You are on page 1of 8

แนวทางการรักษาภาวะไขมันในเลือดสูง

1. รักษาด้วยการรับประทานยา ผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงจะต้องพบแพทย์
เพื่อได้รับการตรวจประเมินระดับของไขมันซึ่งใช้ในการพิจารณาในการ
เลือกตัวยา และปริมาณของยา

2. รักษาด้วยวิธีที่ไม่รับประทานยา เช่น การออกกำลังกาย การปรับเปลี่ยน


พฤติกรรมในการดำเนินชีวิตประจำวัน การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ยงอื่น ๆ เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ โดยถ้าเลือกแนวทางการรักษาแบบไม่รับประทานยาจะต้องมี
การประเมินในระยะแรกทุก 6 สัปดาห์ จำนวน 2 ครัง้ หรือทุก 12 สัปดาห์
หลังจากการเริ่มรักษา ถ้าค่าของระดับของไขมันในเลือดยังไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มสูงขึน
้ ควรไปพบแพทย์ เนื่องจากอาจต้องใช้การ
รักษาด้วยการรับประทานยาร่วมด้วย

การออกกำลังกายสำหรับภาวะไขมันเลือดสูง

การออกกำลังกายทั่วไป (general exercise) สามารถเพิ่มระดับไข


มันดีได้เพียงเล็กน้อยในขณะที่การออกกำลังกายแบบแอโรบิกอย่าง
สม่ำเสมอ (aerobic training) สามารถลดระดับไขมันไม่ดีได้ 3-6
มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร และสามารถลดระดับไตรกลีเซอไรด์ได้ด้วย การ
ออกกำลังแบบมีแรงต้าน (resistance training) สามารถลดระดับไขมัน
ไม่ดีและไตรกลีเซอไรด์เช่นกัน แต่อย่างไรก็ตามการออกกำลังกายด้วย
แรงต้านนัน
้ ให้ผลในการลดระดับไขมันน้อยกว่าเมื่อเทียบกับการออก
กำลังกายแบบแอโรบิก (1)
ดังนัน
้ การออกกำลังกายแบบแอโรบิกจึงเป็ นรูปแบบการออกกำลัง
กายที่ดีที่สุดสำหรับการลดระดับไขมันในเลือด และควรออกกำลังกาย
สม่ำเสมอติดต่อกันอย่างน้อย 8 สัปดาห์  โดยมีหลักการของการออก
กำลังกายดังนี ้

1. ความหนักของการออกกำลังกาย (intensity) สำหรับภาวะไขมัน


ในเลือดสูง ควรออกกำลังกายด้วยความหนักระดับปานกลางถึง
หนักมาก ซึ่งสามารถวัดได้จากระดับความเหนื่อยขณะทำกิจกรรม
นัน
้ ๆ เป็ นคะแนนความเหนื่อย 0 – 10 โดยขณะพัก หรือขณะทำ
กิจกรรมนัน
้ ๆไม่ร้ส
ู ึกเหนื่อยเลย ระดับความเหนื่อยคือ 0 ระดับ
ความเหนื่อยสูงสุดคือระดับ 10 โดยการออกกำลังกายระดับปาน
กลางให้มีความเหนื่อยอยู่ที่ 3-4 และระดับหนักอยู่ที่ 5-7
2. จำนวนครัง้ หรือความถี่ของการออกกำลังกาย อย่างน้อย 3-5 ครัง้
ต่อสัปดาห์ ครัง้ ละไม่น้อยกว่า 30 นาที
3. ระยะเวลาการออกกำลังกาย ถ้าออกกำลังกายในระดับหนัก ควร
ออกอย่างน้อย 90 นาทีต่อสัปดาห์ หรือออกกำลังกายในระดับ
ปานกลางอย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์ จะมีผลสามารถช่วยเพิ่ม
ระดับไขมันดีได้ (4)

อย่างไรก็ตามการออกกำลังกายแบบอื่น ๆ ร่วมด้วย ส่งผลให้มีการ


ลดระดับไขมันในเลือดได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน
้ โปรแกรมการออ
กกกำลังกายที่เหมาะสมแสดงในตารางที่ 2
ตารางที่ 2 โปรแกรมการออกกำลังกายเพื่อลดระดับไขมันในเลือด (1)

ออกกำลังกายแบบแอโรบิก ออกกำลังกายโดยใช้แรง
ต้าน

รูปแบบ เป็ นการออกกำลังกายต่อ ออกกำลังกายโดยใช้แรง


เนื่องเป็ นเวลานานอย่างน้อย ต้านจาก น้ำหนักตัวหรือ
30 นาที โดยใช้กล้ามเนื้อมัด อุปกรณ์
ใหญ่ในการทำกิจกรรมนัน
้ ๆ

เช่น การเดิน, การวิ่ง, การปั่ น


จักรยาน, การว่ายน้ำ

ความ ระดับปานกลางถึงหนัก น้ำหนักระดับปานกลางที่


หนัก สามารถยกได้ 12-15 ครัง้
ต่อชุดเพื่อเพิ่มความทนทาน
ของกล้ามเนื้อ
น้ำหนักมากที่สามารถยกได้
8-10 ครัง้ ต่อชุดเพื่อเพิ่ม
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ

ระยะ อย่างน้อย 50 – 60 นาที/วัน จำนวน 2 – 4 ชุด/วัน


เวลา  
ความถี่ มากกว่า หรือเท่ากับ 5 2 – 3 วัน/สัปดาห์
วัน/สัปดาห์

เอกสารอ้างอิง

1. Riebe D, Ehrman KJ, Liguori G, Magal M, editor. ACSM’s


guidelines for exercise testing and prescription.
th
10  ed.  Philadalphia: Wolter Kluwer; 2017. p. 276-283

2. วิมล พันธุเวทย์. ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ. กรุงเทพ: โรงพิพม์แห่ง


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2559. หน้า 24-63.

3. Yi–heng L, Kwo-Chang Ueng, Jiann-Shing Jeng, Min-Ji Charng,


Tsung-Hsien Lin, Kuo-Liong Chien et al. Taiwan lipid guideline
for high risk patients. J Formos Med Assoc. 2017; 116: 217-248.

4. Mcgowan MP. Effect of exercise on dyslipidemia. In: Kwiterovich


PO The johns hopkins textbook of dyslipidemia. Philadalphia:
Wolter Kluwer; 2010. p. 258–264.

http://www.pt.mahidol.ac.th/knowledge/?
p=929&fbclid=IwAR1NHxYanr9IIddXAxaC30FYdW39sgqtd2iL4VgbA1aO
5WIXDq1tL3LGWNc
อาหารกันไข 0 มันในเลือดสูง

http://www.rtc.ac.th/www_km/07/0725/0725_01230752.pdf

การเลือกชนิดของอาหาร ก่อนจะกล่าวถึงชนิดของอาหาร อาจต้องกล่าวถึง


ปริมาณอาหารทีรับประทานก่อนเป็ นอันดับ แรก เนืองจากไขมันเป็ นแหล่ง
พลังงานสะสมทีดีทีสุด ให้พลังงานสูงทีสุดเมือเทียบกับสารอาหารชนิดอืน เมือเรา
ได้รับสารอาหารชนิดใดก็ตามเกินความต้องการของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็ น
คาร์โบไฮเดรตในรูปของ แป้ งและนําตาล หรือโปรตีนในรูปของเนือสัตว์ สาร
อาหารเหล่านีสามารถเปลียนไปอยู่ในรูปของไขมัน ได้2-3 ดังนัน การรับประทาน
อาหารแต่พอดีจึงเป็ นปั จจัยสําคัญอันดับต้นๆ และปฏิบัติตามได้ไม่ยากนัก

แนวคิดสําคัญอีกประการหนึง คือ ปริมาณไขมันทีรับประทานต่อวันอาจไม่


ส่งผลโดยตรงต่อการ เปลียนแปลงของชนิดไขมันในเลือดรวมถึงอาจไม่สัมพันธ์
โดยตรงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
แต่สิงทีดูจะส่งผลชัดเจน คือ ชนิดของกรดไขมันทีรับประทาน ดังนัน การ
เลือกชนิดของไขมันในอาหาร ทีรับประทานในแต่ละวันจึงเป็ นสิงสําคัญทีควรคํานึง
ถึง และควรหลีกเลียงไขมันชนิดทีก่อให้เกิดอันตราย ต่อสุขภาพ อาหารทีมีไขมัน
อันตรายดังกล่าว มีรายละเอียดดังนี

- อาหารทีประกอบด้วยกรดไขมันอิมตัว (saturated fatty acids) เช่น ไข


มันสัตว์ นํามันจาก สัตว์ ไข่แดง นม นํามันจากพืชบางชนิด เช่น นํามันปาล์ม
เป็ นต้น จากการศึกษาพบว่า อาหารทีมีส่วนประกอบของกรดไขมันชนิดนีเพิม
ความเสียงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด เลือด หากแทนทีอาหารทีมีกรดไขมัน
อิมตัวด้วยอาหารทีมีกรดไขมันไม่อิมตัวหลายตําแหน่ง (polyunsaturated fatty
acids) ในปริมาณทีให้พลังงานเท่ากัน จะช่วยลดระดับ คอเลสเตอรอลตัวร้าย
(LDL) รวมถึงช่วยลดความเสียงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดลงอีก ด้วย จึงมีคํา
แนะนําว่า ไม่ควรรับประทานทีประกอบด้วยไขมันอิมตัวมากกว่า 10% ของ
พลังงานทีควรได้รับต่อวัน อาหารทีประกอบด้วยกรดไขมันชนิดทรานส์ (tans-
fatty acids) ไขมันชนิดนีเกิดจากการ ผ่านกรรมวิธีทางเคมีให้มีความคงตัวดีขึน
ไม่เป็ นไข ไม่มีกลินหืน และทนความร้อนสูงได้ ซึงเป็ นการเพิมความสะดวกในกา
รนําไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ไขมันแปรรูปดังกล่าว ได้แก่ เนยเทียม มาการีน
เนยขาว (shortening) จึงพบไขมันชนิดนีได้มากในอาหาร จําพวกเบเกอรี ขนมอบ
คุกกี โดนัท ครีมเทียม อาหารจานด่วนหรือ fast food จาก การศึกษาพบว่า ไข
มันทรานส์เพิมความเสียงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็ นอย่าง มาก 7 จน
ได้ชือว่าเป็ นทีสุดของไขมันอันตราย ควรหลีกเลียงการรับประทานอาหารทีมี ส่วน
ประกอบของไขมันทรานส์ หรือไม่ควรเกิน 1% ของพลังงานทีได้รับต่อวัน
ส่วนอาหารทีควรเลือกรับประทาน คือ อาหารทีประกอบด้วยไขมันชนิดไม่
อิมตัวหลายตําแหน่ง (polyunsaturated fatty acids) ซึงพบมากในนํามันจาก
พืช เช่น นํามันถัวเหลือง นํามัน ดอกทานตะวัน นํามันมะกอก และนํามันจากปลา
ชนิดต่างๆ ไขมันชนิดนีส่งผลต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดน้อย กว่าไขมัน
อิมตัวดังทีได้กล่าวไปแล้วข้างต้น นอกจากนียังมีอาหารชนิดอืนๆ ทีถึงแม้จะไม่มี
ผลต่อระดับ ไขมันในเลือด แต่มีผลดีในแง่ของการลดโอกาสการเกิดโรคหัวใจและ
หลอดเลือด เช่น อาหารทีมีเส้นใย สูงหรือคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน (complex
carbohydrate) ซึงจะช่วย ควบคุมระดับนําตาลในเลือดได้ดีกว่า
คาร์โบไฮเดรตเชิงเดียว (simple carbohydrate) ผักและผลไม้รวมถึงถัวต่างๆ จํา
กัดปริมาณเกลือที

รับประทานต่อวัน (ไม่ควรมากกว่า 5 กรัม หรือ 1 ช้อนชา) และควรลด


ปริมาณการดืมเครืองดืมทีมีรส หวานเนืองจากเป็ นตัวการสําคัญทีทําให้เกิดภา
วะนําหนักเกินจนนําไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือดใน อนาคต บทสรุป ไขมันสูง
เป็ นโรคเรือรังทีต้องใช้ทังการรับประทานยาลดไขมัน การออกกําลังกายอย่างสมํา
เสมอ รวมถึงการเลือกรับประทานอาหารอย่างเหมาะสม การควบคุมปริมาณและ
ชนิดของไขมันในอาหารเป็ น ส่วนสําคัญทีช่วยให้เกิดการควบคุมระดับไขมันใน
เลือดรวมถึงป้ องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยกลุ่มนีได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ นอกจากนี ปริมาณโดยรวมของพลังงานทีได้รับต่อวันยังเป็ น ปั จจัย
ทีสําคัญอีกประการหนึง สรุปง่ายๆคือ ควรรับประทานอาหารโดยตังอยู่บนความ
สมดุลเพือให้ได้รับ ประโยชน์สูงสุดจากอาหารและได้รับโทษให้น้อยทีสุด เพราะคํา
กล่าวทีว่า รับประทานอะไรก็เป็ นเช่นนัน (You are what you eat) ยังคงเป็ น
จริงเสมอ

You might also like