาท
22. แผ่นไม้สักแกะสลัก 100 บาท
23. กรรไกร 20 บาท
24. คัตเตอร์ 20 บาท
25. กาวลาเท็กซ์ 18 บาท
26. สีอคริลิค 50 บาท
27. เชือกปอ 30 บาท
รวม 908 บาท

การติดตามผลและการประเมิน
4. นาเสนอผลงานเพื่อให้คณะกรรมการเป็นผู้ประเมิน
5. นาผลงานส่งเข้าประกวดการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
6. รายงานสรุปผลการดาเนินการ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
5. การดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของวิชาโครงการ
6. สามารถสร้างมูลเพิ่มให้กับวัสดุเหลือใช้มากขึ้น
7. ทาให้สมาชิกในกลุ่มเกิดความสามัคคีและมีความร่วมมือจากการทางานเป็นทีม
8. ทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์สร้างสิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่และมีคุณค่า
ปัญหาและอุปสรรค
1. ชิ้นส่วนตกแต่งอาจมีการหลุดล่วงบ้าง เมื่อใช้งานไปนานๆ
2. เพื่อความสวยงาม ต้องคอยดูแลความสะอาดรอบๆตัวโคมไฟอยู่เสมอ
ข้อเสนอแนะ
1. วัสดุที่นามาใช้ควรล้างทาความสะอาดให้ดีๆเพื่อความสวยงาม
2. ระวังอย่าให้ตัวโคมไฟโดนน้า เพราะอาจทาให้เกิดไฟฟ้าช็อตได้

ลงชื่อ ............................................. ลงชื่อ .............................................


( อาจารย์กันตชาติ เมธาโชติมณีกุล) (อาจารย์กมลวรรณ บุญสาย)
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมโครงการ

ลงชื่อ.............................................
(อาจารย์วงค์เดือน ประไพวัชรพันธ์)
อาจารย์หัวหน้าสาขาวิชาการตลาด
สถานที่ดาเนินโครงการ
ปวช.3

บันทึกการเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
โครงการ โคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้ (The Used Material Lamp)
ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์กันตชาติ เมธาโชติมณีกุล
ที่ปรึกษาร่วมโครงการ อาจารย์กมลวรรณ บุญสาย
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวปณาลี อานามวัฒน์ ระดับชั้น ปวช.3/3 เลขที่ 36
นายศุภสัณห์ เทียนอร่าม ระดับชั้น ปวช.3/3 เลขที่ 38
นายอัมรินทร์ สโรบล ระดับชั้น ปวช.3/3 เลขที่ 21
ลาดับ รายการ วันที่ ลงชื่อ ลงชื่อ
ที่ ที่ปรึกษา ที่ปรึกษาร่วม
1 ส่งโครงการเพื่อขออนุมัติ 25-30 มิ.ย .61
2 กาหนดส่ง เนื้อหา บทที่ 1(บทนา) 25-30 มิ.ย .61
3 กาหนดส่ง เนื้อหา บทที่ 2 16 ก.ค. 61
(แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง)
4 กาหนดส่ง เนื้อหา บทที่ 3 20ส.ค. 61
(วิธีการดาเนินโครงการ)
5 แผนธุรกิจ 20ส.ค. 61
- ผลิตภัณฑ์
-แผนการบริหารจัดการ
- แผนการตลาด
-แผนการผลิต /การขาย /การบริการ
- แผนการเงิน
-แผนฉุกเฉิน หรือแผนประเมินความเสี่ยง
6 ส่ง PowerPoint (โครงการ + แผนธุรกิจ) 10ก.ย. 61
กับอาจารย์ที่ปรึกษา เตรียมPresentครั้งที่ 1
7 นาเสนอโครงการ (Present)ครั้งที่ 1 15ก.ย. 61
(โครงการ +บทที่1- 3+ แผนการตลาด)
8 ปฏิบัติภาคสนาม ระยะเวลาไม่ต่ากว่า 8ครั้ง 1-31 ต.ค .61
(ปฏิบัติการขาย/งานบริการ/งานประดิษฐ์)เข้า
รับการนิเทศจากอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
ลาดับ รายการ วันที่ ลงชื่อ ลงชื่อ
ที่ ที่ปรึกษา ที่ปรึกษร่วม
9 เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนเตรียมPresent 19พ.ย. 61
ครั้งที่ 2นาเสนอ การออกร้านจัดแสดงสินค้า
หรือบริการแสดงผลงานประดิษฐ์
10 นาเสนอโครงการ (Present) ครั้งที่ 2 24พ.ย. 61
(แผนการตลาด แผนการผลิต และการ
จัดแสดงสินค้า/บริการ/แสดงผลงาน
ประดิษฐ์)
11 งาน ATCนิทรรศน์ 14ธ.ค .61
12 กาหนดส่ง เนื้อหา บทที่ 4 14ม.ค .62
-ปฏิบัติงานรายบุคคล
บัญชี +ผลการดาเนินงานด้านงบประมาณ
13 กาหนดส่ง เนื้อหา บทที่ 5 21ม.ค .62
(สรุปผลการดาเนินงานโครงการ)
14 กาหนดส่ง บรรณานุกรม 28ม.ค .62
15 กาหนดส่ง 11ก.พ .62
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก ข
ภาคผนวก ค
ภาคผนวก ง
16 กาหนดส่ง กิตติกรรมประกาศ 18ก.พ .62
กาหนดส่ง บทคัดย่อ
17 ตรวจรูปเล่มโครงการ 22ก.พ .62
18 ส่งรูปเล่ม+เงินค่ารูปเล่ม+แผ่นซีดี 1 แผ่น 22ก.พ .62

**หมายเหตุ **
ตารางกาหนดส่งงานในแต่ละรายการ ถือเป็นวันสุดท้ายที่แก้ไขเป็นฉบับสมบูรณ์พร้อมส่งแล้ว
ไม่ใช่วันของการนาส่ง เพื่อรับการตรวจเป็นครั้งแรก
ภาคผนวก ข แบบสอบถาม

-รายงานผลประเมินจากแบบสอบถาม
-ตัวอย่างแบบสอบถาม
รายงานผลการประเมินจากแบบสอบถาม
ส่วนที่ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ 1. ลักษณะกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ เพศ

เพศ ความถี่ ร้อยละ


ชาย 51 51
หญิง 49 49
รวม 100 100

จากตารางที่ 1. พบว่ากลุ่มตัวอย่างนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการที่เป็นกลุ่ม
ตัวอย่าง เพศ พบว่า กลุ่มตัวอย่างนักศึกษาเป็นเพศ ชาย จานวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 51 และเป็นผู้หญิง
จานวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 49 ตามลาดับ
ตารางที่ 2. ลักษณะกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ อายุ

อายุ ความถี่ ร้อยละ


ต่ากว่า 18 ปี 28 28
18 – 25 ปี 36 36
26 – 35 ปี 26 26
36 – 45 ปี 10 10
รวม 100 100

จากตารางที่ 2. พบว่ากลุ่มตัวอย่างนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการที่เป็น กลุ่ม


ตัวอย่าง อายุที่มากที่สุดคือ อายุ 18 – 25 ปี คิดเป็นร้อยละ 36 อายุต่ากว่า 18 ปี คิดเป็นร้อยละ 28 อายุ 26
– 35 ปี คิดเป็นร้อยละ 26 อายุ 36 – 45 ปี คิดเป็นร้อยละ 10 ตามลาดับ
ตารางที่ 3 ลักษณะกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ รายได้ /
เดือน
รายได้ / เดือน ความถี่ ร้อยละ
ต่ากว่า 5,000 บาท 34 34
5,001 – 8,000 บาท 13 13
8,001 – 11,000 บาท 30 30
11,000 บาทขึ้นไป 23 23
รวม 100 100

จากตารางที่ 3. พบว่ากลุ่มตัวอย่างนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการที่เป็นกลุ่ม
ตัวอย่าง รายได้ / เดือน ที่มากที่สุดคือ ต่ากว่า 5,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 34 รายได้ 8,001 – 11,000 บาท
คิดเป็นร้อยละ 30 รายได้ 11,000 บาทขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 23 รายได้ 5,001 – 8,000 บาท คิดเป็นร้อยละ
13 ตามลาดับ
ส่วนที่ 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ ยวกับความพึงพอใจในสิ่งประดิษฐ์ กลุ่มสิ่งประดิษฐ์ โคมไฟประดับจาก
วัสดุเหลือใช้ ตารางที่ 4. ความพึงพอใจในสิ่งประดิษฐ์
ระดับความพึงพอใจ
ความพึงพอใจในการใช้ มาก ปาน น้อย ระดับ
มาก น้อย
บริการเซเว่น อีเลฟเว่น ที่สุด กลาง ที่สุด x SD ความ
5 4 3 2 1 พึงพอใจ

1. เพื่อให้บรรลุ 42 50 7 - 1
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ (42%) (50%) (7.0%) (1.0%) 4.32 0.69 มาก
ของวิชาโครงการ
2. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 41 53 6 - -
4.35 0.59 มาก
ให้กับเศษวัสดุเหลือใช้ (41%) (53%) (6.0%)
3. เพื่อให้นักศึกษาเกิด 57 39 4 - -
ความสามัคคีและร่วมมือ (57%) (39%) (4.0%) 4.53 0.58 มาก
ปฏิบัติงานกันเป็นทีม
4. เพื่อให้นักศึกษามี 51 47 2 - -
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (51%) (47%) (2.0%)
4.49 0.54 มาก
และเพิ่มทักษะในการ
ออกแบบสิ่งประดิษฐ์
5. ความแข็งแรงของ 46 52 2 - -
4.44 0.54 มาก
ชิ้นงาน (46%) (52%) (2.0%)
6. มีแบบให้เลือก 28 70 2 - -
4.26 0.48 มาก
หลากหลาย (28%) (70%) (2.0%)
7. ราคาเหมาะสม 44 55 1 - -
4.43 0.52 มาก
(44%) (55%) (1.0%)
8. ประโยชน์ของการใช้ 49 48 3 - -
4.46 0.56 มาก
งาน (49%) (48%) (3.0%)
จากตารางที่ 4 พบว่าเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของวิชาโครงการค่าเฉลี่ย ร้อย
ละ 4.32 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเศษวัสดุเหลือใช้ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ
4.35 อยู่ ในระดับ พึง พอใจมาก เพื่ อให้นักศึกษาเกิดความสามัคคีและร่วมมือปฏิบัติงานกันเป็นทีม
เฉลี่ย ร้อยละ 4.53 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก เพื่อให้นักศึกษามีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และ
เพิ่มทักษะในการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ ร้อยละ 4.49 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก ความแข็งแรงของ
ชิ้นงาน ร้อยละ 4.44 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก มีแบบให้เลือกหลากหลาย ร้อยละ 4.26
ราคาเหมาะสม ร้อยละ 4.43 ประโยชน์ของการใช้งาน ร้อยละ 4.46 โดยรวมของผู้ตอบ
แบบสอบถาม นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการอยู่ในระดับ พึงพอใจมาก
แบบประเมินโครงการสิ่งประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้
โครงการสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ถือเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิชาชีพสาขาวิชาการตลาด
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในอนาคต ดังนั้นจึงขอความกรุณาท่าน
ผู้ตอบแบบประเมิน ตอบแบบประเมินความเป็นจริง

คาชี้แจง เขียนเครื่องหมาย✓ ลงในช่อง □ แต่ละข้อเพียงข้อเดียวที่ตรงกับทัศนคติของท่าน


ที่มีต่อสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้
ส่วนที่ 1ข้อมูลส่วนตัว
.1เพศ □ ชาย □ หญิง
.2อายุ □ ต่ากว่า 18ปี 25 - 18 □ปี
35 - 26 □ปี 45 - 36 □ปี
□ 45 ปีขึ้นไป
3. รายได้ /เดือน □ ต่ากว่า 5, 000บาท 5 □,001 - 8,000 บาท
□8,00111 - , 000บาท 11 □,000 บาทขึ้นไป
ส่วนที่ 2ระดับความพึงพอใจ
5 พึงพอใจมากที่สุด 4 พึงพอใจมาก 3 พึงพอใจปานกลาง 2 พึงพอใจน้อย 1 พึงพอใจน้อยสุด
ระดับความพึงพอใจ
ที่ รายการประเมิน
5 4 3 2 1
1 เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้
ของวิชาโครงการ
2 เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเศษวัสดุ
เหลือใช้
3 เพื่อให้นักศึกษาเกิดความสามัคคีและ
ร่วมมือปฏิบัติงานกันเป็นทีม
ภาคผนวก ค ประมวลภาพผลิตภัณฑ์ หรือบริการในโครงการ

- ป้ายร้าน และรูปแบบผลิตภัณฑ์ในโครงการ
- รูปภาพวัสดุอุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์ หรือบริการในโครงการ
- รูปภาพขั้นตอนการปฎิบัติโครงการ
- ประมวลภาพต่าง ๆ
ตราสินค้า
รูปแบบสิ่งประดิษฐ์
รูปแบบวัสดุอุปกรณ์ของสิ่งประดิษฐ์ในการทาโคมไฟประดับจากวัสดุเหลือใช้

1. ไหมพรม 8. แผ่นไม้สักแกะสลัก
2. ลูกโป่ง 9. กรรไกร
3. หลอดไฟ 10. คัตเตอร์
4. ชุดสายไฟพร้อมขั้วหลอดไฟ 11. กาวลาเท็กซ์
5. หินสี 12. สีอคริลิค
6. ท่อ PVC 13. เชือกปอ
7. กาวซิลิโคน
ขั้นตอนในการทาประดิษฐ์
1. ตัดก้นขวดพลาสติกและนาคัตเตอร์มาเจาะรู 2 รูด้านหน้าและด้านหลัง

2. นาไหมพรมสอดผ่านรูทั้งสองด้าน จากนั้นเทกาวลาเท็กซ์ให้พอไหมพรมจมลงไป

3.
เป่าลูกโป่งตามขนาดที่ต้องการ

4.นาไหมพรมที่สอดรูไว้ในถ้วย ค่อยๆดึงมาพันลูกโป่งจนเหมาะสม

5.นา ไดร์เป่า
ผมมา เป่าให้
รอบตัวลูกโป่งจนแข็งตัวดี

6.นาเข็มเย็บผ้ามาเจาะลูกโป่ง จากนั้นก็จัดและดึงให้เป็นทรง
7.นาท่อ PVC มาตัดให้เป็นรูปตัวแอลตามขนาดที่ต้องการ

8. นาสายไฟสอดเข้าไปในท่อ PVC
9. จากนั้นต่อสายไฟกับขั้วหลอดไฟให้เรียบร้อย

10. นาหลอดไฟมาต่อกับขั้วหลอดไฟ
11.นาเทปกาวมาพันรอบท่อ PVC จนสุดปลายเพื่อการติดกาวที่ง่ายขึ้น

12.นาเชือกปอมาพันจนสุดปลายโดยใช้กาวลาเท็กซ์ทาทีละนิด
13.นาโครงไหมพรมที่ทาไว้มาติดกับหลอดไฟให้เรียบร้อย

14.จากนั้นดึงเชือกด้านล่างให้สุดเพื่อให้โคมไฟไม่ลากพื้น
15. เจาะขวดพลาสติกตรงก้นขวด แล้วเสียบสายไฟลอดผ่านเข้าไป

16. นาหินสีมาใส่ในขวดเพื่อที่จะเอามาถ่วงโคมไฟไว้
17. จากนั้นนามาประกอบใส่ไว้ตรงกลางของขวดพลาสติก

18. นากาวซิลิโคนมาทาทีแ่ ผ่นไม้สัก


19. ค่อยๆนาขวดทั้งสามขวดมาวางเรียงต่อกัน จัดให้ลงตัว

20. เสร็จสมบูรณ์พร้อมใช้งาน
ภาคผนวก ง ประวัติผู้ดาเนินโครงการ
ประวัติผู้ดาเนินโครงการ

ชื่อ นามสกุล : นางสาวปณาลี อานามวัฒน์


วัน เดือน ปีเกิด : 9 กันยายน 2544
สถานที่เกิด : ปทุมธานี
การศึกษา : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
สถานศึกษา : วิทยาลัยเทคโนดลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
ตาแหน่งโครงการ : ประธานโครงการ
ชื่อ นามสกุล : นายศุภสัณห์ เทียนอร่าม
วัน เดือน ปีเกิด : 7 กุมภาพันธ์ 2543
สถานที่เกิด : สมุทรปราการ
การศึกษา : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
สถานศึกษา : วิทยาลัยเทคโนดลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
ตาแหน่งโครงการ : รองประธานโครงการ
ชื่อ นามสกุล : นายอัมรินทร์ สโรบล
วัน เดือน ปีเกิด : 29 ธันวาคม 2543
สถานที่เกิด : สมุทรปราการ
การศึกษา : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
สถานศึกษา : วิทยาลัยเทคโนดลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
ตาแหน่งโครงการ : ฝ่ายบัญชี

You might also like