You are on page 1of 114

การอบรมหลักสูตร

การปฐมพยาบาลฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
(สาหรับอาสาฉุกเฉินชุมชน)

วิทยากร
เรือเอกสมัคร ใจแสน
ศูนย์ EMPAC (ศูนย์วิชาการเตรียมความพร้อมด้านการแพทย์ฉุกเฉิน สพฉ.)
การกู้ชีพขั้นพื้นฐาน(อฉช.)

ศูนย์ EMPAC (ศูนย์วิชาการเตรียมความพร้อมด้านการแพทย์ฉุกเฉิน สพฉ.)


กลุ่มเป้าหมาย
➢เด็ก
➢เยาวชน
➢ผู้ใหญ่
➢ผู้สูงอายุ
คนไทยต้องทำ CPR เป็ น 10 ล้ำนคน ภำยใน 3 ปี
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
➢เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะด้านการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
➢เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการใช้เครื่อง AED
➢เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะด้านการปฐมพยาบาลฉุกเฉิน
➢เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องสิทธิ UCEP
ความสาคัญของการกู้ชีพ
เมื่อใดก็ตามที่หัวใจหยุดเต้นหรือหยุดหายใจ หากมีใครสักคนรีบเข้าไป
ช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานตามหลักการที่ถูกต้อง ก็จะทาให้เกิดการแลกเปลี่ยน
ออกซิเจนที่ปอด และมีเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงสมอง เพียงพอที่สมอง
จะทางานต่อไปได้โดยไม่ทาให้เกิดภาวะสมองตาย คนผู้นั้นก็ยังมีโอกาส
ที่จะฟื้นขึ้นมามีชีวิตเป็นปกติได้
การกู้ฟื้นคืนชีพ(CPR) คืออะไร
CPR= Cardio Pulmonary Resuscitation
คือ การช่วยชีวิตคนหัวใจหยุดเต้นหรือคนที่หยุด
หายใจกะทันหัน โดยใช้เพียงแรงกดหน้าอกและการ
ช่วยหายใจเพื่อให้หัวใจและระบบหายใจกลับมา
ทางานอีกครั้ง จะได้ผลดี ต้องทาภายใน 4 นาที
หลังผู้ป่วยหยุดหายใจ
สาเหตุของภาวะหัวใจหยุดเต้นหรือหยุดหายใจ
-หัวใจวำยเฉียบพลัน -สำลักควันไฟ
-ภำวะกล้ำมเนือ้ หัวใจขำดเลือดเฉียบพลัน -ได้รบั ยำเกินขนำด
-สิ่งแปลกปลอมอุดกัน้ ทำงเดินหำยใจ -ไฟฟ้ำดูด
-สมองเสียกำรทำงำนจนโคม่ำจำกสำเหตุตำ่ งๆ -จมนำ้
-อยูใ่ นที่อบั อำกำศ -ได้รบั บำดเจ็บรุนแรง
-ฟ้ำผ่ำ -ฯลฯ
โอกาสรอดชีวิตจะลดลง 10% ทุกๆ 1 นาทีที่ผ่านไป
100%

50%

ช่วง 4 นำทีแรกสำคัญที่สดุ

0%
1 4 7 10

เวลา (นาที)
ห่วงโซ่การรอดชีวิตนอกโรงพยาบาล

การช่วยชีวติ ขั้นสู งและ


การจดจาอาการและ การกดหน้าอกและการ การใช้เครื่ อง AED การแพทย์ฉุกเฉินขั้น
การดูแลหลังภาวะหัวใจ
การโทรแจ้ง 1669 ช่วยหายใจคุณภาพสู ง อย่างรวดเร็ ว
พื้นฐานและขั้นสู ง
หยุดเต้น

การช่วยเหลือของประชาชนผูเ้ ห็นเหตุการณ์
การบริ การทางการแพทย์ฉุกเฉิน ห้อง ER ห้องสวนหัวใจ ห้อง ICU
ขั้นตอนการทา CPR

DRS-CAB-D
เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ก่อนเข้าไปช่วยเหลือใครให้ปฏิบัติดังนี้
➢Stop = หยุด
➢Breathe = ตั้งสติ(ควบคุมการหายใจ)
➢Think = คิด
➢Act = แล้วลงมือทา

ห้ามพรวดพลาดเข้าไปเด็ดขาด ช่วยเขาเราต้องรอด!!!!
1.การประเมินความปลอดภัย ณ จุดเกิดเหตุ

เบื้องต้นให้ดู “ไฟ ควัน น้ามัน แก๊ส พื้นไม่เปียกน้า สถานการณ์ปลอดภัย”


การป้องกันจากการสัมผัส
การใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น ถุงมือ อุปกรณ์ป้องกันในการช่วยหายใจ เช่น หน้ากาก
เป็นต้น
2.ปลุกเรียกผู้ป่วย/ดูการตอบสนอง
ตะโกนเรียกผู้ป่วยด้วย
เสียงดังๆ แล้วใช้ 2 มือ
ตบที่ไหล่ของผู้ป่วย 3 ครั้ง
2 รอบ
ถ้ารู้ชื่อให้เรียกชื่อ...
ไม่รู้ชื่อเรียก “คุณ”
ตามองที่หน้า
ห้าม!! เขย่าที่ไหล่หรือลาตัว
3.ตะโกนร้องขอความช่วยเหลือ/ถ้ามีคนอยู่หลายคน
การตะโกนร้องขอความช่วยเหลือ/ถ้ามีคนอยู่หลายคน

➢ช่วยด้วยๆ
➢มีคนหมดสติ
➢ช่วยโทร 1669
➢นาเครื่อง AED มาด้วย
การร้องขอความช่วยเหลือ/ถ้าอยู่คนเดียว
➢ ถ้าท่านอยู่คนเดียว ให้โทร 1669 ติดต่อระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ทันที แจ้งข้อมูล :
✓เกิดเหตุอะไร
✓เกิดเหตุที่ไหน
✓มีผู้ป่วยกี่คน
✓สภาพของผู้ป่วยขณะนั้นเป็นอย่างไร
✓กาลังให้การช่วยเหลืออย่างไรในขณะนั้น
✓นาเครื่อง AED มาด้วย
4. ตรวจดูการหายใจ (5-10 วิ) ให้นับ 1,2,3,…8 วินาที
ถ้าผู้ป่วย ไม่กระพริบตา
ไม่ไอ
ไม่หายใจ
หรือหายใจเฮือก
ไม่เคลื่อนไหวใดๆ
ให้ประกาศดังๆว่า
“ไม่หายใจ ซีพีอาร์”
ก่อนจะกดหน้าอก
**จัดให้ผู้ป่วยนอนหงายบนพื้นราบแข็ง
ถ้าพื้นอ่อนนุ่มให้สอดแผ่นกระดานแข็งใต้ลาตัว**
5.ทาการกดหน้าอกทันที
การวางมือ ให้ใช้ส้นมือวางบนกระดูกหน้าอก
ตรงกึ่งกลางระหว่างหัวนม
แนวแรงการกดหน้าอกต้องตั้งฉาก
กดลึก
ไหล่ของ 5-6 ซม.
ผู้กดต้อง
ตั้งฉาก
กับอกของ ถอนมือขึน้ มำ
ผู้ป่วย ให้หน้ำอก
ขยำยคืนสู่
ตำแหน่งเดิม
ทุกครัง้
**ถ้าไม่มีอุปกรณ์ช่วยหายใจ/ไม่สบายใจที่จะเป่าปาก**

ให้กดหน้าอกต่อเนื่อง 200 ครั้ง(หรือประมาณ 2 นาที)


แล้วให้ประเมินซ้า(ดูการกระพริบตา ไอ การหายใจ เคลื่อนไหว)
ถ้าผู้ป่วยยังไม่หายใจให้ปั๊มต่อไป จนกว่ารถกู้ชีพจะมาถึง
ความสาคัญของการกดหน้าอก
การกดหน้าอก(ปั๊ม) เพื่อให้หัวใจบีบตัว ส่งเลือดไปเลี้ยงสมอง ชะลอเวลาให้
เซลล์สมองตายช้าลง น้อยลง
ปล่อยคืน เพื่อให้หัวใจคลายตัว เลือดไหลกลับเข้าสู่หัวใจ เพิ่มโอกาส
ให้หัวใจกลับมาทางานเป็นปกติ
***กดเพื่อสมอง ปล่อยเพื่อหัวใจ***
การทา CPR ให้ได้คุณภาพสูง สาหรับผู้ใหญ่
✓ กดหน้าอกลึก 2-2.4 นิ้ว(5 -6 cm)
✓ กดด้วยอัตราเร็ว 100-120 ครั้ง/นาที
✓ ปล่อยให้หน้าอกคืนตัวให้สุดภายหลังจากการกดทุกครั้ง
✓ ขัดจังหวะการกดหน้าอกให้น้อยกว่า 10 วินาที
✓ ไม่ช่วยหายใจมากเกินไป(เป่าลมเข้าเข้าประมาณ 1 วินาที)
✓ นับเสียงดัง
ถ้ามีอุปกรณ์ช่วยหายใจ/สบายใจที่จะเป่าปาก
ให้กดหน้าอก 30 ครั้งสลับกับการเป่าปาก 2 ครั้ง จนครบ 5 รอบ
การช่วยหายใจแบบต่างๆ
การเปลี่ยนคนกดหน้าอก/ประเมินซ้าทุกๆ 2 นาที
➢ เมื่อกดหน้าอกต่อเนื่องครบทุกๆ 200 ครั้ง
➢ หรือเมื่อกดหน้าอก 30 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก 2 ครั้ง ครบ 5 รอบ
➢ ให้เปลี่ยนคนกดหน้าอกในช่วงที่กาลังประเมินการหายใจ
➢ ใช้เวลาในการเปลี่ยนตาแหน่งคนกดหน้าอกไม่เกิน 5 วินาที
➢ ถ้าใช้เครื่อง AED ให้เปลี่ยนคนกดหน้าอกทุกๆ 2 นาที ในระหว่างที่เครื่อง
กาลังทาการวิเคราะห์

หมายเหตุ ถ้ารู้สึกเหนื่อยสามารถเปลี่ยนคนกดหน้าอกได้ทันที
ไม่ต้องรอจนครบ 2 นาที
การกดหน้าอกในคนท้องอายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์
ถ้ามีผู้ช่วยเหลือ 2 คน
คนที่ 1 กดหน้าอก คนที่ 2 ให้โกยมดลูกไปทางด้านซ้าย
ถ้าอยู่คนเดียว ให้หาผ้านุ่มๆมารองที่สะโพกด้านขวาสูงขึ้นประมาณ 10 ซม.
เพื่อไม่ให้มดลูกไปกดเส้นเลือดดาใหญ่ด้านขวา
ช่วยทาให้เลือดดาไหลกลับเข้าสู่หัวใจทางห้องขวาบนได้ดี
การกดหน้าอกเด็ก(อายุ1-8 ปี) กดลึกประมาณ 5 ซม.

กดลึกลงไป 1/3 ของความหนาของหน้าอก


การกดหน้าอกทารก(แรกเกิด-1ปี)กดลึกประมาณ 4 ซม.

กดลึก1/3 ของความหนาของหน้าอก
เมื่อไหร่ถึงจะหยุดทา CPR
➢มองเห็นสัญญาณของการมีชีวิต เช่น
ผู้ป่วยหายใจ ไอ ลืมตา เคลื่อนไหว = มีชีวิต
➢หน่วยแพทย์ฉุกเฉินมาทาหน้าที่แทน
➢เหนื่อยมากจนทาต่อไปไม่ไหว
➢แพทย์สั่งยุติการช่วยชีวิต
BLS ทีม
BLS ทีม
✓ผู้ช่วยเหลือคนที่ 1: ประเมินผู้ป่วย กดหน้าอก
✓ผู้ช่วยเหลือคนที่ 2: ไปเอาเครื่อง AED (ถ้ามี)
✓ผู้ช่วยเหลือคนที่ 3: ช่วยเปิดทางเดินหายใจ/ช่วยหายใจ
✓ผู้ช่วยเหลือคนที่ 4: โทรแจ้งระบบ EMS 1669 (Leader)
สรุปขั้นตอนการทา CPR ผู้ใหญ่
1.ประเมินความปลอดภัย 2.ปลุกเรียกผู้ป่วย
ณ จุดเกิดเหตุ โดยการตบที่บ่าทั้ง 2 ข้าง

3.ร้องขอความช่วยเหลือ/ 4.ประเมินการไม่หายใจ
ให้ใครไปโทรแจ้ง 1669 หรือหายใจเฮือก

5.กดหน้าอก 30 ครั้ง
กดลึก กดแรง 6. ช่วยหายใจ 2 ครั้ง

7.กดหน้าอกซ้า 30 ครั้ง 8.เมื่อเครื่อง AED มาถึง ให้เปิดเครื่อง


(ให้สลับกับช่วยหายใจจนครบ 5 รอบ) แปะแผ่น ทาตามที่เครื่องสั่งทันที
การกดหน้าอกที่ไม่ถูกวิธี(โยกตัว แนวแรงไม่ตั้งฉาก)
การกดหน้าอกที่ไม่ถูกวิธ(ี แขนงอ)
การกดหน้าอกที่ไม่ถูกวิธ(ี กระแทก)
อันตรายที่อาจได้รับจากการทา CPR ผิดวิธี
อันตรายที่อาจได้รับจากการทา CPR ผิดวิธี

• พบบ่อยที่สุดคือ กระดูกซี่โครงหัก
• การบาดเจ็บต่ออวัยวะในช่องท้อง
ทาไมต้องพัฒนาคุณภาพของการเรียนการสอน CPR

จากงานวิจัย พบว่า คนทั่วไปที่เคยได้รับการ


อบรมการกู้ชีพส่วนใหญ่ไม่มีความมั่นใจและ
ไม่มีความสามารถที่เพียงพอ ในการช่วยกู้ชีพอย่าง
เหมาะสม ควรมีการปรับปรุงคุณภาพของการ
ฝึกสอนการกู้ชีพ เพื่อให้ผู้ที่ได้รับการฝึกมีความมั่นใจที่จะให้
การกู้ชีพได้ดีมากขึ้น
การจัดท่าพักฟื้นเมื่อผู้ป่วยกลับมาหายใจได้เอง ระหว่างรอรถพยาบาล
1 2

3 4
(AUTOMATED EXTERNAL DEFIBRILLATOR)
ภาวะหัวใจหยุดเต้น(Cardiac arrest)
โอกาสในการรอดชีวิต: AED
AED: เครื่องฟื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ
ติดแผ่น AED ทันทีที่สามารถทาได้ และปฏิบัติตามที่เครื่องสั่งทันที
เครื่องฟื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ
➢ถ้าผู้ช่วยเหลือคนที่ 2 มาถึงพร้อมกับเครื่อง AED ขณะที่ คนที่
1 กาลังทา CPR อยู่ ให้ผู้ช่วยเหลือคนที่ 1 ทา CPR ต่อไป
จนกว่าผู้ช่วยเหลือคนที่ 2 จะเตรียมเครื่อง AED ให้พร้อมใช้งาน
➢ผู้ช่วยเหลือคนที่ 2 เปิดเครื่องแล้วปฏิบัติตามขั้นตอน(เครื่องสั่ง)
ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ทันที ดังต่อไปนี้
ขั้นตอนการใช้เครื่อง AED
1.เปิดเครื่อง AED
1.1 ก่อนแปะแผ่น AED เช็ดตัวให้แห้ง
1.2 ไม่ปิดทับอุปกรณ์ที่ฝังอยู่ในร่างกาย

ผู้ป่วยฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ
1.3 ไม่ติดทับแผ่นยาที่แปะอยู่กับตัวผู้ป่วย

ให้รีบเอาแผ่น
ยาที่แปะอยู่
ออก แล้วเช็ด
ให้สะอาดก่อน
แปะแผ่น AED
1.4 โกนขนบริเวณที่จะติดแผ่นออกก่อน

ใต้แนวราวนมซ้าย กึ่งกลางรักแร้
ใต้ไหปลาร้าขวา ให้ต่ากว่ารักแร้ลงมาทางปลายเท้า 2-3 นิ้ว
2.การแปะแผ่น AED
➢ แผ่นที่ 1 บนหน้าอกด้านขวา ใต้กระดูกไหปลาร้า
➢ แผ่นที่ 2 ข้างลาตัวด้านซ้าย ใต้แนวราวนม ต่าจากรักแร้ลงมาประมาณ
2-3 นิ้ว
การแปะแผ่น AED ในเด็ก(อายุ 1-8 ขวบ)

ให้ติดแผ่น
AED
ห่างกัน
อย่างน้อย
1 นิ้ว
การแปะแผ่น AED ในทารก
3.เสียบปลั๊กเข้ากับเครื่อง AED
(ส่วนใหญ่จะติดอยู่กับตัวเครื่องอยู่แล้ว)
4.เครื่องจะทาการวิเคราะห์
เครื่องจะสั่ง “เครื่องกาลังทาการ
วิเคราะห์ ห้ามสัมผัสตัวผู้ป่วย”
ให้เราพูดว่า “ทุกคน ถอย!!!” ดังๆ
และมองดูว่าไม่มีใครหรืออุปกรณ์
อะไรสัมผัสอยู่ที่ตัวผู้ป่วย
5.เครื่องจะแจ้งผลการวิเคราะห์ ให้ช็อก/ไม่ให้ช็อก
1.ถ้าเครื่องสั่ง “แนะนาให้ทาการช็อก ห้ามสัมผัสตัวผู้ป่วย กดปุ่มช็อก”
➢ให้ตะโกนว่า “ทุกคน ถอย!!!”
➢มองดูว่าไม่มีใครสัมผัสตัวผู้ป่วย
➢กดปุ่ม “ช็อก”
➢แล้วให้กดหน้าอกต่อทันที!!!

2.ถ้าเครื่องสั่งว่า “ไม่แนะนาให้ทาการช็อก ให้ทา CPR ต่อไป” ให้รีบกด


หน้าอกต่อทันที
การปล่อยพลังงานไฟฟ้า
ไม่ติดแผ่น AED ใกล้กันมากเกินไปหรือทับซ้อนกัน

ไม่ถูกต้อง ถูกต้อง
การปฐมพยาบาลฉุกเฉิน
Emergency First Aid
ทางเดิน
หายใจ
ถูกอุดกั้น
ทางเดินหายใจถูกอุดกั้น
ทางเดินหายใจถูกอุดกั้น(Choking)
การแก้ไขทางเดินหายใจถูกอุดกั้นในผู้ใหญ่
ถ้าผู้ป่วย ใช้วิธีการรัดกระตุก
หมดสติ ชุดละ 5 ครั้ง
ไม่หายใจ ต่อเนื่อง
ให้จับผู้ป่วย จนกว่าจะออก
นอนราบแล้ว เมื่อแก้ไขได้แล้ว
เริ่มทา CPR
ควรนาผู้ป่วยส่ง
ทันที!!!
รพ.ทุกราย
การแก้ไขทางเดินหายใจถูกอุดกั้นในคนท้อง/คนอ้วน
ถ้าผู้ป่วย ใช้วิธีการรัดกระตุก
หมดสติ ชุดละ 5 ครั้ง
ไม่หายใจ ต่อเนื่อง
ให้จับผู้ป่วย จนกว่าจะออก
นอนราบแล้ว
เมื่อแก้ไขได้แล้ว
เริ่มทา CPR
ควรนาผู้ป่วยส่ง
ทันที!!!
รพ.ทุกราย
การแก้ไขทางเดินหายใจถูกอุดกั้นในเด็ก
ถ้าผู้ป่วย ใช้วิธีการรัดกระตุก
หมดสติ ชุดละ 5 ครั้ง
ไม่หายใจ ต่อเนื่อง
ให้จับผู้ป่วย จนกว่าจะออก
นอนราบแล้ว
เริ่มทา CPR เมื่อแก้ไขได้แล้ว
ทันที!!! ควรนาผู้ป่วยส่ง
รพ.ทุกราย
การแก้ไขทางเดินหายใจถูกอุดกั้นในทารก
ถ้าผู้ป่วย ตบหลัง
หมดสติ สลับกับการ
ให้จับผู้ป่วย กดหน้าอก 5 ครั้ง
นอนราบแล้ว
เริ่มทา CPR เมื่อแก้ไขได้แล้ว
ทันที!!! ควรนาผู้ป่วยส่ง
รพ.ทุกราย
การแก้ไขทางเดินหายใจถูกอุดกั้นในทารก
ถ้าผู้ป่วย ตบหลัง
หมดสติ สลับกับการ
ให้จับผู้ป่วย กดหน้าอก 5 ครั้ง
นอนราบแล้ว
เริ่มทา CPR เมื่อแก้ไขได้แล้ว
ทันที!!! ควรนาผู้ป่วยส่ง
รพ.ทุกราย
การแก้ทางเดินหายใจถูกอุดกั้นด้วยตนเอง
หาเก้าอี้ที่มีพนักพิงที่
แข็งแรง ที่อยู่ใกล้เคียงมา
แล้ววางหน้าท้องบริเวณ
เหนือสะดือ ใต้ลิ้นปี่ ลงบน
พนักเก้าอี้ กระแทกตัวลง
ไปต่อเนื่อง 5 ครั้งหรือ
จนกว่าเศษอาหารจะออก
การแก้ไขทางเดินหายใจถูกอุดกั้นผู้ป่วยนั่งบนรถเข็น
นารถเข็นไปชิดผนังห้อง ล็อกล้อทั้ง
สองข้าง ใช้สองมือประสานกันแล้ว
วางระหว่างสะดือกับลิ้นปี่ ดันหน้า
ท้องในแนวแรงเฉียงขึ้นด้านบน 5
ครั้งต่อเนื่อง ถ้าผู้ป่วยหมดสติ ให้
นาลงมาจากรถแล้วทา CPR ทันที
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน(Heart attack)
สิ่งที่ควรสังเกตและจดจา
• เจ็บหน้าอกร้าวไปที่แขน • มึนศีรษะ เป็นลมทันทีทันใด
อาจจะข้างเดียวหรือทั้งสอง • มีความรู้สึกเหมือนใกล้จะ
ข้าง หรือร้าวไปที่ขากรรไกร เสียชีวิต
และจะไม่หายไปแม้ได้พัก
• “ซีด” ริมฝีปากเขียวคล้า
• หายใจไม่ออก หายใจลาบาก
• ชีพจรเบา เร็ว เต้นผิดจังหวะ
• รู้สึกอึดอัดไม่สบายบริเวณใต้
ลิ้นปี่ • เหงื่อแตก
• ล้มลงโดยไม่มีอาการเตือน • หายใจเฮือก
การปฐมพยาบาลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน(Heart attack)
1. โทรแจ้ง 1669 ทันที และให้ผู้ป่วยงดทา
กิจกรรมทั้งหมด

2. จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบาย จัดให้ผู้ป่วยอยู่
ในท่านั่งพิงบนเก้าอี้ที่สบาย คลายเสื้อผ้าให้
หลวม หาผ้ามารองใต้เข่า และคอยช่วยปลอบใจ
ให้กาลังใจ
➢เตรียมพร้อมที่จะทาการกู้ชพี ขั้นพืน้ ฐาน
(CPR) ร่วมกับการใช้ AED
การปฐมพยาบาลกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน(Heart attack)
3. ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับยา ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับประทานยา
ตามที่แพทย์สั่ง เช่น Nitroglycerin หรือ aspirin และให้
ผู้ป่วยหายใจด้วยออกซิเจน ถ้าท่านผ่านการฝึกอบรม
มาแล้ว

4. คอยเฝ้าสังเกตอาการ ให้ผู้ป่วยได้พัก กันไม่ให้คนมา


มุง คอยตรวจสัญญาณชีพ( การหายใจ ชีพจร ระดับความ
รู้สึกตัว)และบันทึกการเปลี่ยนแปลง ในขณะที่รอหน่วย
แพทย์ฉุกเฉิน
เส้นเลือดในสมองแตก ตีบ ตัน(Stroke)
สิ่งที่ควรสังเกตและจดจา
➢กล้ามเนื้อใบหน้าอ่อนแรง ➢สายตาพร่ามัวทันที
ยิ้มไม่ได้ ➢พูดไม่รู้เรื่อง ทันทีทันใด
➢แขน ขาอ่อนแรง เคลื่อนไหว ➢สับสนทันทีทันใด
ได้ข้างเดียว ➢ปวดศีรษะแบบไม่ทราบสาเหตุ
➢อ่อนเปลี้ยทันทีทันใด ด้าน ทันทีทันใด
ใดด้านหนึ่งหรือทั้งสองด้าน ➢มึนศีรษะ ยืนไม่มั่งคง หรือล้มลง
ของลาตัว ทันทีทันใด
➢พูดไม่ชัด
➢เวลาที่เริ่มเกิดอาการ
การปฐมพยาบาลผู้ป่วยเส้นเลือดในสมองแตก ตีบ ตัน(Stroke)
จดจา FAST
1. ตรวจสอบใบหน้า(F)ของผูป้ ่วย ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่
สบาย บอกให้ผู้ป่วยยิ้ม ถ้าผู้ป่วยเส้นเลือดสมองแตก
ตีบ ตัน จะยิ้มได้ข้างเดียว อีกข้างหนึ่งจะตกลงมา

2. ตรวจสอบแขน(A)ของผู้ป่วย บอกให้ผู้ป่วยยกแขนขึ้น
ถ้าผู้ป่วยเป็น stroke จะยกแขนได้ข้างเดียว

ข้อควรระวัง ห้ามให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารหรือดื่มน้า
การปฐมพยาบาลผู้ป่วยเส้นเลือดในสมองแตก ตีบ ตัน(Stroke)
3. ตรวจสอบคาพูด(S)ของผู้ป่วย ให้ถามคาถามผู้ป่วย แล้วสังเกตดู
ว่าผู้ป่วยเข้าใจคาถามของเราหรือไม่

4. โทรแจ้งระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อขอความช่วยเหลือ ให้โทร


1669 แจ้งเจ้าหน้าที่ว่าท่านสงสัยว่าผู้ป่วยมีอาการของเส้นเลือดใน
สมองแตก ตีบ ตัน(Stroke) แล้วจดเวลาที่เกิดอาการ(T) อยู่เป็น
กาลังใจ และประเมินสัญญณชีพ ดูการหายใจ ชีพจร ระดับความ
รู้สึกตัว ในระหว่างที่รอรถกู้ชีพมาถึง
หอบหืด
สิ่งที่ควรสังเกตและจดจา
• หายใจลาบาก • พูดลาบาก
• หายใจมีเสียงวี๊ด • ผิวหนัง ริมฝีปาก เล็บมีสีเคล้า
• ไอ ในรายที่เป็นอย่างรุนแรงทันทีทันใด
• เครียดและวิตกกังวล • มีภาวะหมดแรงและอาจจะหมดสติได้
การปฐมพยาบาลหอบหืด
1. ช่วยผู้ป่วยใช่เครื่องพ่นยา(Inhaler) ตั้งสติ ไม่ตื่นเต้นและให้
ความอบอุ่นใจกับผู้ป่วย ช่วยผู้ป่วยหาเครื่องพ่นยา(ปกติจะเป็นสีฟ้า)
และให้หายใจจากเครื่องพ่นยา

2. บอกให้ผู้ป่วยหายใจช้าลง ช่วยให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่ผ่อนคลาย
บอกให้ผู้ป่วยหายใจลึกๆ และช้าๆ ถ้าอาการเล็กน้อยจะหายไป
ภายใน 2-3 นาที ถ้ายังไม่หายให้ผู้ป่วยหายใจจากเครื่องพ่นยา
1-2 ครั้งทุกๆ 2 นาที จนครบ 10 ครั้ง
การปฐมพยาบาลหอบหืด
3. โทรแจ้ง 1669 ถ้าใช้ยาแล้วไม่ได้ผล การหายใจไม่ออก จะทาให้
ผู้ป่วยพูดลาบาก และเริ่มอ่อนเปลี้ย

4. เฝ้าติดตามอาการของผู้ป่วย และตรวจสอบสัญญาณชีพ การ


หายใจ ชีพจร และระดับการตอบสนอง จนกว่าผู้ป่วยจะดีขึ้นหรือ
รถพยาบาลจะมา คอยช่วยให้ผู้ป่วยได้ใช้ยาพ่น
การช็อกจากภาวะภูมิแพ้อย่างรุนแรงเฉียบพลัน (Anaphylaxis)
สิ่งที่ควรสังเกตและจดจา
• เกิดผื่นแดงตามผิวหนัง ลมพิษ มีอาการ • ชีพจรเบา เร็ว
คัน ผิวหนังแดงหรือซีด • ไอ จาม น้ามูกไหล
• วิงเวียนศีรษะ หน้ามืดคล้ายจะเป็นลม
• รู้สึกปวดคล้ายเข็มทิ่มตามมือ เท้า ปาก
• คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง หรือท้องเสีย
หรือหนังศีรษะ
• ความดันโลหิตลดต่าลง
• พูดไม่ชัด ตะกุกตะกัก
• ลิ้น ปาก หรือคอบวม หายใจติดขัดและ
อาจมีเสียงดังหวีด ๆ • บางรายที่มีอาการรุนแรงมากอาจเสี่ยงต่อ
• รู้สึกเหมือนมีสิ่งอุดตันในลาคอ กลืน ภาวะช็อก ซึ่งสังเกตได้จากอาการหายใจ
ลาบาก ลาบาก ไม่มีแรง ชีพจรเต้นเบาเร็ว มี
• แน่นหน้าอก ใจสั่น อาการสับสน มึนงง หรือหมดสติ
การปฐมพยาบาลภาวะภูมิแพ้อย่างรุนแรงเฉียบพลัน (Anaphylaxis)
1.รีบโทรแจ้ง 1669 ทันที แจ้งว่าท่านสงสัยว่าผู้ป่วยมีอาการ
ของภาวะภูมิแพ้อย่างรุนแรงเฉียบพลัน

2.ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับยา สาหรับผู้ป่วยที่ทราบว่าตนเองมีอาการ
แพ้และมียาอิพิเนฟรินพกติดตัว ให้ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อต้นขา
ของผู้ป่วย

ข้อควรระวัง ถ้าเป็นผู้ป่วยท้องจาเป็นต้องจัดให้ผู้ป่วยนอนราบแล้วจัดท่านอนตะแคง
ซ้ายเพื่อไม่ให้มดลูกกดทับเส้นเลือดที่ไหลกลับเข้าสูห่ ัวใจ
การปฐมพยาบาลภาวะภูมิแพ้อย่างรุนแรงเฉียบพลัน (Anaphylaxis)
3. จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบาย ผู้ป่วยที่หายใจลาบากแต่ยังรู้สึกตัวดี
ควรพยุงให้นั่งบนเก้าอี้ หากมีอาการหน้ามืด วิงเวียนศีรษะคล้ายจะเป็น
ลม ควรให้นอนราบกับพื้นและยกเท้าสูง

4. เฝ้าติดตามอาการ ตรวจดูชีพจรและการหายใจ หากผู้ป่วยหมดสติ


ไม่มีการตอบสนอง หรือหยุดหายใจ ให้กดหน้าอกทันที แต่ต้องทาโดยผู้
ที่ผ่านการฝึกอบรมมาเท่านั้น หรือให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้นตาม
อาการ
การปฐมพยาบาลภาวะเลือดออกภายนอกอย่างรุนแรง
1. ใช้วิธีการกดลงที่บาดแผล ถ้าจาเป็นให้ถอดหรือตัดเสื้อผ้าที่
คลุมอยู่ออก แล้วใช้ผ้าสะอาดที่ไม่เป็นขุยปิดทับลงบนบาดแผล
ใช้มือกดลงตรงๆนิ่งๆ

2. ยกประคองส่วนที่เป็นบาดแผลให้สงู กว่าระดับหัวใจ กดที่


บาดแผลและพยุงไว้

3. ช่วยให้ผู้ป่วยนอนลงกับพืน้ ยกส่วนที่ได้รับบาดเจ็บให้สูงไว้
ช่วยประคองให้ผู้ป่วยนอนลงบนพื้น
การปฐมพยาบาลภาวะเลือดออกอย่างรุนแรง
4. โทรแจ้ง 1669 โดยบอกขนาดของผู้ป่วยและตาแหน่งของ
บาดแผล

5. ใช้ผ้าพันแผล พันให้ผ้าปิดแผลให้อยู่กับที่ ตรวจสอบระบบการ


ไหลเวียนโลหิตของอวัยวะส่วนปลายทุกๆ 10 นาที ให้คลายถ้า
จาเป็น เฝ้าติดตามสัญญาณชีพ –การหายใจ ชีพจร และระดับการ
ตอบสนอง ในระหว่างที่รอรถพยาบาล
ช็อก
สิ่งที่ควรสังเกตและจดจา
• ชีพจรเต้นเบา เร็ว หรือบางราย ✓คลื่นไส้ อาเจียน
อาจไม่เต้น
• ตัวซีดและเย็น ✓กระหายน้า
• เหงื่อแตก เมื่อออกซิเจนมาเลี้ยงสมอง
เมื่อเป็นมากขึ้น น้อยลง
✓ หัวใจเต้นเบาเร็วผิดปกติ ➢กระวนกระวาย ก้าวร้าว
✓ หายใจตื้นและเร็ว
✓ วิงเวียนศีรษะ หน้ามืด
➢หายใจเฮือก
✓ อ่อนเปลี้ย ➢หมดสติ
การปฐมพยาบาลช็อก
1. จับให้ผู้ป่วยนอนราบ ดูแลรักษาสาเหตุของการช็อก เช่น เสีย
เลือด ไฟไหม้ เป็นต้น ช่วยประคองให้ผู้ป่วยนอนลง ถ้าเป็นไปได้
ควรให้นอนบนผ้าห่มหรือผ้านุ่ม ยกเท้าให้สูงกว่าระดับหัวใจ

2. โทรแจ้ง 1669 แล้วดูแลสาเหตุที่ทาให้ช็อก เช่น เสียเลือด ถ้า


เป็นไปได้ควรจัดให้ผู้ป่วยนอนราบบนผ้านุ่ม ยกเท้าสูงกว่าระดับ
หัวใจ
การปฐมพยาบาลช็อก
3. คลายเสื้อผ้าให้หลวม เพื่อไม่ให้ขัดขวางการไหลเวียนของ
โลหิต ที่คอ หน้าอก เอว

4. ให้ความอบอุ่นร่างกายผู้ป่วย ห่มด้วยผ้าห่มเพื่อให้ความ
อบอุ่น แนะนาให้ผู้ป่วยอยู่นิ่งๆ เฝ้าสังเกตอาการของ
สัญญาณชีพ ได้แก่ การหายใจ ชีพจร และระดับการ
ตอบสนอง ในขณะที่รอรถพยาบาลมาถึง
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
สิ่งที่ควรสังเกตและจดจา สาหรับผู้ที่บาดเจ็บรุนแรง
• หมดสติในช่วงเวลาสั้นๆ • มีประวัติว่ามีวัตถุพุ่งมากระแทกที่ศีรษะ
• อาจมีรอยฟกช้าที่ศีรษะ • การตอบสนองลดลง
• มึนงง/คลื่นไส้ อาเจียน • มีน้าเลือดหรือคราบเลือดออกทางจมูก
• สูญเสียความจาขณะเกิดเหตุหรือก่อนเกิด และหู
เหตุการณ์ • รูม่านตาสองข้างไม่เท่ากัน
• ปวดศีรษะเล็กน้อย
• สับสน
การปฐมพยาบาลการบาดเจ็บที่ศีรษะ
1.ใช้วิธีการกดโดยตรงที่บาดแผล ใช้ผ้าปิดแผลที่
สะอาดปิดลงบนบาดแผล โดยใช้มือกดลงไปตรงๆเพื่อ
เป็นการห้ามเลือด

2.ใช้ผ้าพันแผล ปิดแผลให้นิ่งอยู่กับที่ โดยการใช้ผ้า


ก๊อซเป็นม้วนหรือผ้ายืดเพื่อรักษาแรงดันที่กดลงบนผ้า
ปิดแผล
การปฐมพยาบาลการบาดเจ็บที่ศีรษะ
3. จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ถ้าเป็นไปได้ควรหาผ้ามารองให้
ศีรษะและไหล่สูงขึ้นเล็กน้อย จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สุขสบาย
มากที่สุด

4. เฝ้าติดตามอาการอย่างใกล้ชิด คอยตรวจวัดสัญญาณชีพ
ได้แก่ การหายใจ ชีพจร และระดับการตอบสนอง ให้รีบโทร
แจ้ง 1669 ถ้าผู้ป่วยมีอาการบาดเจ็บอย่างรุนแรง
การได้รับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง
สิ่งที่ควรสังเกตและจดจา
• การตกจากที่สูง โดยเอาหลัง • แขนขาข้างที่บาดเจ็บอ่อนแรง
ศีรษะ หรือขา ลง • ไม่มีความรูส้ ึกหรือรู้สึกผิดปกติ
• อาจจะมีอาการดังนี้ • ควบคุมกระเพาะปัสสาวะหรือ
• เจ็บที่คอและหลัง ลาไส้ไม่ได้
• กระดูกผิดรูป บิดเบี้ยวตรง • หายใจลาบาก
บริเวณที่มีส่วนโค้ง
• กดเจ็บบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง
1. บอกผู้ป่วยห้ามขยับศีรษะ โทรแจ้ง 1669 ถ้าเป็นไปได้บอกให้
ผู้อื่นไปโทรแจ้ง ในขณะที่ท่านประคองศีรษะและคอไว้ผู้ป่วยไว้
ไม่ให้เคลื่อนไหว และบอกให้แจ้งศูนย์รับแจ้งเหตุด้วยว่าสงสัย
ผู้ป่วยอาจได้รับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง

2. ประคองศีรษะให้อยู่นิ่งๆ โดยนั่งคุกเข่าอยู่ด้านเหนือศีรษะของ
ผู้ป่วย วางแขนลงบนพื้น จับประคองศีรษะผู้ป่วยไว้ให้มั่งคง
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง
3.วางอุปกรณ์เสริมข้างศีรษะ ให้ผู้ช่วยเหลืออีกคนหาผ้ามา
ม้วนเป็นก้อนกลม แล้ววางไว้ข้างศีรษะทั้งสองข้างเป็น
อุปกรณ์เสริม

4.เฝ้าติดตามอาการอย่างใกล้ชิด คอยตรวจวัดสัญญาณชีพ
ได้แก่ การหายใจ ชีพจร และระดับการตอบสนอง ในขณะที่รอ
รถพยาบาลมาถึง
กระดูกหัก
สิ่งที่ควรสังเกตและจดจา
• แขน ขาผิดรูป บวม มีรอยฟกช้าบริเวณที่ได้รับ
บาดเจ็บ
• ปวดและเคลื่อนไหวลาบากบริเวณที่บาดเจ็บ
• งอ บิด หรือสั้นกว่าปกติ
• มีกระดูกโผล่ออกมาจากเนื้อ
การปฐมพยาบาลกระดูกหัก
1. ประคองบริเวณทีห่ ัก ช่วยผู้ป่วยประคองข้อด้านบน
และด้านล่างบริเวณที่หัก ให้อยู่ในท่าที่สบายที่สุด

2. ใช้ผ้าห่อป้องกันบริเวณที่หัก ใช้ผ้าเช็ดตัวหรือผ้าปู
โต๊ะ ห่อบริเวณที่หักและพยุงให้อยู่ในท่าที่สบาย

ข้อควรระวัง 1. อย่าพยายามขยับส่วนที่หักโดยไม่จาเป็น อาจทาให้ได้รับบาดเจ็บเพิ่มขั้นได้


2. ถ้าเป็นแผลเปิดให้ปิดแผลด้วยผ้าสะอาดไม่มขี ุยและพันให้เรียบร้อย
การปฐมพยาบาลกระดูกหัก
3. พยุงส่วนที่บาดเจ็บไว้ ในกรณีที่การช่วยเหลือมาถึงล้าช้า
ถ้าแขนหักให้หาอุปกรณ์มาคล้องแขนไว้ ถ้าขาหักให้หาไม้
มาแล้วใช้ผ้าพันไม้ก่อนนามาดามขา

4.ถ้าผู้ป่วยแขนหักและไม่มีอาการช็อก สามารถนาผู้ป่วยส่ง
รพ.ด้วยรถยนต์ แต่ถ้าขาหักควรนาส่งด้วยรถพยาบาลโดย
การ โทรแจ้ง 1669 แล้วคอยดูแลอาการช็อก เฝ้าติดตาม
อาการและบันทึกการหายใจ ชีพจร และระดับการตอบสนอง
ของผู้ป่วย
ข้อควรระวัง 3. ห้ามให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารหรือดื่มเครื่องดื่มเพราะอาจจาเป็นต้องผ่าตัด
4. ห้ามยกขาสูงเมื่อต้องรักษาอาการช็อก
แผลไฟไหม
สิ่งที่ควรสังเกตและจดจา วัตถุประสงค์
• อาจไหม้เพียงผิวหนังตื้นๆ หรือไหม้ลึก • ยับยั้งการไหม้ทันทีและบรรเทาอาการปวด
ลงไปจนถึงกล้ามเนื้อ • เปิดทางเดินหายใจตลอดเวลา
• ปวด • รักษาการบาดเจ็บที่เกี่ยวข้อง
• หายใจลาบาก • ลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อให้น้อยที่สุด
• ช็อก • ลดความเสี่ยงจากการช็อกให้มากทีส่ ุด
• เตรียมการเคลื่อนย้ายเร่งด่วนไปยังโรงพยาบาล
• รวบรวมข้อมูลส่งต่อระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
การปฐมพยาบาลแผลไฟไหม้
1. ใช้น้าลาดบริเวณแผลไหม้ทันที ด้วยน้าเย็นหรือเย็นจัดเป็น
เวลาอย่างน้อย 10 นาทีหรือจนกว่าอาการปวดจะหายไป จัดให้
ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบายโดยจัดให้ผู้ป่วยนั่งหรือนอน และป้องกันการ
บริเวณที่บาดเจ็บจากการสัมผัสกับพื้ดิน

2. โทรแจ้ง 1669 แจ้งการบาดเจ็บและอธิบายถึงสาเหตุว่าเกิดจาก


อะไร และขนาดของบาดแผลโดยประมาณ
ข้อควรระวัง 1.ห้ามใช้ขี้ผึ้ง โลชั่น น้ามัน ทาแผลไหม้ ให้ใช้ยาสาหรับแผลไหม้เท่านั้น
2. ห้ามใช้พลาสเตอร์เหนียวติดแผล
3.ห้ามสัมผัสบริเวณแผลไหม้
4.ถ้ามีอาการรุนแรง ให้รักษาอาการช็อก
การปฐมพยาบาลแผลไฟไหม้
3. ถอดสิ่งต่างๆที่รัดตรึงออก ในขณะที่ให้ความเย็นบริเวณแผล
ไหม ให้ถอดเสื้อผ้าหรือเครื่องประดับออกจากบริเวณนั้นก่อนที่มัน
จะบวม แต่ห้ามดึงสิ่งที่ติดแน่นอยู่กับแผลออก

4. ปิดแผล เมื่อใช้ความเย็นเสร็จแล้วให้ปิดแผลด้วยพลาสติกห่อ
ของให้รอบบริเวณบาดแผลไหม้ อีกวิธีหนึ่งคือใช้ผ้าสะอาดที่ไม่
เป็นขุยปิดแผล ติดตามอาการและสัญญาณชีพของผู้ป่วยในขณะที่
รอรถพยาบาล
ข้อควรระวัง
5.ถ้าแผลไหม้ที่หน้า ไม่ต้องใช้ผ้าปิดแผล ให้ใช้น้าเย็นราดไว้จมกว่ารถพยาบาลจะมาถึง
6.ถ้าแผลไหม้เกิดจากสารเคมี ให้ใส่ถุงมือป้องกันตนเองแล้วลาดด้วยน้านานอย่างน้อย 20 นาที
7.ให้มองหาอาการแสดงของการสาลักควันไฟ เช่น หายใจลาบาก
ชัก
สิ่งที่ควรสังเกตและจดจา
• หมดสติทันทีทันใด • ปัสสาวะราด
• หลังโค้งเกร็ง • กล้ามเนื้อเริ่มคลายตัวและ
• อาจจะหายใจมีเสียงดังแล้วเริ่ม กลับมาหายใจเป็นปกติอีก
หายใจลาบาก ริมฝีกปากเขียว
คล้า ครั้ง
• เริ่มชักกระตุก • หลังชักอาจมีอาการมึนงง
• อาจมีน้าลายหรือน้าลายบนเลือด และจดจาอะไรไม่ได้
(กัดริมฝีปากหรือลิ้นตนเอง)
• ผู้ป่วยบางคนอาจจะหลับลึก
การปฐมพยาบาลผู้ป่วยชัก
1.ปกป้องผู้ป่วย พยาบาลจับให้ผู้ป่วยนอนลง บอกให้อยู่นิ่งๆและ
ให้กาลังใจ เปิดทางเดินหายใจและป้องกันการบาดเจ็บจากการ
กระแทกกับวัตถุ จัดพื้นที่ให้โล่ง จดเวลาที่ชัก

2.ป้องกันศีรษะ และคลายเสื้อผ้าให้หลวม ถ้าเป็นไปได้ให้หาเบาะ


หรือของนุ่มๆมารองศีรษะ หาของนุ่มๆมากันไว้รอบๆเพื่อป้องกัน
การบาดเจ็บ
การปฐมพยาบาลชัก
3. จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าพักฟื้น ทันทีที่ผู้ป่วยหยุดชักผู้ป่วยอาจจะ
หลับลึก ให้เปิดทางเดินหายใจและตรวจการหายใจ ถ้าผู้ป่วย
หายใจให้จัดอยู่ในท่าพักฟื้น

4. โทรแจ้ง 1669 เพื่อขอความช่วยเหลือ ให้กาลังใจกับ


ครอบครัวของผู้ป่วยหรือผู้ดูแล ติดตามอาการและบันทึกสัญญาณ
ชีพ-การหายใจ ชีพจร ระดับการตอบสนอง และวัดอุณหภูมิ
ในขณะที่รอรถพยาบาล
ข้อควรระวังในการดูแลผู้ป่วยชัก
1. อย่าพยายามผูกมัดผู้ป่วย
2. ห้ามยัดสิ่งของใดๆเข้าไปในปากขณะชัก
3. โทรแจ้ง 1669 ถ้าผู้ป่วยมีอาการดังต่อไปนี้
1) มีการชักซ้า
2) อาการชักนานกิน 5 นาที
3) เป็นการชักครั้งแรกในชีวิตของผู้ป่วย
4) หมดสตินานกว่า 10 นาที หลังจากหยุดชักแล้ว
5) มีการได้รับบาดเจ็บหลงเหลืออยู่
เด็กชัก
สิ่งที่ควรสังเกตและจดจา • กลั้นหายใจ หน้าแดงคอแดง
• ชักกระตุกอย่างรุนแรง ตัวเกร็ง หลังแอ่น • น้าลายไหล
อาจจะมีอาการเหล่านี้รว่ มด้วย • อาจมีอาเจียน
• มีไข้ ตัวร้อน หน้าแดง • ปัสสาวะราด ถ่ายราด
• หน้ากระตุก ตาหรี่ ตาค้างหรือตาเหลือก • หมดสติ
การปฐมพยาบาลเด็กชัก
1. ป้องกันเด็กจากการบาดเจ็บ เคลียร์พื้นที่ใกล้เคียงให้
ปราศจากวัตถุที่เป็นอันตรายโดยการใช้เบาะนุ่มๆ หมอน
ผ้าเช็ดตัวทาเป็นม้วน ป้องกันไม่ให้เด็กไปกระทบกระแทกกับวัตถุ

2. ช่วยทาให้ตัวเย็นลง ถอดเสื้อผ้า ชุดนอน รอให้อาการชัก


หายไปก่อนแล้วจึงถอดก็ได้ อยู่ในที่อากาศถ่ายเทดีแต่ไม่ทาให้เด็ก
หนาว
การปฐมพยาบาลเด็กชัก
3. จัดให้เด็กอยู่ในท่าพักฟื้น ทันทีที่เด็กหายชัก ให้เปิดทาง
เดินหายใจ ตรวจสอบการหายใจ แล้วจัดให้อยู่ในท่าพักฟื้น

4. โทรแจ้ง 1669 ให้ความอบอุ่นกับครอบครัวหรือผู้ดูแลเด็ก


ติดตามอาการและบันทึกสัญญาณชีพ-การหายใจ ชีพจร ระดับ
การตอบสนอง และอุณหภูมิ ในขณะรอรถพยาบาลมารับ

ข้อควรระวัง 1.ไม่ปล่อยให้เด็กได้รับความเย็นมากเกินไป
2.ห้ามใช้ฟองน้าเช็ดตัวเพื่อทาให้ไข้ลด เมื่อมีความเสี่ยงต่ออุณหภูมิลดลงมากเกินไป
3.ถ้าเด็กหมดสติ ให้เปิดทางเดินหายใจ ตรวจสอบการหายใจ และเตรียมทา CPR
ภาวะน้าตาลในเลือดต่า
สิ่งที่ควรสังเกตและจดจา
• มีประวัติเป็นเบาหวาน • ใจสั่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้อสั่น
• อ่อนเปลี้ย เป็นลม และหิว • การตอบสนองลดลง
• สับสน ไม่มีสติสัมปะชัญญะ • มีป้ายแสดงตนว่าเป็นเบาหวานที่ข้อมือหรือที่
• เหงื่อแตกตัวเย็น ผิวหนังชื้น สร้อยคอ
• ชีพจรเร็ว • กลูโคสเจล กระเป๋าตรวจน้าตาล และยาฉีด
อินซูลินหรืออินซูลินชนิดรับประทาน
การปฐมพยาบาลภาวะน้าตาลในเลือดต่า
1. ให้ผู้ป่วยรับประทานน้าตาล ช่วยประคองให้ผู้ป่วยนั่ง ถ้า
ผู้ป่วยมีน้าตาลของตนเอง ช่วยเหลือให้ได้รับประทานน้าตาล
ถ้าไม่มีให้หาน้าผลไม้ 1 แก้ว หรือลูกอม 2 เม็ด หรือของหวาน

2. ให้ปรับประทานอาหารเพิ่มเติม ถ้าผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นอย่าง
รวดเร็ว ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มเพิ่มเติมและ
ให้พักจนกว่าอาการจะดีขึ้นมากกว่าเดิม คอยช่วยเหลือในการ
ตรวจน้าตาลในเลือด
การปฐมพยาบาลภาวะน้าตาลในเลือดต่า
3. เฝ้าสังเกตอาการผู้ป่วย และบันทึกสัญญาณชีพ-การ
หายใจ ชีพจร และระดับการตอบสนอง จนกว่าจะกลับมา
เป็นปกติ

4. โทรแจ้ง 1669 ถ้าผู้ป่วยอาการไม่ดีขึ้น คอยตรวจ


สัญญาณชีพ-การหายใจ ชีพจร และระดับการตอบสนอง
เป็นระยะๆ จนกว่ารถพยาบาลจะมาถึง
สวัสดีครับ

You might also like