You are on page 1of 114

Clinical exercise testing and exercise

prescription for cardiorespiratory system

Suwat Jitdamrong
Physical Therapy Department
Faculty of Physical Therapy, Srinakarinwirot University
1
Cardiovascular Limitation
(1) Pharmacological complications
(2) Myocardial ischemia Musculoskeletal Limitation
(3) Cardiomyopathy (1) Physical deconditioning
(4) Valvular heart disease (2) Peripheral vascular disease
(5) Exercise induced dysrhythmias (3) Metabolic myopathy
(6) Exercise induced hypertension (4) Mitochondrial myopathy
(7) Physical deconditioning (5) Tubular myopathy
(6) Mechanical inefficiency
(7) Obesity

Ventilatory Limitation
(1) Reduced ventilatory capacity
(2) Exercise induced bronchoconstriction
(3) Alveolar hypoventilation
(4) Hyperventilation syndromes
(5) Ventilatory inefficiency
(6) Pulmonary vascular disease 2
Cooper CB, Storer TW. Exercise testing and interpretation, A Practical approach. Cambridge University press; 2004.
(7) Interstitial lung disease
ประเภทของ Clinical exercise testing
•Exercise stress test
•Submaximal exercise testing
• Astrand-Rhyming nomogram
• YMCA cycle Ergometry test
• Arm crank ergometry test
• Bruce protocol submaximal walk test
• 6 Minute walk test
• Shuttle walk test
• Rockport 1 mile walk test 3
Exercise stress test

เป็นการทดสอบการทางานที่ผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ
ในระหว่างการออกกาลังกาย โดยผู้ถูกทดสอบจะต้องออกกาลังกายด้วย
เครื่องวัดงานเช่น ลู่วิ่งไฟฟ้า จักรยานวัดงาน ด้วยระดับที่มีความหนักมาก
ขึ้นเป็นลาดับ (Graded exercise test) หรือการใช้ยากระตุ้นหัวใจให้
ทางานหนักมากขึ้น (Pharmacological stress test) จนกระทั่งพบอาการ
ผิดปกติ หรือผู้ป่วยมีอาการล้ามากขึ้น
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ Exercise stress test
• เครื่องมือออกกาลังกายที่สามารถวัดงานได้ : ลู่วิ่งไฟฟ้า จักรยานวัดงาน
• นาฬิกาจับเวลา
• เครื่องวัด Stress test : ECG monitor and Interpreting
• เครื่องวัดความดันเลือด & stethoscope
• Borg score
• ถังออกซิเจน
• อุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ
ข้อบ่งชี้ในการทดสอบ
• การวินิจฉัยโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ
• เพื่อประเมินความเสี่ยงและการพยากรณ์โรคและกาหนดแนวทางการรักษาในผู้ที่เป็นโรคเส้นเลือด
หัวใจตีบตัน
• เพื่อคัดกรองในกลุ่มไม่มีอาการที่ความเสี่ยงสูงของการเกิดโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน
• ผู้ที่เป็นเบาหวานที่ไม่มีอาการที่วางแผนจะออกกาลังกายหนัก (vigorous exercise)
• ผู้ที่มี multiple risk factors เพื่อใช้เป็นแนวทางในการรักษาเพื่อลดความเสี่ยง
• ผู้ชายที่ไม่มีอาการที่มีอายุมากกว่า 45ปี และในผู้หญิงที่ไม่มีอาการที่มีอายุมากกว่า
55ปี
7
stress test. Washington, Mar 23 : Researchers from the Wildlife Conservation indiatalkies.com
Protocol ที่นิยมใช้ในการทดสอบ Exercise stress test

• Bruce’s protocol : 3 min per stage


• Balke-Ware: 1 min per stage
• Stanford: constant speed

ความแม่นยาในการทดสอบ
• ความไวในการทดสอบ(sensitivity) เท่ากับ 67%
• ความจาเพาะในการทดสอบ(specificity) เท่ากับ 72%
ข้อจากัดของการทดสอบ Exercise stress test
• ผู้ป่วยที่ไม่สามารถออกกาลังกายได้
Pharmacologic stress testing : Dobutamine stress echocardiography

• ในผู้ป่วยที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติตั้งแต่ก่อนเริ่มตรวจ
- Pre-excitation syndrome (WPW syndrome)
- ผู้ที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ(paced ventricular rhythm)
- ST segment depress > 1 mm
- Complete left bundle branch block
- left ventricular hypertrophy
- Digitalis
Stress Test Protocols

10
ข้อห้ามในการทดสอบ Exercise stress test
Absolute contraindications
• Drop in SBP of  10 mmHg from baseline BP despite an increase in workload, when
accompanied by other evidence of ischemia
• Moderate to severe angina
• Increase nervous system symptom (ataxia, dizziness, syncope)
• Cyanosis or pallor
• Subject desire to stop
• Sustain ventricular tachycardia
• ST elevation ( 1.0 mm) in leads without diagnostic Q-waves (other than V1 or aVR)
ข้อห้ามในการทดสอบ Exercise stress test
Relative contraindications
• Drop in SBP of  10 mmHg from baseline BP despite an increase in workload, in the
absence of other evidence of ischemia
• ST or QRS changes such as excessive ST depression (> 2 mm horizonatal or downsloping
ST-segment depression) or marked axis shift
• Arrhythmias other than sustained vebtricular tachycardia including multifocal of PVCs,
triplets of PVCs, Supraventricular tachycardia , heart block, or bradyarrhythmias
• Fatigue, shortness of breath, wheezing, leg cramps, or claudication
• Development of bundle branch block or intraventricular conduction delay that cannot
be distinguished from ventricular tachycardia increasing chest pain or hypertensive
responses
การเตรียมตัวก่อนการทดสอบ
• งดน้าอาหาร งดสูบบุหรี่ 2 ชม.ก่อนการทดสอบ
• ควรสวมเสื้อผ้าที่ใส่สบายและเหมาะกับการออกกาลังกาย รวมทั้งสวมใส่รองเท้าที่สามารถเดินหรือวิ่ง
ได้คล่องตัวโดยไม่หลุด
• ก่อนการทดสอบควรงดยากลุ่มที่ทาให้หัวใจเต้นช้า เช่น ยากลุ่มbeta-blockers
• ก่อนการทดสอบควรงดยากลุ่มที่รักษากล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ยกเว้นกรณีทาการทดสอบเพื่อดู
ผลการรักษาและการพยากรณ์โรค
• จะมีการให้ลงนามยินยอมให้แพทย์ทาการทดสอบทุกครั้ง
การหยุดการทดสอบ Exercise stress test
• ผลการทดสอบเป็นบวกตามเกณฑ์การแปลผลมาตรฐาน : ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
• หัวใจเต้นถึง 85% ของอัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจตามอายุ
• มีภาวะที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้ทดสอบ : ความดันโลหิตตก มีหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดร้ายแรง

ภาวะแทรกซ้อนของการทดสอบ
• การทดสอบสมรรถภาพหัวใจด้ วยการออกกาลังกาย ในปั จจุบันถือว่ าเป็ นวิธีท่ คี ่ อนข้ างปลอดภัย
• การเกิดกล้ ามเนือ้ หัวใจตาย เกิดได้ 3.5 รายต่ อการทดสอบ 10,000 ราย
• ภาวะหัวใจเต้ นผิดจังหวะชนิดรุ นแรง เกิดได้ 4.8 รายต่ อการทดสอบ 10,000 ราย
• การเสียชีวติ เกิดได้ 0.5 รายต่ อการทดสอบ 10,000 ราย
การนาผลการทดสอบไปใช้ประโยชน์

15
Submaximal test 2: Astrand-Rhyming nomogram
• 6 minutes constant work load testing (ค่าความน่าเชื่อถือ = 0.9433)
• ปั่นด้วยความเร็ว 50 – 60 rpm
• Starting work load
• Men; unconditioned: 300 or 600 kgm/min (50 or 100 watt): Post-CABG, HF
• Men; conditioned: 600 or 900 kgm/min (100 or 150 watt)
• Women; unconditioned: 300 or 450 kgm/min (50 or 75 watt): Post-CABG, HF
• Women; conditioned: 450 or 600 kgm/min (75 or 100 watt)
• The goal of target HR : 128 – 170 beat/min
• Record HR at 5th & 6th min;
• if HR not difference < 5 beat: HR 6th min
• if HR not difference > 5 beat: HR 5th + HR 6th divided 2 16
Age Correction
Factor
15 1.10
25 1.00
35 0.87
40 0.83
45 0.78
50 0.75
55 0.71
60 0.68
65 0.65

17
Astrand, 1958
Q: ชาย อายุ 40 ปี หนัก 80 กิโลกรัม
ทดสอบ Astrand rhyming nomogram
พบว่า HR = 140 bpm โดยใช้แรงต้านของจักรยาน 600 kgm/min
จงหาค่า VO2max ของชายคนนี้
A: เมื่อลากเส้นจาก work load (600 kgm/min) ไปยัง Exercise
HR (140 bpm) ตัดเส้น VO2max = 2.75 L/min
เปลี่ยนหน่วย VO2max จาก L/min  mL/kg/min
VO2max = 2.75 L/min
= 2.75 × 1,000 mL/min
= 2,750 ÷ 80 mL/kg/min
= 34.37 mL/kg/min
correction factor at 40 years old = 0.83
VO2max = 34.37 × 0.83
= 28.52 mL/kg/min 18
ACSM, 2014
Submaximal test: YMCA test
- Incremental work load testing
- 3 min per stage

ชาย อายุ 40 ปี สูง 165


เซนติเมตร หนัก 64
กิโลกรัม ได้รับการวินิจฉัยว่า
เป็น CHF ได้รับการทดสอบ
YMCA cycle Ergometry
test

19
ACSM, 2014
ชาย อายุ 40 ปี สูง 165 เซนติเมตร หนัก 64 กิโลกรัม ได้รับ
การวินิจฉัยว่าเป็น CHF ได้รับการทดสอบ YMCA cycle
Ergometry test
HR at 300 kgm/min = 115 bpm
HR at 450 kgm/min = 131 bpm
HR at 600 kgm/min = 145 bpm
HRmax = 220 – age
= 220 – 40 = 180 bpm
Leg ergometer VO2 = [(1.8 X work rate) ÷ BW] + 7
VO2 = [(1.8 X 976) ÷ 64] + 7
VO2max = 34.45 mL/kg/min
แปลงให้เป็นหน่วย L/min (คูณ BW  หาร 1,000)
VO2max = 2.2 L /min 20
Submaximal test: Arm crank ergometer test
- 3 min warm up at 0 watt
- 70 rev/min for test
- Increasing the work rate by 10 & 6W every minute for men & women : record HR at the end
of each minute.
- The test is terminated when
- Subject reaches 85% HRmax or 70% HRR
- Subject cannot maintain the cranking frequency (< 60 rev/min)
- Exhibits signs of intolerance of the exercise
- Wmax related with HRmax

VO2peak = (18.36 × Wmax) + (3.5 × BW)

unit: VO2peak = mL/min 21


BW = kg, Wmax = watt
ชาย อายุ 40 ปี สูง 165 เซนติเมตร หนัก 64 กิโลกรัม ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น CHF ได้รับการ
ทดสอบ Arm crank ergometry test โดย Wmax = 65 watt ที่ 85 % HRmax
Q: จงหาค่า VO2peak จากการทดสอบนี้
A: แทนค่าลงไปในสูตร VO2peak = (18.36 × Wmax) + (3.5 × BW)

VO2peak = (18.36 × 65) + (3.5 × 64)


= (1193.4) + (224)
= 1,417.4 mL/min
ปรับหน่วยให้เป็น mL/kg/min
= 1,417.4 ÷ 64
= 22.14 mL/kg/min
22
Submaximal test: Bruce protocol walk test
Bruce protocol
- Treadmill submaximal walk test
3 min / stage
- 3 min per stage
Speed %Grade
- With handrail testing
mph
- Terminate:
1.7 10
desire to stop
2.5 12
breathlessness
3.4 14
4.2 16
VO2max = (2.282 × time) + 8.545
5.5 18
5.5 20 23
ACSM 2014
ชาย อายุ 50 ปี สูง 165 เซนติเมตร หนัก 90 กิโลกรัม ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น CHF เดินทดสอบ Bruce
protocol walk test ใช้ระยะเวลา 7.25 นาที หลังการทดสอบวัดสัญญาณชีพได้ HR = 145 bpm
Q: จงหาค่า VO2max จากการทดสอบ ทดสอบ Bruce protocol walk test
A: แทนค่าลงไปในสูตร
VO2max = (2.282 × time) + 8.545
= (2.282 × 7.25) + 8.545
= 16.54 + 8.545
= 25.08 mL/kg/min

24
Submaximal test: 6 Minute Walk test (6MWT)
• ประเมิน exercise capacity
•การประเมินระยะทางในการเดินของผู้ถูกทดสอบภายในเวลา 6 นาที

25
26
ใช้อุปกรณ์อะไรบ้าง
• เทปวัดระยะทาง
• นาฬิกาจับเวลา
• อุปกรณ์กาหนดตาแหน่ง 2 จุด เช่น กรวยจราจรขนาดเล็ก
• แบบบันทึกผลทดสอบการเดิน
• เครื่องวัดความดัน
• pulse oxymeter
• เก้าอี้ที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย
• ถังออกซิเจน
• อุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ
27
เตรียมสถานที่อย่างไร

• ทางเดินควรมีความยาว 30 เมตร
• ทาสัญญาลักษณ์ทางเดินทุกๆ เมตร
• จุดเริ่มต้นและจุดเลี้ยวกลับทาสัญญาลักษณ์ด้วยเทปสีสดๆ
• วางกรวยกาหนดตาแหน่ง ที่จุดเริ่มต้นและจุดเลี้ยวกลับ

1 m.

30 m.

28
จุดเริ่มต้ น จุดเลีย้ วกลับ

30 m.

29
ผู้ป่วยควรเตรียมตัวอย่างไร
• ใส่เสื้อผ้าที่สบาย
• ใส่รองเท้าที่เดินได้สะดวก
• ถ้าผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยสามารถใช้ในการเดินทดสอบด้วย (เช่น
cane, walker )
• ผู้ป่วยไม่ต้องหยุดยาที่ใช้ประจา
• ผู้ป่วยไม่ควรอดอาหารก่อนการทดสอบ
• ผู้ป่วยไม่ควรออกกาลังกายที่หนักเกินไปก่อนมาทดสอบ 2 ชั่วโมง

30
ขั้นตอนการทดสอบ
ซักประวัติ ว่ามีข้อห้าม หรือข้อควรระวัง ในการทดสอบหรือไม่
- Absolute contraindications --unstable angina, heart attack
- Relative contraindications--resting tachycardia (heart rate > 120 beats/min)
or uncontrolled hypertension.

ผู้ป่วยนั่งพัก ประมาณ 10 นาที

ประเมินผู้ป่วยก่อนการเดินคือค่า heart rate, SpO2,


blood pressure, dyspnea score
31
แนะนาให้ผู้ป่วยเดินให้ได้ระยะทางมากที่สุดในเวลา 6 นาที และหากผู้ป่วยมีอาการ
เหนื่อย หรือผิดปกติ สามารถเดินช้าลง หรือหยุดพักได้ หลังจากนั้นให้เดินต่อทันทีที่
ทาได้ หากมีอาการผิดปกติ เช่น เจ็บหน้าอก เวียนศีรษะให้แจ้งผู้ควบคุมการทดสอบ

ในระหว่างการเดิน ให้บอกเวลาแก่ผู้ป่วยทุก 1 นาที


เช่น เหลือเวลาอีก 5 นาทีให้เดินต่อไป

เมื่อสิ้นสุดการเดินครบ 6 นาที ให้ผู้ป่วยหยุดพัก และประเมิน heart rate, SpO2,dyspnea,


fatigue, (ควรวัดในท่าเดียวกันกับการวัดก่อนเดิน) และ total distance

32
ข้อควรระวังในขณะทดสอบ

ผู้ที่ทาการควบคุมการทดสอบ ไม่ควรเดินพร้อมกับผู้ป่วย เนื่องจากจะ


เป็นการกาหนดการเดินของผู้ป่วย และควรวัด SpO2 ตลอดระยะทางที่
เดิน

ถ้าหากผู้ป่วยหยุดขณะเดิน สามารถนั่งเก้าอี้ได้ วัด SpO2 และ heart


rate บันทึกอาการ บันทึกระยะเวลาที่หยุดพัก (แต่นับรวมในระยะเวลา
6 นาที)

33
ความปลอดภัยของการทดสอบ 6MWT

• ในบริเวณการทดสอบการเดินควรมี cardiopulmonary resuscitation,


Oxygen therapy
• หยุด 6MWT เมื่อ
• chest pain
• intolerable dyspnea
• leg cramps

34
ความปลอดภัยของการใช้ 6MWT
• หยุด 6MWT เมื่อ
• Staggering (เดินโซเซ)
• Diaphoresis (เหงื่อออกมาก)
• Pale
• SpO2 น้อยกว่า 85%
เมื่อผู้ป่วยมีอาการเหล่านี้ ให้จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านั่งหรือนอนขึ้นอยู่กับ
ความรุนแรงของอาการ นอกจากนี้ทาการวัด blood pressure,
pulse rate, oxygen saturation และอาจให้ Oxygen therapy
ได้)

35
คานวณค่า METs จากระยะทางในการเดินจากสูตร
METs = (walking distance /60)+3.5
3.5

คานวณค่า VO2 peak (mL/kg-1/min-1) จากระยะทางในการเดินจากสูตร


ACSM’s 2014 for cardiorespiratory failure patients

VO2 peak = (0.02 × distance) – (0.191 × age) – (0.07 × weight) + (0.09 × height)
+ (0.26 × RPP [×10-3]) + 2.45

36
การแปลผล 6MWT
• ในผู้มีสุขภาพดีพบว่าค่าระยะทางการเดินด้วย 6MWDs อยู่ที่ 400 -700 เมตร ซึ่ง
การทานายว่าผู้นั้นมี exercise capacity ที่ดีขึ้น
• ในผู้ป่วย Cardiorespiratory condition < 300 เมตร : Poor endurance
capacity
• ระยะทางในการเดินที่เพิ่มมากกว่า 25-54 เมตร เป็นระยะทางที่บ่งบอกทาง clinically
ว่ามี exercise capacity ที่เพิ่มขึ้นที่ยอมรับกัน
• เพิ่มจากครั้งก่อน 10%

37
(Enright et al, 2003; Jenkins et al, 2010)
ชาย อายุ 50 ปี สูง 165 เซนติเมตร หนัก 90 กิโลกรัม ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น CHF เดินทดสอบ 6MWT ได้
ระยะทาง 250 เมตร หลังการทดสอบวัดสัญญาณชีพได้ HR = 110 bpm BP= 130/85 mmHg
Q: จงหาค่า VO2peak จากการทดสอบ 6MWT
A: แทนค่าลงไปในสูตร
VO2peak = (0.02 × distance) – (0.191 × age) – (0.07 × weight) + (0.09 × height) + (0.26 × RPP [×10-3]) + 2.45

RPP = HR × SBP = 110 × 130 = 14,300

VO2peak = (0.02 × 250) – (0.191 × 50) - (0.07 × 90) + (0.09 × 165) + (0.26 × 14,300 [×10-3]) + 2.45
= (5) – (9.55) - (6.3) + (14.85) + (3.72) + 2.45
= 10.17 mL/kg/min
38
Submaximal test: Shuttle walk test

• เป็นการทดสอบที่สร้างขึ้นในปี 1992
• เพื่อทดสอบความสามารถของผู้ป่วย COPD
• ใช้สถานที่น้อยกว่า 6MWT

39
การเตรียมสถานที่

40
SWT protocol

41
ผู้ป่วยควรเตรียมตัวอย่างไร
• ใส่เสื้อผ้าที่สบาย
• ใส่รองเท้าที่เดินได้สะดวก
• ถ้าผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยสามารถใช้ในการเดินทดสอบด้วย (เช่น
cane, walker )
• ผู้ป่วยไม่ต้องหยุดยาที่ใช้ประจา
• ผู้ป่วยไม่ควรอดอาหารก่อนการทดสอบ
• ผู้ป่วยไม่ควรออกกาลังกายที่หนักเกินไปก่อนมาทดสอบ 2 ชั่วโมง

42
ใช้อุปกรณ์อะไรบ้าง
• เทปวัดระยะทาง
• นาฬิกาจับเวลา
• อุปกรณ์กาหนดตาแหน่ง 2 จุด เช่น กรวยจราจรขนาดเล็ก
• แบบบันทึกผลทดสอบการเดิน
• เครื่องวัดความดัน
• pulse oxymeter
• เก้าอี้ที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย
• ถังออกซิเจน
• อุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ
43
44
การยุติการทดสอบ
• ไม่สามารถเดินไปถึงกรวยติดต่อกัน 2 ครั้ง
• ให้นับจานวนรอบและระยะทางที่เดินได้

Minimal clinical improvement of ISWT


ผลต่างเพิ่มขึ้น มากกว่าหรือเท่ากับ 70 เมตร
(ในผู้ป่วย cardiac rehabilitation)

45
VO2peak for SWT
VO2peak = (0.025 × distance) + 4.19 r = 0.88-0.98
Unit VO2peak : mL/kg/min distance : meter
ชาย อายุ 50 ปี สูง 165 เซนติเมตร หนัก 90 กิโลกรัม ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น CHF เดินทดสอบ
SWT ได้ระยะทาง 250 เมตร หลังการทดสอบวัดสัญญาณชีพได้ HR = 110 bpm BP= 130/85
mmHg46
Q: จงหาค่า VO2peak ที่ได้จาการทดสอบ SWT นี้
A: แทนค่าลงไปในสูตร VO2peak = (0.025 × distance) + 4.19

VO2peak = (0.025 × 250) + 4.19


= 6.25 + 4.19
46
= 10.44 mL/kg/min
Submaximal test: Rockport-1 mile walk test
• 1987
• Walk test: 1 mile (1.60 km) (r = 0.88)
• Time to complete of walk test

VO2max = 132.85 – (0.169 × BW) – (0.39 × age) + (6.32 × gender) – (3.26 × t) – (0.16 × HR)

VO2max : mL/kg/min BW: kilogram Age: year


Gender: female = 0, male = 1 t = min (time to complete test)
HR = beat per min
47
ชาย อายุ 50 ปี สูง 165 เซนติเมตร หนัก 90 กิโลกรัม ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น CHF เดินทดสอบ Rockport
1-mile walk test ใช้ระยะเวลา 20 นาที หลังการทดสอบวัดสัญญาณชีพได้ HR = 120 bpm
Q: จงหาค่า VO2peak จากการทดสอบ ทดสอบ Rockport 1-mile walk test
A: แทนค่าลงไปในสูตร
VO2max = 132.85 – (0.169 × BW) – (0.39 × age) + (6.32 × gender) – (3.26 × t) – (0.16 × HR)
= 132.85 – (0.169 × 90) – (0.39 × 50) + (6.32 × 1) – (3.26 × 20) – (0.16 × 120)
= 132.85 – (15.21) – (19.5) + (6.32) – (65.2) – (19.2)
= 20.06 mL/kg/min

48
Ergometry
[Ergo = work] + [meter = measure]

Ergometry : การศึกษาถึงวิธีการวัดงานที่ทาได้
Metabolic Measurements
1. Oxygen Consumption: L/min, mL/kg/min
2. Kcal : O2 1 Liter = 5 Kcal
3. Work: Work (kg·m) = Force (Kg or N) x Distance (m)
4. Power: Work / time, work rate 49
การเปลี่ยนหน่วยของงาน การเปลี่ยนหน่วย work rate
1 kcal (kilocalorie) = 426.85 kg·m
= 4186 joules
1 W (Watt) = 6.12 kgm/min
1 kpm (kilopond meter) = 9.81 joules = 0.001434 kcal/min
= 0.00234 kcal = 1 N·m·sec-1

1 kg·m(kilogram meter) = 1 kp·m


Weights
1kg = 2.2046 lbs
1kg = 9.8 N
1kg = 1,000 g 50
From : Coast et al., Exercise Physiology Videolabs Lab Manual
Work Units Speeds
1 MET = 3.5 ml/kg/min 1 mph = 26.8 m/min
5 kcal per Liter of O2/min 1 mph = 1.62 km/hr
1 km/hr = 0.62mph

51
VO2 MET
Work rate
Speed and Graded:
Treadmill
Resistance / watt
Leg & arm ergometer

Step rate and height:


Step 52
เครื่องวัดงาน (Ergometer)
• เป็นเครื่องออกกาลังกายที่สามารถกาหนด • Treadmill
ระดับงาน (Work) และ พลังงานได้ • Cycle ergometer
• สามารถวัดได้แต่ แรงภายนอกเท่านั้น
(External work)
• Arm ergometer
• Ergometer ควรจะมีการ Calibrated บ่อยๆ • Bench step
เพื่อความแม่นยาในการทางาน

53
จักรยานวัดงาน (Cycle ergometer)
Mechanical friction ergometer Constant load cycle ergometer

54
Mechanical friction ergometer Constant load cycle ergometer
- มีแรงต้านที่บริเวณล้อจักรยาน -แรงต้านจะให้บนล้อจักรยาน
- พลังงานที่ได้จะขึ้นกับความเร็วในการปั่น - แรงต้านของจักรยานจะปรับอัตโนมัติเพื่อให้
และแรงต้านที่ให้ พลังงานที่ได้คงที่
- ชนิดของแรงต้าน: Mechanical friction, - หน่วยเป็น Watt
Air resistance
-  ความตึงของสายรัด แรงต้านมาก
ขึ้น (หน่วยเป็น kg หรือ kp)

55
Monark TM cycle ergometer
มือจับ
เบาะนั่ง
หน้าจอแสดงผล
ที่ปรับแรงต้าน

ที่ปรับระดับเบาะ

สายรัดเพิ่มแรงต้าน
ลูกตุ้มบอกระดับแรงต้าน

ที่ปั่น

56
Advantages and disadvantages of leg ergometer

มุมของขาควรงอไม่เกิน 15 องศา
เมื่ออยู่ในท่าขาเหยียด

57
การหา VO2 ใน Leg Ergometry
• Rest = 3.5 ml/kg/min
• Unloading component = 3.5ml/kg/min
• Vertical = kgm/min x 1.8
• 1.8 ml of O2 per kg of body mass for each meter of vertical
distance
Equation:
VO2 (ml/kg/min) = [1.8 (work rate) ÷ BW] + 7
•used for 300-1200 kgm/min
•Units: [(1.8ml/kg/meter)(kgm/min) ÷ (kg)] + 7 ml/kg/min
58
ตัวอย่างโจทย์
• ชายอายุ 30 ปี มีอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก 60 bpm มี HRmax 190 bpm หนัก 180 lbs., และ
มี VO2max 48 mL/kg/min เขาต้องการปั่นจักรยานวัดงาน Monark ergometer เพื่อให้ได้ความ
หนักของการออกกาลังกายที่ 40 % VO2max
Q: Target VO2 มีค่าเท่าใด
A: Target VO2 = (exercise intensity) × (VO2max)
= 0.4 × 48
= 19.2 mL/kg/min

59
Q: ระดับของอัตราการเต้นหัวใจสารองที่ระดับความหนัก 40% VO2max มีค่าเท่าใด
A: HRmax = 190 bpm
Target HR = [ (exercise intensity) (HRmax - HRrest) ] + HRrest
= [(0.40) (190 - 60)] +60
= [(0.4) (130)] + 60
= 52 + 60
= 112 beats/min

60
Q: target work rate ของจักรยาน Monark bike มีค่าเท่าใด
A: เปลี่ยนหน่วยน้าหนักตัวจาก ปอนด์ เป็น กิโลกรัม: 180 lb /2.2 = 81.8 kg
VO2 = 7.0 + [1.8 (work rate) / (body mass)]
19.2 = 7.0 + [1.8 (work rate) / (81.8)]
12.2 = 1.8 (work rate) / (81.8)
998 = 1.8 (work rate)
554 kgm/min = work rate
Q: ถ้าปั่นด้วยความเร็ว 60 rpm บนจักรยาน Monark cycle จะต้องใช้แรงต้านเท่าใด
A: Work rate = (resistance setting) (D) (Pedal cadence)
554 = (resistance setting) (6) (60)
554 = (resistance setting) (360)
1.54 kp = resistance setting
61
https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih=613&tbm
62
Q: ถ้าปั่นด้วยความเร็ว 60 rpm บนจักรยาน Constance work load จะต้องใช้แรงต้านเท่าใด
A: เปลี่ยน work rate ให้เป็นหน่วย Watt โดยการ หารด้วย 6.12
1 watt = 6.12 kgm/min

554 ÷ 6.12 = 90.5 watt

63
Arm ergometer
เป็นเครื่องออกกาลังกายแขนโดยจะมีแรงต้านจากเครื่องในขณะปั่น
สามารถวัดงานออกมาได้โดยตรง
VO2 : 80% of leg ergometer

Monark 881E

64
BiodexTM
จอแสดงผล

มาตรแสดง work rate

คานจับมือปั่น

คานปรับแรงต้าน

https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih=662&tbm=isch&sa=1&ei=zmBGWpe_Boj5vASzxbuYCQ&q=monark+arm+ergometer&oq=arm+ergom&gs_l=psy-
65
ab.1.8.0i19k1l8j0i5i30i19k1j0i8i13i30i19k1.548393.555421.0.558678.13.11.2.0.0.0.177.1600.0j11.11.0....0...1c.1.64.psy-ab..0.13.1614...0j0i67k1j0i10k1j0i30k1j0i30i19k1j0i8i30i19k1.0.0eN2XA7UqnU#imgrc=e95Vn99oNXbFXM:
Arm Ergometry
• Resting = 3.5 ml/kg/min
• No unloading component (negligible since arms have small mass)
• Horizontal = none
• Vertical = kgm/min x 3
• Equation:
•VO2 (ml/kg/min) = [3 (kgm/min) ÷ BW] + 3.5
• used for 150-750 kgm/min

66
ตัวอย่างโจทย์
• ชายอายุ 30 ปี มีอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก 60 bpm มี HRmax 190 bpm หนัก 180 lbs., และมี VO2max
48 mL/kg/min เขาต้องการปั่นจักรยานวัดงาน arm ergometer เพื่อให้ได้ความหนักของการออกกาลังกายที่ 40 %
VO2max
Q: Target VO2 มีค่าเท่าใด
A: Target VO2 = (exercise intensity) × (VO2max)
= 0.4 × 48
= 19.2 mL/kg/min

67
Q: target work rate ของจักรยาน arm ergometer มีค่าเท่าใด
A: เปลี่ยนหน่วยน้าหนักตัวจาก ปอนด์ เป็น กิโลกรัม: 180 lb /2.2 = 81.8 kg
VO2 = 3.5 + [3 (work rate) / (body mass)]
19.2 = 3.5 + [3 (work rate) / (81.8)]
15.7 = 3 (work rate) / (81.8)
1,284 = 3 (work rate)
428 kgm/min = work rate
A: เปลี่ยนหน่วย kgm/min  watt (kgm/min ÷ 6.12)
428 ÷ 6.12 = 70 watt

68
ลู่วิ่ง (Treadmills)
ลู่วิ่งระบบไฟฟ้ามีสายพานเป็นลู่วิ่ง

ความหนักของการออกกาลังกาย ขึ้นกับ ความเร็วและความชันของลู่วิ่ง

ความแม่นยาในการวัดจะมากขึ้นเมื่อมีการทดสอบเครื่องเป็นประจา

69
การหา VO2 ในการเดินลู่วิ่งไฟฟ้า
Rest = 3.5 ml/kg/min
Horizontal = m/min x 0.1 ml O2 per m/min
0.1 ml of O2 to transport each kg of body mass per meter of horizontal distance
Vertical = grade (fraction) x m/min x 1.8
1.8 ml of O2 per kg of body mass for each meter of vertical distance

Equation:
VO2(ml/kg/min) = 0.1 (speed) + 1.8 (speed) (grade) + 3.5
used for speeds of 50 - 100 m/min or 1.9 - 3.7 mph
Units: (0.1ml/kg/meter)(meter/minute) + (1.8ml/kg/meter) (meter/min)(fractional
grade) + 3.5 ml/kg/min
70
การหา VO2 ในการวิ่งลู่วิ่งไฟฟ้า
• Resting = 3.5 ml/kg/min

• Horizontal = m/min x 0.2 O2 per m/min

• Vertical = grade (fraction) x m/min x 0.9

• Equation:
VO2 (ml/kg/min) = 0.2 (speed) + 0.9 (speed) (grade) + 3.5
• used for speeds >80 m/min if truly jogging
71
ตัวอย่างโจทย์
• ชายอายุ 30 ปี มีอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก 60 bpm มี HRmax 190 bpm หนัก 180 lbs., และ
มี VO2max 48 mL/kg/min เขาต้องการเดินบนลู่วิ่งไฟฟ้า ด้วยความเร็ว 3 mph เพื่อให้ได้ความหนัก
ของการออกกาลังกายที่ 40 % VO2max
Q: Target VO2 มีค่าเท่าใด
A: Target VO2 = (exercise intensity) × (VO2max)
= 0.4 × 48
= 19.2 mL/kg/min

72
Q: จะต้องปรับความชันลู่วิ่งไฟฟ้าเท่าใด เมื่อเดินด้วยความเร็ว 3 mph
A: เปลี่ยนความเร็วจาก mph เป็น m/min โดยการคูณด้วย 26.8
3 mph × 26.8 = 80.4 m/min
VO2 = 0.1 (speed) + 1.8 (speed) (fraction grade) + 3.5 mL/kg/min
19.2 =0.1 (80.4) + 1.8 (80.4) (fraction grade) + 3.5
15.7 = 0.1 (80.4) + 1.8 (80.4) (fraction grade)
15.7 = 8.04 + 144.7 (fraction grade)
7.66 = 144.7 (fraction grade)
0.05 = fraction grade,
fraction grade X 100 = % grade
73
= 5 % grade
ตัวอย่างโจทย์

• ชายอายุ 30 ปี มีอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก 60 bpm มี HRmax 190 bpm หนัก 180 lbs., และ
มี VO2max 48 mL/kg/min เขาต้องการวิ่งบนลู่วิ่งไฟฟ้า ด้วยความเร็ว 5 mph เพื่อให้ได้ความหนัก
ของการออกกาลังกายที่ 60 % VO2max
Q: Target VO2 มีค่าเท่าใด
A: Target VO2 = (exercise intensity) × (VO2max)
= 0.6 × 48
= 28.8 mL/kg/min

74
Q: จะต้องปรับความชันลูว่ ิ่งไฟฟ้าเท่าใด เมื่อวิ่งด้วยความเร็ว 4 mph
A: เปลี่ยนความเร็วจาก mph เป็น m/min โดยการคูณด้วย 26.8
4 mph × 26.8 = 107.2 m/min
VO2 = 0.2 (speed) + 0.9 (speed) (fraction grade) + 3.5 mL/kg/min
28.8 =0.2 (107.2) + 0.9 (107.2) (fraction grade) + 3.5
25.3 = 0.2 (107.2) + 0.9 (107.2) (fraction grade)
25.3 = 21.4 + 96.48 (fraction grade)
3.9 = 96.48 (fraction grade)
0.04 = fraction grade,
fraction grade X 100 = % grade
= 4 % grade
75
บันได (Bench step)

การก้าวขึ้น-ลงบันตามจังหวะของเครื่องกาหนดจังหวะได้เป็นการวัดที่ง่าย
งานที่ได้ขึ้นกับความสูงของบันไดและน้าหนักตัวของผู้ทดสอบ
ความเร็วของการก้าวขึ้น-ลงบันไดจะเป็นตัวกาหนดอัตราของงานที่ทาได้

https://www.cbp.gov/newsroom/photo-gallery/photo-library/cbp-field-operations-academy-6
Metronome 76
ข้ อเด่ นของบันได
ง่ายต่อการวัด
ราคาถูก เคลื่อนย้ายง่าย
การวัดจะเหมือนกับการทางานในชีวิตประจาวัน

ข้ อด้ อยของบันได
การก้าวลงบันไดไม่สามารถวัดงานได้
ผู้ทดสอบอาจจะมีอาการปวดล้าหัวเข่าและสะโพกได้
การทดสอบในบันไดที่มคี วามสูงมากๆ อาจจะทาให้เกิดการล้าของกล้ามเนื้อได้
การวัดค่าทางสรีรวิทยาในระหว่างการขึ้น-ลงบันไดทาได้ยาก
77
Stepping

• Rest : 3.5 ml/kg/min


• Horizontal = 0.2 x steps/min
• Vertical = m/step x steps/min x 1.33 x 1.8
• Equation:
• VO2 (ml/kg/min) = 0.2 (steps/min) + (1.33 x 1.8 x m/step x steps/min) + 3.5
• 1.33 accounts for going up (1.0) and coming down (.33)

78
ตัวอย่างโจทย์
• ชายอายุ 30 ปี มีอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก 60 bpm มี HRmax 190 bpm หนัก 180 lbs., และ
มี VO2max 48 mL/kg/min เขาต้องการเดินขึ้น-ลงบันได ที่มีความสูง 15 เซนติเมตร เพื่อให้ได้ความ
หนักของการออกกาลังกายที่ 40 % VO2max
Q: Target VO2 มีค่าเท่าใด
A: Target VO2 = (exercise intensity) × (VO2max)
= 0.4 × 48
= 19.2 mL/kg/min

79
Q: จะต้องปรับความถี่ในการก้าวขึ้นลงเท่าใด
A: ความสูงของบันไดเท่ากับ 0.15 เมตร
VO2 (ml/kg/min) = 0.2 (steps/min) + (1.33 x 1.8 x m/step x steps/min) + 3.5

19.2 = 0.2 (step/min) + [1.33 × 1.8 × 0.15 (step/min)] + 3.5


15.7 = 0.2 (step/min) + [1.33 × 1.8 × 0.15 (step/min)]
15.7 = 0.2 (step/min) + [0.36 (step/min)]
15.7 = 0.56 (step/min)
ความถี่ในการก้าวขึ้นลงบันได = 28 step/min

80
การเปลี่ยนหน่วยของงาน การเปลี่ยนหน่วย work rate
1 kcal (kilocalorie) = 426.85 kg·m
= 4186 joules
1 W (Watt) = 6.12 kgm/min
1 kpm (kilopond meter) = 9.81 joules = 0.001434 kcal/min
= 0.00234 kcal = 1 N·m·sec-1

1 kg·m(kilogram meter) = 1 kp·m


Weights
1kg = 2.2046 lbs
1kg = 9.8 N
1kg = 1,000 g 81
From : Coast et al., Exercise Physiology Videolabs Lab Manual
Work Units Speeds
1 MET = 3.5 ml/kg/min 1 mph = 26.8 m/min
5 kcal per Liter of O2/min 1 mph = 1.62 km/hr
1 km/hr = 0.62mph

82
VO2 MET
Work rate
Speed and Graded:
Treadmill
Resistance / watt
Leg & arm ergometer

Step rate and height:


Step 83
เครื่องวัดงาน (Ergometer)
• เป็นเครื่องออกกาลังกายที่สามารถกาหนด • Treadmill
ระดับงาน (Work) และ พลังงานได้ • Cycle ergometer
• สามารถวัดได้แต่ แรงภายนอกเท่านั้น
(External work)
• Arm ergometer
• Ergometer ควรจะมีการ Calibrated บ่อยๆ • Bench step
เพื่อความแม่นยาในการทางาน

84
จักรยานวัดงาน (Cycle ergometer)
Mechanical friction ergometer Constant load cycle ergometer

85
Mechanical friction ergometer Constant load cycle ergometer
- มีแรงต้านที่บริเวณล้อจักรยาน -แรงต้านจะให้บนล้อจักรยาน
- พลังงานที่ได้จะขึ้นกับความเร็วในการปั่น - แรงต้านของจักรยานจะปรับอัตโนมัติเพื่อให้
และแรงต้านที่ให้ พลังงานที่ได้คงที่
- ชนิดของแรงต้าน: Mechanical friction, - หน่วยเป็น Watt
Air resistance
-  ความตึงของสายรัด แรงต้านมาก
ขึ้น (หน่วยเป็น kg หรือ kp)

86
Monark TM cycle ergometer
มือจับ
เบาะนั่ง
หน้าจอแสดงผล
ที่ปรับแรงต้าน

ที่ปรับระดับเบาะ

สายรัดเพิ่มแรงต้าน
ลูกตุ้มบอกระดับแรงต้าน

ที่ปั่น

87
Advantages and disadvantages of leg ergometer

มุมของขาควรงอไม่เกิน 15 องศา
เมื่ออยู่ในท่าขาเหยียด

88
การหา VO2 ใน Leg Ergometry
• Rest = 3.5 ml/kg/min
• Unloading component = 3.5ml/kg/min
• Vertical = kgm/min x 1.8
• 1.8 ml of O2 per kg of body mass for each meter of vertical
distance
Equation:
VO2 (ml/kg/min) = [1.8 (work rate) ÷ BW] + 7
•used for 300-1200 kgm/min
•Units: [(1.8ml/kg/meter)(kgm/min) ÷ (kg)] + 7 ml/kg/min
89
ตัวอย่างโจทย์
• ชายอายุ 30 ปี มีอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก 60 bpm มี HRmax 190 bpm หนัก 180 lbs., และ
มี VO2max 48 mL/kg/min เขาต้องการปั่นจักรยานวัดงาน Monark ergometer เพื่อให้ได้ความ
หนักของการออกกาลังกายที่ 40 % VO2max
Q: Target VO2 มีค่าเท่าใด
A: Target VO2 = (exercise intensity) × (VO2max)
= 0.4 × 48
= 19.2 mL/kg/min

90
Q: ระดับของอัตราการเต้นหัวใจสารองที่ระดับความหนัก 40% VO2max มีค่าเท่าใด
A: HRmax = 190 bpm
Target HR = [ (exercise intensity) (HRmax - HRrest) ] + HRrest
= [(0.40) (190 - 60)] +60
= [(0.4) (130)] + 60
= 52 + 60
= 112 beats/min

91
Q: target work rate ของจักรยาน Monark bike มีค่าเท่าใด
A: เปลี่ยนหน่วยน้าหนักตัวจาก ปอนด์ เป็น กิโลกรัม: 180 lb /2.2 = 81.8 kg
VO2 = 7.0 + [1.8 (work rate) / (body mass)]
19.2 = 7.0 + [1.8 (work rate) / (81.8)]
12.2 = 1.8 (work rate) / (81.8)
998 = 1.8 (work rate)
554 kgm/min = work rate
Q: ถ้าปั่นด้วยความเร็ว 60 rpm บนจักรยาน Monark cycle จะต้องใช้แรงต้านเท่าใด
A: Work rate = (resistance setting) (D) (Pedal cadence)
554 = (resistance setting) (6) (60)
554 = (resistance setting) (360)
1.54 kp = resistance setting
92
https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih=613&tbm
93
Q: ถ้าปั่นด้วยความเร็ว 60 rpm บนจักรยาน Constance work load จะต้องใช้แรงต้านเท่าใด
A: เปลี่ยน work rate ให้เป็นหน่วย Watt โดยการ หารด้วย 6.12
1 watt = 6.12 kgm/min

554 ÷ 6.12 = 90.5 watt

94
Arm ergometer
เป็นเครื่องออกกาลังกายแขนโดยจะมีแรงต้านจากเครื่องในขณะปั่น
สามารถวัดงานออกมาได้โดยตรง
VO2 : 80% of leg ergometer

Monark 881E

95
BiodexTM
จอแสดงผล

มาตรแสดง work rate

คานจับมือปั่น

คานปรับแรงต้าน

https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih=662&tbm=isch&sa=1&ei=zmBGWpe_Boj5vASzxbuYCQ&q=monark+arm+ergometer&oq=arm+ergom&gs_l=psy-
96
ab.1.8.0i19k1l8j0i5i30i19k1j0i8i13i30i19k1.548393.555421.0.558678.13.11.2.0.0.0.177.1600.0j11.11.0....0...1c.1.64.psy-ab..0.13.1614...0j0i67k1j0i10k1j0i30k1j0i30i19k1j0i8i30i19k1.0.0eN2XA7UqnU#imgrc=e95Vn99oNXbFXM:
Arm Ergometry
• Resting = 3.5 ml/kg/min
• No unloading component (negligible since arms have small mass)
• Horizontal = none
• Vertical = kgm/min x 3
• Equation:
•VO2 (ml/kg/min) = [3 (kgm/min) ÷ BW] + 3.5
• used for 150-750 kgm/min

97
ตัวอย่างโจทย์
• ชายอายุ 30 ปี มีอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก 60 bpm มี HRmax 190 bpm หนัก 180 lbs., และมี VO2max
48 mL/kg/min เขาต้องการปั่นจักรยานวัดงาน arm ergometer เพื่อให้ได้ความหนักของการออกกาลังกายที่ 40 %
VO2max
Q: Target VO2 มีค่าเท่าใด
A: Target VO2 = (exercise intensity) × (VO2max)
= 0.4 × 48
= 19.2 mL/kg/min

98
Q: target work rate ของจักรยาน arm ergometer มีค่าเท่าใด
A: เปลี่ยนหน่วยน้าหนักตัวจาก ปอนด์ เป็น กิโลกรัม: 180 lb /2.2 = 81.8 kg
VO2 = 3.5 + [3 (work rate) / (body mass)]
19.2 = 3.5 + [3 (work rate) / (81.8)]
15.7 = 3 (work rate) / (81.8)
1,284 = 3 (work rate)
428 kgm/min = work rate
A: เปลี่ยนหน่วย kgm/min  watt (kgm/min ÷ 6.12)
428 ÷ 6.12 = 70 watt

99
ลู่วิ่ง (Treadmills)
ลู่วิ่งระบบไฟฟ้ามีสายพานเป็นลู่วิ่ง

ความหนักของการออกกาลังกาย ขึ้นกับ ความเร็วและความชันของลู่วิ่ง

ความแม่นยาในการวัดจะมากขึ้นเมื่อมีการทดสอบเครื่องเป็นประจา

100
การหา VO2 ในการเดินลู่วิ่งไฟฟ้า
Rest = 3.5 ml/kg/min
Horizontal = m/min x 0.1 ml O2 per m/min
0.1 ml of O2 to transport each kg of body mass per meter of horizontal distance
Vertical = grade (fraction) x m/min x 1.8
1.8 ml of O2 per kg of body mass for each meter of vertical distance

Equation:
VO2(ml/kg/min) = 0.1 (speed) + 1.8 (speed) (grade) + 3.5
used for speeds of 50 - 100 m/min or 1.9 - 3.7 mph
Units: (0.1ml/kg/meter)(meter/minute) + (1.8ml/kg/meter) (meter/min)(fractional
grade) + 3.5 ml/kg/min
101
การหา VO2 ในการวิ่งลู่วิ่งไฟฟ้า
• Resting = 3.5 ml/kg/min

• Horizontal = m/min x 0.2 O2 per m/min

• Vertical = grade (fraction) x m/min x 0.9

• Equation:
VO2 (ml/kg/min) = 0.2 (speed) + 0.9 (speed) (grade) + 3.5
• used for speeds >80 m/min if truly jogging
102
ตัวอย่างโจทย์
• ชายอายุ 30 ปี มีอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก 60 bpm มี HRmax 190 bpm หนัก 180 lbs., และ
มี VO2max 48 mL/kg/min เขาต้องการเดินบนลู่วิ่งไฟฟ้า ด้วยความเร็ว 3 mph เพื่อให้ได้ความหนัก
ของการออกกาลังกายที่ 40 % VO2max
Q: Target VO2 มีค่าเท่าใด
A: Target VO2 = (exercise intensity) × (VO2max)
= 0.4 × 48
= 19.2 mL/kg/min

103
Q: จะต้องปรับความชันลู่วิ่งไฟฟ้าเท่าใด เมื่อเดินด้วยความเร็ว 3 mph
A: เปลี่ยนความเร็วจาก mph เป็น m/min โดยการคูณด้วย 26.8
3 mph × 26.8 = 80.4 m/min
VO2 = 0.1 (speed) + 1.8 (speed) (fraction grade) + 3.5 mL/kg/min
19.2 =0.1 (80.4) + 1.8 (80.4) (fraction grade) + 3.5
15.7 = 0.1 (80.4) + 1.8 (80.4) (fraction grade)
15.7 = 8.04 + 144.7 (fraction grade)
7.66 = 144.7 (fraction grade)
0.05 = fraction grade,
fraction grade X 100 = % grade
104
= 5 % grade
ตัวอย่างโจทย์

• ชายอายุ 30 ปี มีอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก 60 bpm มี HRmax 190 bpm หนัก 180 lbs., และ
มี VO2max 48 mL/kg/min เขาต้องการวิ่งบนลู่วิ่งไฟฟ้า ด้วยความเร็ว 5 mph เพื่อให้ได้ความหนัก
ของการออกกาลังกายที่ 60 % VO2max
Q: Target VO2 มีค่าเท่าใด
A: Target VO2 = (exercise intensity) × (VO2max)
= 0.6 × 48
= 28.8 mL/kg/min

105
Q: จะต้องปรับความชันลูว่ ิ่งไฟฟ้าเท่าใด เมื่อวิ่งด้วยความเร็ว 4 mph
A: เปลี่ยนความเร็วจาก mph เป็น m/min โดยการคูณด้วย 26.8
4 mph × 26.8 = 107.2 m/min
VO2 = 0.2 (speed) + 0.9 (speed) (fraction grade) + 3.5 mL/kg/min
28.8 =0.2 (107.2) + 0.9 (107.2) (fraction grade) + 3.5
25.3 = 0.2 (107.2) + 0.9 (107.2) (fraction grade)
25.3 = 21.4 + 96.48 (fraction grade)
3.9 = 96.48 (fraction grade)
0.04 = fraction grade,
fraction grade X 100 = % grade
= 4 % grade
106
บันได (Bench step)

การก้าวขึ้น-ลงบันตามจังหวะของเครื่องกาหนดจังหวะได้เป็นการวัดที่ง่าย
งานที่ได้ขึ้นกับความสูงของบันไดและน้าหนักตัวของผู้ทดสอบ
ความเร็วของการก้าวขึ้น-ลงบันไดจะเป็นตัวกาหนดอัตราของงานที่ทาได้

https://www.cbp.gov/newsroom/photo-gallery/photo-library/cbp-field-operations-academy-6
Metronome 107
ข้ อเด่ นของบันได
ง่ายต่อการวัด
ราคาถูก เคลื่อนย้ายง่าย
การวัดจะเหมือนกับการทางานในชีวิตประจาวัน

ข้ อด้ อยของบันได
การก้าวลงบันไดไม่สามารถวัดงานได้
ผู้ทดสอบอาจจะมีอาการปวดล้าหัวเข่าและสะโพกได้
การทดสอบในบันไดที่มคี วามสูงมากๆ อาจจะทาให้เกิดการล้าของกล้ามเนื้อได้
การวัดค่าทางสรีรวิทยาในระหว่างการขึ้น-ลงบันไดทาได้ยาก
108
Stepping

• Rest : 3.5 ml/kg/min


• Horizontal = 0.2 x steps/min
• Vertical = m/step x steps/min x 1.33 x 1.8
• Equation:
• VO2 (ml/kg/min) = 0.2 (steps/min) + (1.33 x 1.8 x m/step x steps/min) + 3.5
• 1.33 accounts for going up (1.0) and coming down (.33)

109
ตัวอย่างโจทย์
• ชายอายุ 30 ปี มีอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก 60 bpm มี HRmax 190 bpm หนัก 180 lbs., และ
มี VO2max 48 mL/kg/min เขาต้องการเดินขึ้น-ลงบันได ที่มีความสูง 15 เซนติเมตร เพื่อให้ได้ความ
หนักของการออกกาลังกายที่ 40 % VO2max
Q: Target VO2 มีค่าเท่าใด
A: Target VO2 = (exercise intensity) × (VO2max)
= 0.4 × 48
= 19.2 mL/kg/min

110
Q: จะต้องปรับความถี่ในการก้าวขึ้นลงเท่าใด
A: ความสูงของบันไดเท่ากับ 0.15 เมตร
VO2 (ml/kg/min) = 0.2 (steps/min) + (1.33 x 1.8 x m/step x steps/min) + 3.5

19.2 = 0.2 (step/min) + [1.33 × 1.8 × 0.15 (step/min)] + 3.5


15.7 = 0.2 (step/min) + [1.33 × 1.8 × 0.15 (step/min)]
15.7 = 0.2 (step/min) + [0.36 (step/min)]
15.7 = 0.56 (step/min)
ความถี่ในการก้าวขึ้นลงบันได = 28 step/min

111
40%HRR
Safe for HF

112
http://home.portervillecollege.edu/bdavis2/Fitness%20Center%20Study%20Guide.htm
โปรแกรมการออกกาลังกายแบบแอโรบิกสาหรับการฟื้นฟูหัวใจในผู้ป่วย Post-CABG
รูปแบบของการออกกาลังกาย โปรแกรมการออกกาลังกาย
ความหนักของการออกกาลังกาย (Intensity of RPE less than 13 - 15 ( 6 to 20 )
exercise) 40 – 60 % of heart rate reserve
60 – 75% of maximum heart rate
80% of estimate max functional (MET)
ระยะเวลาของการออกกาลังกาย (Duration of Total duration up to 20 - 60 minutes
exercise)
ความถี่ของการออกกาลังกาย 3 – 5 times/week
(Frequency of exercise)
การปรับเปลี่ยนการออกกาลังกาย Initially increase duration to 20 - 30min , then
(Progression of exercise) increase intensity of exercise 113
เอกสารอ้างอิง
1. Guidelines for cardiac rehabilitation and secondary prevention programs AACVPR. human kinetics; 4th edition;
2004.
2. ACSM’s guidelines for exercise testing and prescription. Lippincott Williams & Wilkins; 9th edition: 2014.
3. Physiotherapy for respiratory and cardiac problems Adults and paediatrics. Churchill Livingstone. 4th edition;
2014.
4. Ghasghaei FE et al. Exercise-base cardiac rehabilitation improves hemodynamic responses after coronary
artery bypass graft surgery. ARYA Atheroscler.Winter;7(4)151-6: 2012.
5. Yancy CW, Jessup M, Bozkurt B, et al. 2013 ACCF/AHA Guideline for the ,management of heart failure: A
report of the American College of Cardiology Foundation/American Heart Association Task force on practice
Guideline. Circulation; 128: e240-327; 2013.
6. Cooper CB, Storer TW. Exercise testing and interpretation, A Practical approach. Cambridge; 2004.
7. Power SK, Howley Et. Exercise physiology: Theory and application to fitness and performance. Brown and
Benchmark Publishers: Sydney 1997, Ch6.
114

You might also like