You are on page 1of 2

การประเมินและการวินิจฉัย

1) การซักประวัติ
- ปั จจัยเสี่ยง ได้แก่ ความดันโลหิตสูง โรคไต โรคเบาหวาน
- อาการและอาการแสดง เช่น ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว เจ็บใต้ใช้โครงขวา บวม มี
การเพิ่มขึน
้ ของน้ำหนัก
2) การตรวจร่างกาย
2.1)การวัดความดันโลหิต

- ใช้cuff ยาว 1.5 เท่าของเส้นรอบวงแขน หรือกว้างมากกว่า 80% ของแขน และ


ถ้า mid arm circumference มากกว่า 33 cm ให้ใช้ขนาดใหญ่
- ให้ผู้รับบริการนั่งตามสบาย หลังพิงพนัก ไม่นั่งไขว้ขา พันตรงกลางของ cuff

ให้อยู่ตรงหรือแนวเดียวกับระดับ RA จุดกลางของ sternum ผ่อนคลาย หยุดพูด


ขณะวัด หากเดินมาให้นั่งพักประมาณ 10 นาทีก่อนวัด
2.2)ประเมินระดับ reflex มี 5 ระดับคะแนน
ระดับ 0= ไม่มีการตอบสนอง
ระดับ 1= มี reflex ลดลงหรือน้อยกว่าปกติ
ระดับ 2= มี reflex ปกติ
ระดับ 3= มี reflex ไวกว่าปกติ โดยสงสัยว่าอาจมีโรค
ระดับ 4= มี reflex ไวมาก (hyperactive) มีการชักกระตุกหรือบ่งชีว้ ่ามีโรค
2.3)ประเมิน edema 4 ระดับ
ระดับ 1+ = บวมเล็กน้อยที่ข้อเท้าและหน้าแข้ง
ระดับ 2+ = บวมที่ขาทัง้ สองข้าง
ระดับ 3+ = บวมบริเวณหน้า มือ และขาทัง้ สองข้าง
ระดับ 4+ = บวมทัง้ ตัว
อาการบวมกดบุ๋ม (pitting edema) มี 4 ระดับ
ระดับ 1+ = กดบุ๋ม 2mm+ หายไปอย่างรวดเร็ว
ระดับ 2+ = กดบุ๋ม 4mm+ หายไปใน 10-15 วินาที
ระดับ 3+ = กดบุ๋ม 6mm+ หายไปมากกว่า 1 นาที
ระดับ 4+ = กดบุ๋ม 8mm+ หายไปใน 2-3 นาที
3) ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- CBC
- Platelet count
- Liver function test
- Renal function test
- Coagulation profile

4) การตรวจพิเศษ
4.1) Doppler Velocimetry ของเส้นเลือดที่ไปเลีย
้ งมดลูกมีประโยชน์ในรายที่มีความ
เสี่ยงสูงต่อภาวะครรภ์เป็ นพิษ ใช้ในกรณีที่พิสูจน์ให้มั่นใจในกรณีที่มีผลลบ
4.2) วัดระดับสารต่างๆในเลือด ได้แก่ ระดับ angiogenic factors, Placental growth
factor (PIGF), Soluble fms-like tyrosine kinase-1 receptor (sFlt-1)

4.3) ค่า MAP (Mean aterial blood pressure) หากมีค่ามากกว่า 90mmHg : ถือว่ามี
ความเสี่ยงสูง

You might also like