You are on page 1of 9

ผลของการเดินและการเดินพร้ อมการออกกำลังกายด้ วยแรงต้ านที่บ้าน เป็ นเวลา 10 สัปดาห์ ที่มี

ต่ อระดับคุณภาพกล้ ามเนือ้ ขนาดกล้ ามเนือ้ และการทดสอบสมรรถภาพทางกายภาพในผู้สูงวัยที่


มีสุขภาพดี

บทคัดย่ อ
ความเป็ นมาของปั ญหา
ผู้สงู วัยหลายคนประสบปั ญหากับโรคกล้ ามเนื ้อลีบฝ่ อและการเพิ่มขึ ้นของไขมันในกล้ ามเนื ้อ
สัดส่วนของไขมันและเนื ้อเยื่อเกี่ยวพันภายในกล้ ามเนื ้อลายสามารถประมาณได้ ด้วยภาพจากการตรวจ
วินิจฉัยโรคด้ วยคลื่นเสียงความถี่สงู (อัลตราซาวด์) ในระบบ B-mode โดยอาศัยความเข้ มของสัญญาณ
เสียงสะท้ อน (Echo intensity หรื อ EI) ความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ใช้ ในการคำนวณหาดัชนี
ของระดับคุณภาพกล้ ามเนื ้อ การเดิน การออกกำลังกายด้ วยแรงต้ านที่บ้าน และการปฏิบตั ิทงสองอย่
ั้ างนัน้
ได้ รับการพิจารณาแล้ วว่ามีความง่ายและผู้สงู วัยสามารถปฏิบตั ิได้ จริ ง จุดประสงค์ของงานวิจยั นี ้เพื่อวัดผล
จากการเดินและการเดินพร้ อมออกกำลังกายด้ วยแรงต้ านที่บ้านที่มีตอ่ ระดับคถณภาพกล้ ามเนื ้อของผู้สงู
วัย

กระบวนการการวิจยั
ผู้เข้ าร่วมการวิจยั 31 คน เดินเพียงอย่างเดียว (กลุม่ เดิน; อายุ 72±5 ปี ) และผู้เข้ าร่วมการวิจยั อีก
33 คน เดินและออกกำลังกายด้ วยแรงต้ านที่บ้าน (กลุม่ เดินและออกกำลังกาย; อายุ 73±6 ปี ) การวิจยั นี ้
เป็ นการวิจยั กลุม่ ทดลองแบบไม่มีการสุม่ และไม่มีกลุม่ ควบคุม ผู้เข้ าร่วมการวิจยั ทุกคนจะต้ องเดิน 2 หรื อ 3
เซทต่อสัปดาห์ เป็ นระยะเวลา 10 สัปดาห์ (1 เซท: เดินอย่างต่อเนื่อง 30 นาที) นอกจากนี ้กลุม่ เดินและออก
กำลังกายจะต้ องออกกำลังกายด้ วยแรงต้ านโดยใช้ น้ำหนักตัว ความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ใช้
เป็ นตัววัดดัชนีของระดับคุณภาพกล้ ามเนื ้อ โดยสังเกตจากภาพกล้ ามเนื ้อเรกตัส ฟี เมอร์ ริส (rectus
femoris) และกล้ ามเนื ้อวาสตัส แลเธอรัลลิส (vastus lateralis) บริ เวณต้ นขา จากการตรวจวินิจฉัยโรคด้ วย
คลื่นเสียงความถี่สงู (อัลตราซาวด์) ในระบบ B-mode คณะผู้จดั ทำได้ ทำการหาค่าเฉลี่ยพารามิเตอร์ เพื่อ
หาค่าความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ของกล้ ามเนื ้อกลุม่ ควอดริ เซ็บ ฟี เมอร์ ริส (Quadriceps
femoris หรื อ QF) และผู้เข้ าร่วมการววิจยั จะได้ รับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 5 อย่าง ได้ แก่ sit-up,
supine-up, sit-to-stand, 5-m maximal walk และ 6-min walk

ผลการวิจัย
ค่าความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อนของกล้ ามเนื ้อกลุม่ ควอดริ เซ็บ ฟี เมอร์ ริส (QF EI) ของทัง้
สองกลุม่ ลดลงอย่างมีนยั สำคัญหลังจากการฝึ ก (กลุม่ เดิน ลดจาก 69.9±7.4 a.u. เป็ น 61.7±7.0 a.u.,
กลุม่ เดินและฝึ กด้ วยแรงต้ าน ลดจาก 64.0±9.5 a.u. เป็ น 51.1±10.0 a.u.; P<0.05) ซึง่ แสดงให้ เห็นถึง
ระดับคุณภาพของกล้ ามเนื ้อที่ปรับตัวดีขึ ้น ความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อนของกล้ ามเนื ้อกลุม่ ควอดริ
เซ็บ ฟี เมอร์ ริส (QF EI) ของกลุม่ เดินและออกกำลังกายลดลงมากกว่ากลุม่ เดินเพียงอย่างเดียว การทดสอบ
สรรถภาพร่างกายโดยการ sit-up ของทังสองกลุ ้ ม่ และการ sit-to-stand และ 5-min maximal walk ของ
กลุม่ เดินเพียงอย่างเดียวพัฒนามากขึ ้นอย่างเห็นได้ ชดั

สรุ ปผลการวิจัย
จากผลการวิจยั แสดงให้ เห็นว่าการเข้ ารับการออกกำลังกายส่งผลต่อการลดลงของค่าความเข้ ม
ของสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ของกล้ ามเนื ้อต้ นขาบางส่วน ยิ่งไปกว่านันการออกกำลั
้ งกายด้ วยแรงต้ านที่
บ้ านเพิ่มจากการเดินเพียงอย่างเดียวส่งผลให้ คา่ ความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ลดลงมากกว่า
เดิม

คำสำคัญ
- ความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อน (Echo intensity หรื อ EI)
- การออกกำลังกายด้ วยแรงต้ านที่บ้าน (Home-based resistance training)
- ระดับของกล้ ามเนื ้อ (Muscle quality)
- การเดิน (Walking)
- การบันทึกด้ วยคลื่นเสียงความถี่สงู หรื ออัลตราซาวด์ (Ultrasonography)

ความเป็ นมาของปั ญหา


มวลและประสิทธิภาพในการทำงานของกล้ ามเนื ้อลายลดลงตามอายุไขของมนุษย์ ซึง่ เป็ นการสูญเสียมวล
และความแข็งแรงของกล้ ามเนื ้อลาย หรื อที่ร้ ูจกั ในชื่อภาวะมวลกล้ ามเนื ้อน้ อย (Sarcopenia) อันเป็ นผล
เนื่องมาจากความชราและการสะสมเนื ้อเยื่อไขมันในกล้ ามเนื ้อลายที่มากขึ ้น กล่าวคือการเพิ่มขึ ้นของการ
สะสมไขมันในมัดกล้ ามเนื ้อ (Intramuscular หรื อ IMF) โดยสามารถประเมินได้ จากการตรวจด้ วยเครื่ อง
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ความเร็วสูง (Computed tomography หรื อ CT) และการตรวจด้ วย
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Magnetic resonance imaging หรื อ MRI) ซึง่ ทังสองวิ
้ ธีนี ้สามารถแสดงผลตรวจของ
ระดับคุณภาพของกล้ ามเนื ้อที่แย่ ความบกพร่องทางกายภาพและกระบวนการเผาผลาญทางเคมีของ
ร่างกาย (เมตาบอลิซมึ ) ที่เป็ นผลเนื่องมาจากความชรานันได้ ้ รับการศึกษาและพิสจู น์มาแล้ วในงานวิจยั
ก่อนหน้ านี ้เป็ นจำนวนมาก อย่างไรก็ตามมีเพียงไม่กี่งานวิจยั เท่านันที ้ ่ให้ ความสำคัญกับบทบาทของการ
เพิ่มขึ ้นของไขมันในมัดกล้ ามเนื ้อ (IMF) ที่สง่ ผลต่อปั ญหานี ้ ยิ่งไปกว่านันการเพิ
้ ่มขึ ้นของไขมันในมัดกล้ าม
เนื ้อ (IMF) ที่มากเกินไปถูกวิจยั แล้ วว่าจะส่งผลให้ ร่างกายมีความแข็งแรงน้ อยลง ความสามารถในการก้ าว
เดินแย่ลง และก่อให้ เกิภาวะดื ้อต่ออินซูลิน (Insulin resistance) งานวิจยั เหล่านี ้บ่งบอกถึงความยาก
ลำบากในการดำรงชีวิตอย่างอิสระและภาวะอ้ วนลงพุง (Metabolic syndrome) ที่อาจเกิดขึ ้นเนื่องมาจาก
ระดับของกล้ ามเนื ้อที่แย่ลง ดังนันวิ
้ ธีการที่สามารถปฏิบตั ิได้ จริ งและมีประสิทธิภาพเพื่อการพัฒนาระดับ
คุณภาพของกล้ ามเนื ้อและการลดไขมันที่สะสมในมัดกล้ ามเนื ้อสำหรับผู้สงู วัยจึงจำเป็ นอย่างยิ่ง

การออกกำลังกายโดยฝึ กความอึดถูกพิสจู น์แล้ วว่าสามารถกระตุ้นการเพิ่มขนาดของกล้ ามเนื ้อและการ


พัฒนาการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด ซึง่ จะเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานทางกายภาพของร่างกาย
โดยรวมในผู้สงู อายุ นอกจากนี ้ยังมีงานวิจยั ที่สนับสนุนว่าการออกกำลังกายช่วยลดการสะสมไขมันในมัด
กล้ ามเนื ้อในวัยกลางคนและผู้สงู วัยอีกด้ วย การเดินและการออกกำลังกายด้ วยแรงต้ านที่บ้านมีความง่าย
และสามารถให้ ผ้ สู งู อายุปฏิบตั ิได้ จริง โดยฉพาะอย่างยิ่งการเดินนันถู
้ กแสดงให้ เห็นแล้ วว่ามีประสิทธิภาพที่
จะพัฒนาการทำงานของร่างกาย การทำงานของอินซูลิน และลดไขมันหน้ าท้ องได้ จริ ง ก่อนหน้ านี ้ Ryan
และคณะได้ ประเมินผลของการเดินและการควบคุมอาหารที่มีตอ่ การสะสมไขมันในมัดกล้ ามเนื ้อในผู้สงู วัย
เพศหญิง ที่เป็ นโรคอ้ วน โดยใช้ การตรวจด้ วยเครื่ องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ความเร็ วสูง (CT) พวกเขาแสดงให้
เห็นถึงการสะสมไขมันในมัดกล้ ามเนื ้อ (IMF) ที่ลดลงหลังจากที่ผ้ เู ข้ าร่วมการวิจยั เดินและควบคุมอาหารไป
ได้ 6 เดือน ดังนันในงานวิ
้ จยั นี ้คณะผู้จดั ทำจึงตังสมมติ
้ ฐานว่าการทำกิจกรรมทางกายมากขึ ้น (นัน่ คือ การ
เดิน) จะสามารถพัฒนาระดับคุณภาพของกล้ ามเนื ้อได้ แต่อย่างไรก็ตามผลของการเดินออกกำลังกายในผู้
สูงวัยที่มีผลต่อระดับคุณภาพของกล้ ามเนื ้อยังไม่เป็ นที่เข้ าใจแน่ชดั
การออกกำลังกายโดยทังฝึ ้ กความอึด (Traditional endurance training) และฝึ กด้ วยแรงต้ าน
(Resistance training) ถูกแสดงให้ เห็นว่าสามารถพัฒนาระดับคุณภาพของกล้ ามเนื ้อของผู้สงู วัยได้ จริ ง
วิจยั ของ Wilhelm และคณะสรุปว่าการออกกำลังกายด้ วยการฝึ กทังความแข็ ้ งแรงและความอดทนพร้ อม
กันจะช่วยเพิ่มความหนาของกล้ ามเนื ้อและช่วยลดค่าความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ที่สะท้ อนให้
เห็นถึงการสะสมไขมันในมัดกล้ ามเนื ้อ (IMF) และเนื ้อเยื่อเกี่ยวพัน ค่าความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อน
(EI) ของกล้ ามเนื ้อลายที่สงู จะทำให้ ระดับคุณภาพของกล้ ามเนื ้อลดลง การวิจยั ก่อนหน้ านี ้ได้ แสดงให้ เห็น
แล้ วว่ามีความเกี่ยวพันระหว่างค่าความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ของกล้ ามเนื ้อกับปริ มาณ
เนื ้อเยื่อไขมันในการตรวจตัวอย่างชิ ้นกล้ ามเนื ้อ นอกจากนี ้เนื ้อเยื่อเกี่ยวพันและเนื ้อเยื่อเส้ นใยก็สามารถ
สะท้ อนให้ เห็นถึงค่าความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ของกล้ ามเนื ้ออีกด้ วย Akima และคณะได้
ทำการวิจยั แล้ วว่าค่าความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ของกล้ ามเนื ้อมีความสัมพันธ์กบั ระดับไขมัน
ที่ตรวจวัดได้ โดย H magnetic resonance spectroscopy (MRS) และปริ มาณไขมันที่สะสมในมัดกล้ าม
เนื ้อ (IMF) ที่ตรวจวัดได้ โดยการตรวจด้ วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) ดังนันความเข้้ มของสัญญาณเสียง
สะท้ อน (EI) จะสะท้ อนให้ เห็นถึงระดับไขมันบริ เวณรอบเซลล์กล้ ามเนื ้อ จากการสังเกตนี ้จึงสรุปได้ วา่ การ
ออกกำลังด้ วยการเดินพร้ อมกับการฝึ กด้ วยแรงต้ านสามารถพัฒนนาระดับคุณภาพของกล้ ามเนื ้อได้ โดย
วัดจากการลดลงของไขมันที่สะสมในมัดกล้ ามเนื ้อ (IMF) และการวิจจัยของ Akima และคณะยังได้ พบว่า
ปริ มาณไขมันที่สะสมในมัดกล้ ามเนื ้อ (IMF) ที่สามารถตรวจได้ จากการตรวจด้ วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
แปรผกผันกับกับขนาดกล้ ามเนื ้อ (r = -0.67 to -0.59, P < 0.05) ซึง่ แสดงให้ เห็นว่าผู้ที่มีขนาดกล้ ามเนื ้อที่
ยิ่งใหญ่กว่าก็จะมีปริมาณไขมันที่สะสมในมัดกล้ ามเนื ้อ (IMF) ยิ่งน้ อยกว่าด้ วย เมื่อการพิจารณาผลการจิ
วัยที่กล่าวมา จึงได้ ข้อสรุปว่าการเพิ่มขนาดของกล้ ามเนื ้อเป็ นกุญแจสำคัญในการลดปริ มาณไขมันที่สะสม
ในมัดกล้ ามเนื ้อ (IMF) และการออกกำลังกายด้ วยการเดินพร้ อมกับการฝึ กด้ วยแรงต้ านจะสามารถช่วยลด
ปริ มาณไขมันที่สะสมในมัดกล้ ามเนื ้อ (IMF) ได้ การออกกำลังกายด้ วยแรงต้ านที่บ้านเหมาะสำหรับผู้ที่
ประสบกับภาวะมวลกล้ ามเนื ้อน้ อย (Sarcopenia) เนื่องจากได้ รับการพิสจู น์แล้ วว่าไม่ใช่แค่สามารถเพิ่ม
ความแข็งแรง และความสามารถในการทำงาน แต่ยงั สามารถเพิ่มขนาดของกล้ ามเนื ้อได้ อีกด้ วย ดังนัน้
คณะผู้จดั ทำจึงตังสมมติ
้ ฐานว่าการออกกำลังกายโดยการเดินพร้ อมกับการฝึ กด้ วยแรงต้ านที่บ้าน จะช่วย
ลดปริ มาณไขมันที่สะสมในมัดกล้ ามเนื ้อ (IMF) และจะช่วยพัฒนาระดับคุณภาพกล้ ามเนื ้อได้ มากกว่าการ
เดินเพียงอย่างเดียว การวิจยั นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อเปรี ยบเทียบผลของการเดินเพียงอย่างเดียวกับการเดิน
พร้ อมกับการฝึ กด้ วยแรงต้ านที่บ้าน ที่มีตอ่ ระดับคุณภาพกล้ ามเนื ้อของกล้ ามเนื ้อต้ นขาในผู้สงู อายุ

กระบวนการการวิจยั
การออกแบบการทดลองและกระบวนการการวิจัย
การวิจยั นี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของวิชาการส่งเสริ มสุขภาพสำหรับอาสาสมัคร ที่จงั หวัดนาโงย่า (Nagoya
City) ตังแต่
้ ปีค.ศ.2014 ถึงปี ค.ศ.2015 ผู้เข้ าร่วมการวิจยั ทุกคนทราบข่าวสารการวิจยั นี ้จากนิตยาสาร
ประชาสัมพันธ์หรื อเว็บไซต์ จากนันพวกเขาก็
้ ทำการสมัครเป็ นผู้เข้ าร่วมงานวิจยั นี ้ด้ วยความสมัครใจของ
ตนเอง วิชานี ้ประกอบด้ วยภาคการแนะนำเบื ้องต้ น (สัปดาห์ที่ 1) ภาคการตรวจวัด (สัปดาห์ที่ 2 และ 12)
การบรรยายเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ (สัปดาห์ที่ 4, 6, 8 และ 10) และการนำเสนอผลจากการตรวจวัด
(สัปดาห์ที่ 13) คณะผู้จดั ทำนัดพบกับผู้เข้ าร่วมการวิจยั อย่างน้ อยหนึง่ ครัง้ ต่อทุก 2 สัปดาห์ การนัดพบครัง้
แรกคณะผู้จดั ทำกล่าวถึงจุดประสงค์และความสำคัญของการวิจยั อธิบายกระบวนการการทดลองทังหมด ้
รวมถึงขันตอนการฝึ
้ กที่เฉพาะเจาะจงและเทคนิคการตรวจวัดต่าง ๆ

ผู้เข่าร่วมการวิจยั ทุกคนได้ สง่ หนังสือแสดงความยินยอมเข้ าร่วมการวิจยั ก่อนปฏิบตั ิการทดลองผู้


เข้ าร่วมได้ รับมอบหมายให้ ออกกำลังกายตามที่กำหนด โดยแบ่งเป็ นสองกลุม่ คือ กลุม่ เดินเพียงอย่างเดียว
และกลุม่ เดินพร้ อมกับฝึ กด้ วยแรงต้ านที่บ้าน เป็ นเวลาระยะ 10 สัปดาห์ ผู้เข้ าร่วมการวิจยั บันทึกการออก
กำลังกายของตนเองลงบนกระดาษบันทึก การวิจยั นี ้ถูกออกแบบให้ เป็ นการวิจยั กลุม่ ทดลองแบบไม่มีการ
สุม่ ผู้เข้ าร่วมวิจยั ทุกคนจะต้ องได้ รับการพิจารณาในทางปฏิบตั ิ โดยการออกกำลังกายท่าที่เหมือนกัน ผู้เข้ า
ร่วมวิจยั กลุม่ แรกได้ ถกู จัดให้ เป็ นกลุม่ เดินเพียงอย่างเดียว (กลุม่ เดิน) ในปี ค.ศ.2014 และผู้เข้ าร่วมการวิจยั
กลุม่ ที่สองถูกจัดให้ เป็ นกลุม่ เดินและออกกำลังกายด้ วยแรงต้ านที่บ้าน (กลุม่ เดินและฝึ กด้ วยแรงต้ าน) ใน
ปี ค.ศ.2015 ระหว่างการเข้ าร่วมการวิจยั ผู้เข้ าร่วมการวิจยั ทุกคนได้ รับคำสัง่ ให้ หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลง
อาหารที่ทานและกิจกรรมนันทนาการ เช่น การเดิน การวิ่ง การยืดเส้ น ก่อนและหลังการออกกำลังกายผู้
เข้ าร่วมทุกคนได้ รับการอัลตราซาวด์กล้ ามเนื ้อลายและทดสอบสมรรถภาพทางกายในห้ องปฏิบตั ิการของ
คณะผู้จดั ทำ

ผู้เข้ าร่ วมการวิจัย


เกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้ าร่วมการวิจยั มีดงั นี ้ 1) อาศัยอยูท่ ี่จงั หวัดนาโงย่า, 2) มีอายุ 65 ปี ขึ ้นไป, 3) ไม่มีโรค
ประจำตัว (เช่น โรคหัวใจ โรคระบบทางเดินหายใจ ความดันโลหิตสูง โรคกระดูกและข้ อ ), 4) สามารถออก
กำลังกายทุก ๆ วันได้ , 5) ไม่ได้ ออกกำลังกายเป็ นประจำในปั จจุบนั คณะผู้จดั ทำได้ ทำแบบสอบถามและ
การสัมภาษณ์ในสัปดาห์แรกเพื่อกำหนดเงื่อนไขของผู้เข้ าร่วมก่อนได้ รับการออกกำลังกายและความ
สามารถในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละวัน ไม่มีผ้ เู ข้ าร่วมวิจยั คนใดได้ รับการยกเว้ นจากข้ อกำหนดข้ าง
ต้ น ผู้สงู อายุสขุ ภาพดีทงเพศหญิ
ั้ งและเพศชายทังสิ ้ ้น 79 คน ได้ รับเลือกให้ เข้ าร่วมในงานวิจยั นี ้ ผู้เข้ าร่วม
งานวิจยั 15 คนปฏิบตั ิไม่สำเร็จทังการออกกำลั
้ งกาย 10 สัปดาห์และการสอบวัดสมรรถภาพทางกาย
อย่างไรก็ตามไม่มีผ้ ใู ดได้ รับบาดเจ็บหรื อป่ วย จากผู้เข้ าร่วมการวิจยั 64 คนที่ปฏิบตั ิสำเร็ จ มี 31 คนที่อยูใ่ น
กลุม่ เดิน (เพศชาย 16 คนและเพศหญิง 15 คน; อายุ 72±5 ปี , ความสูง 159±8 ซม., น้ำหนัก 56±10 กก.,
BMI 22±3 กก./ม .2) ก่อนเข้ าร่วมงานวิจยั จุดประสงค์ของการวิจยั กระบวนการการวิจยั และความเสี่ยงที่
อาจเกิดขึ ้นถูกอธิบายและทำเปป็ นลายลักษณ์อกั ษรให้ ผ้ เู ข้ าร่วมการวิจยั ทุกคน การทดสอบสมรรถภาพ
ทางกายได้ รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการพิจารณาจริ ยธรรมการวิจยั ในคนประจำศูนย์วิจยั สุขภาพ
มหาวิทยาลัยนาโงย่า (หมายเลขการอนุมตั ิ: 26-13, 27-9) และดำเนินการตามหลักการทางจริ ยธรรมที่ระบุ
ไว้ ในปฏิญญาเฮลซิงกิ
โครงการฝึ กอบรม
โปรแกรมการเดินดำเนินโดยทังกลุ ้ ม่ เดินและกลุม่ เดินพร้ อมกับฝึ กด้ วยแรงต้ าน ซึง่ ต้ องปฏิบตั ิ
มากกว่า 2 เซทต่อสัปดาห์ การเดินต่อเนื่อง 30 นาทีโดยไม่หยุดพักนับเป็ น 1 เซท นอกจากนี ้ผู้เข้ าร่วมการ
วิจยั จะต้ องเดินโดยเฉลี่ย 10,000 ก้ าวต่อวัน (ทังสิ
้ ้น 70,000 ก้ าวต่อสัปดาห์) หากการเดินของผู้เข้ าร่วมงาน
วิจยั เกิน 10,000 ต่อวันโดยไม่รวมการเดินออกกำลังกายของงานวิจยั นี ้ ผู้เข้ าร่วมจะต้ องหาโอกาสเดิน
มากกว่า 2 เซทต่อสัปดาห์ ในกรณีนี ้ผู้เข้ าร่วมก็จะไม่กงั วลกับจำนวนก้ าวที่ต้องทำให้ ได้ ตามเป้าหมาย ผู้เข้ า
ร่วมทุกคนเดินตามความเร็วปกติของตนเองและต้ องใส่เครื่ องนับก้ าว (PD-635, บริ ษัททานิต้า (TANITA),
โตเกียว, ประเทศญี่ปน) ุ่ โดยติดแนบกับกึ่งกลางด้ านหน้ าของเอวในขณะที่ทำกิจกรรมในแต่ละวันตังแต่ ้ ตื่น
นอนในตอนเช้ าจนกระทัง่ เข้ านอนตอนกลางคืน เป็ นระยะเวลา 10 สัปดาห์ เครื่ องนับก้ าวประเภทนี ้มีความ
น่าเชื่อถืออย่างมากและถูกใช้ กนั อย่างแพร่หลายในการวัดจำนวนก้ าวที่เดิน
กลุม่ เดินพร้ อมฝึ กด้ วยแรงต้ านจะต้ องออกกำลังกายด้ วยแรงต้ านที่บ้านอย่างน้ อย 3 ครัง้ ต่อ
สัปดาห์ในระยะเวลา 10 สัปดาห์ของการออกกำลังกาย คณะผู้จดั ทำนำการออกกำลังกายด้ วยแรงต้ านที่
บ้ านที่ถกู พัฒนาโดยองค์กรส่งเสริมสุขภาพและการออกกำลังกายของประเทศญี่ปนมาใช้ ุ่ ซึง่ สามารถ
ปฏิบตั ิได้ ที่บ้านและไม่ต้องใช้ อปุ กรณ์ออกกำลังกายโดยเฉพาะใด ๆ ผู้เข้ าร่วมการวิจยั ได้ รับการสอนเทคนิค
การออกกำลังกายที่ถกู ต้ องในสัปดาห์แรก จากนันผู ้ ้ เข้ าร่วมก็สามารถที่จะออกกำลังกายที่บ้านได้ โดยดูจาก
แผ่นดีวีดีที่มีตวั อย่างของการออกกำลังกาย ดนตรี ประกอบ รวมถึงคำอธิบายในจุดสำคัญ การออกกำลัง
กายด้ วยแรงต้ านที่บ้านประกอบไปด้ วย 5 ท่า ได้ แก่ chair stands, hip flexions, calf raises, lateral leg
raises และ sit-ups. Chair stands ปฏิบตั ิโดยยืนและนัง่ เก้ าอี ้ซ้ำ ๆ Hip flexions ปฏิบตั ิโดยงอเข่าแล้ วยก
ขาขึ ้นกระทัง่ ข้ อต่อสะโพกทำมุม 90º Calf raises ปฏิบตั ิโดยเขย่งปลายเท้ าขึ ้น ค้ างไว้ จากนันกลั ้ บมายืน
ปกติ Lateral leg raises ปฏิบตั ิโดยกางขาด้ านข้ างออกประมาณ 30º Sit-ups ปฏิบตั ิโดยนอนราบกับพื ้น
งอเข่าขึ ้นมาประมาณ 80º ไขว้ แขนไว้ บนหน้ าอก แล้ วยกศีรษะและสะบักไหล่ขึ ้น hip flexions, calf
raises และ lateral leg raises ทำในท่ายืนโดยจับเก้ าอี ้เพื่อช่วยในการทรงตัว ผู้เข้ าร่วมทำทุกท่าท่าละ 45
ครัง้ และอาจร้ องเพลงไปด้ วยเพื่อป้องกันการกลันหายใจ ้ การออกกำลังกายด้ วยแรงต้ านทังหมดใช้
้ เวลา 30
นาทีโดยประมาณ ระหว่างการทำแต่ละท่า ผู้เข้ าร่วมควรใช้ เวลาพัก 30 วินาที คณะผู้จดั ทำแนะนำให้ ผ้ เู ข้ า
ร่วมบันทึกการออกกำลังกายโดยใช้ กระดาษบันทึกที่จดั เตรี ยมไว้ นอกจากนี ้คณะผู้จดั ทำยังกำหนดให้ ผ้ เู ข้ า
ร่วมบันทึกสภาพร่างกาย จำนวนก้ าวต่อวัน ประเภทและความถี่ของกิจกรรมปกติในชีวิตประจำวัน คณะผู้
จัดทำจะตรวจสอบว่าผู้เข้ าร่วมออกกำลังกายเสร็ จสิ ้นตามที่กำหนด โดยการสัมภาษณ์ทกุ ๆ 2 สัปดาห์

การตรวจวัดโดยอัลตราซาวด์
ความหนาของไขมันใต้ ผิวหนัง, ความหนาของกล้ ามเนื ้อ, และความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อน
(EI) ของต้ นขาวัดได้ จากการอัลตราซาวด์ เช่นเดียวกับในการศึกษาก่อนหน้ านี ้ของคณะผู้จดั ทำ คณะผู้จดั
ทำอัลตราซาวด์ผ้ เู ข้ าร่วมงานวิจยั หลังจากพัก 15 นาที เพื่อหลีกเลี่ยงผลจากการเปลี่ยนแปลงของของเหลว
ในร่างกายที่เกิดจากการเกร็งของกล้ ามเนื ้อ โดยผู้เข้ าร่วมต้ องนอนลงบนเตียงในท่าหงาย เหยียดขาตรง เรา
ตรวจวัดส่วนหน้ าและด้ านข้ างของต้ นขาขวาที่ตอ่ กับจุดกึ่งกลางระหว่างกระดูกต้ นขา greater trochanter
และ lateral condyle ใช้ เครื่ องตรวจวินิจฉัยโรคด้ วยคลื่นเสียงความถี่สงู (อัลตราซาวด์) ระบบ B-mode
(LOGIQ e, บริษัทจีอี เฮลท์แคร์ , ดูลทู , รัฐจอร์ เจีย, ประเทศสหรัฐอเมริ กา) ที่มาพร้ อมกับ linear array
probe ซึง่ มีความยาว 3.8 ซม. ความถี่คลื่น 8–10 เมกะเฮิร์ต เพื่อหาภาพกล้ ามเนื ้อ (รูปที่ 1) ด้ วยด้ วยข้ อมูล
พารามิเตอร์ ตอ่ ไปนี ้: ความถี่คลื่น 10 MHz, gain 70 dB, ความลึก 4.0 ถึง 6.0 ซม., จุดโฟกัส 1 (ด้ านบน
ของภาพ) ความลึกถูกกำหนดโดยขึ ้นอยูก่ บั ผู้เข้ าร่วมแต่ละคน โดยทัว่ ไปมากสุด 6.0 ซม. และตังอยู ้ ใ่ น
ระดับเดียวกันก่อนและหลังระยะเวลาการออกกำลังกาย เจลที่ละลายน้ำได้ ถกู ทาลงบนหัวสแกนของ
probe และต้ องใช้ ความระมัดระวังเป็ นอย่างมากในการตรวจเพื่อป้องกันการเสียรูปของกล้ ามเนื ้อ ภาพ
จากการแสกนของกล้ ามเนื ้อแต่ละส่วนถูกจัดเก็บในรูปแบบ DICOM จากนันส่ ้ งต่อไปยังเครื่ องคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ ImageJ (สถาบันสุขภาพแห่งชาติ, เบเทสดา, รัฐแมรี่ แลนด์, ประเทศสหรัฐอเมริ กา, เวอร์ ชนั่
1.46) ถูกใช้ สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ความหนาของไขมันใต้ ผวิ หนังสามารถระบุได้ จากระยะห่างระหว่าง
ชันหนั
้ งแท้ (dermis) กับชันบนสุ้ ดของเวนทรัล ฟาสเซีย (ventral fascia) ความหนาของกล้ ามเนื ้อ (MT)
เรกตัส ฟี เมอร์ ริส (rectus femoris) และกล้ ามเนื ้อวาสตัส แลเธอรัลลิส (vastus lateralis) หาได้ จากระยะ
ห่างระหว่างขอบเนื ้อเยื่อใต้ ผิวหนัง (subcutaneous fascia) กับกระดูกต้ นขา (femur) ความหนาของไขมัน
ที่สะสมอยูใ่ ต้ ผิวหนัง (SFT QF) และความหนาของกล้ ามเนื ้อ (MT QF) ของของกล้ ามเนื ้อกลุม่ ควอดริ เซ็บ
ฟี เมอร์ ริส (QF) สามารถคำนวณได้ จากสมการต่อไปนี ้

ความหนาของไขมั นที ่ สะสมอยู ่ ใต้ ผิ วหนั ง ( SFT QF )

ความหนาของไขมั นใต้ ผิ วหนั งของกล้ ามเนื ้ อต้ นขาด้ านหน้ า+ความหนาของไขมั นใต้ ผิ วหนั งของกล้ ามเนื ้ อต้ นขาด้ านข้
¿
2

ความหนาของกล้ ามเนื ้ อ ( MT QF )

ความหนาของกล้ ามเนื ้ อเรกตั ส ฟี เมอร์ ริ ส ( RF ) +วาสตั ส อิ นเตอร์ มี เดี ยส ( VI )+วาสตั ส แลเธอรั ลลิ ส ( VL) +วาสตั ส อิ
¿
4

ความเข้ มของสัญญาณเสียงสะท้ อน (Echo intensity) สามารถประเมินได้ จากระดับความเข้ มของ


สีเทาโดยใช้ ซอฟต์แวร์ ImageJ มีหน่วยเป็ น arbitrary unit (a.u.) ค่าเฉลี่ยของค่าความเข้ มสัญญาณเสียง
สะท้ อนในกล้ ามเนื ้อเรกตัส ฟี เมอร์ ริส (EI RF) และกล้ ามเนื ้อวาสตัส แลเธอรัลลิส (EI VL) ถูกคำนวณ
สำหรับแต่ละภาพ และค่าเฉลี่ยของค่าความเข้ มสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ทังสามภาพของแต่
้ ละกล้ าม
เนื ้อจะถูกนำไปใช้ ในการวิเคราะห์ในอนาคต สามารถคำนวณ EI QF ได้ โดยใช้ สมการต่อไปนี ้

EI QF

ค่ าความเข้ มสั ญญาณเสี ยงสะท้ อนในกล้ ามเนื ้ อเรกตั ส ฟี เมอร์ ริ ส ( EI RF ) +ในกล้ ามเนื ้ อวาสตั ส แลเธอรั ลลิ ส (EI VL)
¿
2

วิธีการนี ้ถูกคิดค้ นโดยขึ ้นโดย Caresio และคณะ ซึง่ เป็ นตัวรับรอบความน่าเชื่อถือของวิธีการใน


การวิจยั นี ้ คณะผู้จดั ทำคำนวณสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในชัน้ (Intraclass Correlation Coefficient :
ICC) ข้ อผิดพลาดมาตรฐานของการวัด (SEM) และค่าน้ อยที่สดุ ที่เห็นการเปลี่ยนแปลง (MDC) ของค่า
ความเข้ มสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ของผู้เข้ าร่วมงานวิจยั โดยสุม่ เลือก 20 คน
ICC มีคา่ 0.99 สำหรับ RF และ 0.96 สำหรับ VL (ทุก P < 0.01), SEM มีคา่ 0.73 สำหรับ RF และ 1.86
สำหรับ VL, และ MDC มีคา่ 7.77 สำหรับ VL และ 8.34 สำหรับ VL

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ผู้เข้ าร่วมการวิจยั ทำการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย 5 อย่าง ได้ แก่ sit-up, supine-up,
sit-to-stand, 5-m maximal walk และ 6-min walk ในโรงยิม คณะผู้จดั ทำเลือกการทดสอบสมรรถภาพ
ร่างกายนี ้เพราะทัง้ 5 แบบถูกใช้ หลายครัง้ ในงานวิจยั อื่นในฐานะดัชนีความแข็งแรงของกล้ ามเนื ้อขาและ
การค้ นพบของงานวิจยั หลายชิ ้นก็แสดงให้ เห็นว่าความเข้ มสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) เกี่ยวข้ องกับความ
สามารถในการทำงานของกล้ ามเนื ้อและความคล่องตัว ในการทดสอบ sit-up ผู้เข้ าร่วมนอนหงาย เข่างอ
ประมาณ 80° เท้ าราบกับพื ้น ผู้เข้ าร่วมทำการซิทอัพให้ มากที่สดุ เท่าที่จะทำได้ เป็ นเวลา 30 วินาทีโดยมีแขน
ไขว้ กนั ที่บนหน้ าอก ผู้ตรวจการสอบช่วยกดเท้ าของผู้เข้ าร่วมให้ ราบกับพื ้นระหว่างการทดสอบ การทดสอบ
supine-up มีการจับเวลาที่ผ้ เู ข้ าร่วมปฏิบตั ิเร็ วที่สดุ เท่าที่จะทำได้ โดยใช้ รูปแบบใดก็ได้ ที่ผ้ เู ข้ าร่วมต้ องการ
การทดสอบ sit-to-stand มีการจับเวลาที่ใช้ ในการนัง่ และยืนขึ ้นจากเก้ าอี ้ 10 ครัง้ เร็ วที่สดุ เท่าที่จะทำได้
โดยไขว้ อขนไว้ บนหน้ าอก ความสูงของเก้ าอี ้คือ 40 ซม. จากพื ้น การทดสอบ 5-in maximal walk เทปสี่
เส้ นจะถูกแปะขนานกันบนพื ้น ที่ระยะ 1 ม., 6 ม. และ 7 ม. (เส้ นชัย) จากเส้ นเริ่ มต้ น (0 ม.) ผู้เข้ าร่วมเดิน
จากเส้ นเริ่ มต้ นไปจนถึงเส้ นชัย ผู้ตรวจการสอบกำหนดเวลาระหว่างเส้ น 1 ม. และ 6 ม. ในขณะที่เดินไป
พร้ อมกับผู้เข้ าร่วม การทดสอบ 6-min walk มีการวัดระยะทางที่ผ้ เู ข้ าร่วมเดินได้ ในระยะเวลา 6 นาที ใน
สนามวงกลม 108 ม. มาร์ คเกอร์ ถกู วางไว้ ตามเส้ นทางทุก ๆ 6 เมตรเพื่อเป็ นจุดสังเกตและผู้ตรวจการสอบ
นับจำนวนรอบเดินครบ คณะผู้จดั พูดให้ กำลังใจผู้เข้ าร่วมเพื่อให้ เกิดความพยายามอย่างเต็มที่ การ
ทดสอบ sit-up, sit-to-stand และ 6-min walk ทำการทดสอบเพียงครัง้ เดียว การทดสอบ supine-up และ
5-min maximum walk ทำการทดสอบสองครัง้ และนำผลลัพธ์ที่ดีที่สดุ มาใช้ ในการวิเคราะห์ ค่า ICC (ICC,
2.1) สำหรับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย มีความน่าเชื่อถือในระดับปานกลางจนถึงมีความน่าเชื่อถือ
ค่อนข้ างมาก (supine up, 0.85; sit-to-stand, 0.74; 5-m maximal walk, 0.65; 6-min walk, 0.77; P < 
0.05) MDC มีคา่ 1.15 สำหรับ supine up, 0.34 สำหรับ sit-to-stand, 0.21 สำหรับ 5-m maximal walk 5
ม. และ 25.92 สำหรับ 6-min walk ค่า ICC และ MDC วัดจากผู้สงู วัย 20 คนที่ได้ รับคัดเลือกจากชุมชน
เดียวกัน พวกเขาได้ รับการยืนยันว่ามีอายุและค่าดัชนีมวลกายตรงกับผู้เข้ าร่วมงานวิจยั นี ้ และได้ รับคำ
แนะนำในการทำการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 5 อย่างนี ้สองครัง้ ตามขันตอนเดี ้ ยวกันเพื่อยืนยันความ
น่าเชื่อถือของการทดสอบซ้ำ

การวิเคราะห์ ทางสถิติ
ค่าทังหมดในงานวิ
้ จยั นี ้มีรูปแบบเป็ น ค่าเฉลี่ย±ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความ
แปรปรวนสองทาง (เวลา×กลุม่ ) และการตรวจวัดค่าซ้ำ ๆ ถูกนำมาใช้ เปรี ยบเทียบความหนาของไขมันใต้
ผิวหนัง ความหนาของกล้ ามเนื ้อ ความเข้ มสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) และพารามิเตอร์ การทำงานของ
กล้ ามเนื ้อ การทดสอบ Bonferroni post-hoc ถูกใช้ เพื่อระบุความแตกต่าง การทำ t-test ของศึกษาโดย
ไม่มีการจับคู่ ใช้ เพื่อเปรี ยบเทียบความแปรปรวนในการเปลี่ยนแปลงเปอร์ เซ็นต์ของความหนาไขมันใต้
ผิวหนัง ความหนาของกล้ ามเนื ้อ และความเข้ มสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ระหว่างทังสองกลุ ้ ม่ ค่า
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์ สนั (Pearson’s product-moment correlation coefficients) ถูกนำมาใช้
เพื่อกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงเปอร์ เซ็นต์ กำหนดระดับนัยสำคัญที่ P <0.05 การ
วิเคราะห์ทางสถิติทงหมดดำเนิ
ั้ นการโดยใช้ สถิติ IBM SPSS (เวอร์ ชนั่ 22.0 J; IBM ญี่ปน, ุ่ โตเกียว, ญี่ปน)
ุ่
ผลการวิจัย
ทังสองกลุ
้ ม่ บรรลุเป้าหมายความถี่ในการเดิน (กลุม่ เดิน: 2.8±1.6 ครัง้ ต่อสัปดาห์, กลุม่ เดินพร้ อมฝึ กด้ วย
แรงต้ าน: 3.0±2.0 ครัง้ ต่อสัปดาห์) ผู้เข้ าร่วมกลุม่ เดินพร้ อมฝึ กด้ วยแรงต้ านได้ ทำการออกกำลังกายด้ วยแรง
ต้ านที่บ้าน โดยมีคา่ เฉลี่ย 5.1±2.8 ครัง้ ต่อสัปดาห์ ผู้เข้ าร่วมได้ เดินประมาณ 11,000 ก้ าวในวันออกกำลัง
กายด้ วยการเดิน (กลุม่ เดิน: 11,473±2,683 ก้ าว, กลุม่ เดินพร้ อมฝึ กด้ วยแรงต้ าน: 11,035±2,324 ก้ าว)
จำนวนก้ าวในวันที่ไม่ได้ ออกกำลังกายด้ วยการเดินนันต่ำกว่ ้ าวันฝึ กเป็ นอย่างมาก (กลุม่ เดิน: 7,969±2,034
ก้ าว, กลุม่ เดินพร้ อมฝึ กด้ วยแรงต้ าน: 7,498±2,180 ขันตอน)
้ จำนวนก้ าวโดยเฉลี่ยต่อวันในช่วงระยะเวลา
การออกกำลังกาย 10 สัปดาห์คือ 9,117±2,360 ก้ าวสำหรับกลุม่ เดินเพียงอย่างเดียว และ 9,306±2,417
ก้ าวสำหรับกลุม่ เดินพร้ อมฝึ กด้ วยแรงต้ าน ซึง่ ค่าทังสองนี
้ ้มาได้ แตกต่างกันมากนัก

ความเข้ มสัญญาณเสียงสะท้ อน (EI) ของกล้ ามเนื ้อ เรกตัส ฟี เมอร์ ริส (RF), กล้ ามเนื ้อวาสตัส แลเธอรัลลิส
(VL) และควอดริเซ็บ ฟี เมอร์ ริส (QF) ลดลงอย่างเห็นได้ ชดั เมื่อเทียบกับก่อนการเข้ ารับการออกกำลังกาย
ความหนาของกล้ ามเนื ้อเรกตัส ฟี เมอร์ ริส (RF) เพิ่มขึ ้นในกลุม่ เดินพร้ อมฝึ กด้ วยแรงต้ าน ในขณะที่ความ
หนาของกล้ ามเนื ้อเรกตัส ฟี เมอร์ ริส (RF) และกล้ ามเนื ้อวาสตัส อินเตอร์ มีเดียสด้ านข้ าง (lateral VI) ลดลง
อย่างมีนยั สำคัญในกลุม่ เดินเพยงอย่างเดียวหลังจากเข้ ารับการออกกำลังกาย ความหนาของไขมันที่สะสม
อยูใ่ ต้ ผิวหนัง (SFT QF) ลดลงอย่างมากในกลุม่ เดินพร้ อมฝึ กด้ วยแรงต้ านหลังจากเข้ ารับการออกกำลังกาย
(P < 0.05) การเปลี่ยนแปลงเปอร์ เซ็นต์ของความหนาของกล้ ามเนื ้อและความเข้ มสัญญาณสะท้ อน (EI)
แสดงอยูใ่ นตารางที่ 1 การเปลี่ยนแปลงเปอร์ เซนต์ของความหนาของกล้ ามเนื ้อเรกตัส ฟี เมอร์ ริส , กล้ ามเนื ้อ
วาสตัส อินเตอร์ มีเดียสด้ านหน้ า, และความหนาของกล้ ามเนื ้อ (MT QF), ความเข้ มสัญญาณเสียงสะท้ อน
ของกล้ ามเนื ้อวาสตัส แลเธอรัลลิส (EI VL) และควอดริ เซ็บ ฟี เมอร์ ริส (EI QF) ระหว่างทังสองกลุ
้ ม่ มีคา่ ต่าง
กันมากอย่างชัดเจน

You might also like