You are on page 1of 10

การพยาบาลเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้อนผูป้ ่ วยบาดเจ็บกระดูกสันหลัง Nursing Care for Prevention Complications of Patient with Spine

นิพนธ์ ต้นฉบับ . Original Article

การพยาบาลเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้ อนผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกสั นหลังและ


ไขสั นหลังในระยะฟื้ นฟู
พัชรี บุตรแสนโคตร*, จุฑามาศ คงกลาง
หอผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกสันหลัง งานการพยาบาลศัลยสาสตร์และศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช

Nursing Care for Prevention Complications of Patient with Spine and


Spinal Cord Injuries in Rehabilitation Phase
Patcharee Butsankot*, Juthamas Kongklang
Nurse/ Spinal Unit, Surgical and Orthopedic division, Department of Nursing Siriraj, Siriraj Hospital.

Received: 18 February 2021 / Edit: 12 May 2021 / Accepted: 7 July 2021

การบาดเจ็บของกระดูกสันหลังและไขสันหลังเป็นการบาด Spine and spinal cord injuries are serious condition


เจ็บที่รุนแรง และท�ำให้เกิดความพิการ ในประเทศที่พัฒนาแล้ว and could disabilities. In developed countries, the
พบอุบัติการณ์การเกิดประมาณ 10.4–130.6 รายต่อล้าน estimated incidence were 10.4–130.6 cases per million
ประชากรต่อปี1 จ�ำนวนผูร้ อดชีวติ จากการบาดเจ็บในระยะฟืน้ ฟู people per year. Two-year survival following discharge
มีแนวโน้มสูงขึ้นถึงร้อยละ 87 ในระยะเวลา 2 ปีหลังการ from hospital with spinal cord injury tends to increase
จ�ำหน่ายกลับบ้าน2 เป้าหมายการรักษาในระยะแรกของการดูแล by 87 percent. The goals of early treatment in this
รักษาผู้ป่วยกลุ่มนี้คือ ลดอัตราการตาย ลดการบาดเจ็บเพิ่มเติม group of patients are reduce mortality, reducing
ของไขสันหลังและการป้องกันภาวะแทรกซ้อน ส�ำหรับเป้าหมาย additional injuries of the spinal cord and prevention
การดูแลรักษาในระยะฟื้นฟู คือ ช่วยให้เกิดการฟื้นหายของ of complications. The goal of treatment in the
ระบบประสาทไขสันหลัง ได้แก่ ก�ำลังของกล้ามเนื้อและการรับ rehabilitation phase is to facilitate the recovery of the
รู้ความรู้สึก รวมไปถึงป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในหลาย spinal cord, including muscle strength and sensation
ระบบ เช่น การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ และทางเดิน as well as preventing complications such as
ปัสสาวะ ภาวะท้องผูก แผลกดทับ การเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตัน respiratory infection and urinary tract, constipation,
ในหลอดเลือดด�ำ pressure ulcers and Deep Venous Thrombosis.

ค�ำส�ำคัญ: บาดเจ็บไขสันหลัง; ภาวะแทรกซ้อน; ระยะฟื้นฟู การ Keyword: Spinal cord injury; complication; Rehabili-
พยาบาล tation phase; nursing care
ศรีนครินทร์เวชสาร 2564; 36(5): 639-648. Srinagarind Med J 2021; 36(5): 639-648.

บทน�ำ เกิ ด การบาดเจ็ บ ไขสั น หลั ง ท� ำ ให้ เ กิ ด การบวมของประสาท


การบาดเจ็บไขสันหลังเป็นภาวะที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ไขสั น หลั ง ร่ ว มกั บ การตายของเซลล์ ป ระสาท จากการ
ในประเทศที่พัฒนาแล้วพบอุบัติการณ์การเกิดประมาณ 10.4– เปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลและขาดเลือดไปเลี้ยง ท�ำให้ผู้ป่วยสูญ
130.6 รายต่ อ ประชากร 1 ล้ า นคนต่ อ ปี 1 จากสถิ ติ ใ น เสียความสามารถในการเคลื่อนไหวและการช่วยเหลือตนเองใน
ประเทศไทย พบการบาดเจ็บไขสันหลังจากอุบัติเหตุจราจร การท� ำ กิ จ วั ต รประจ� ำ วั น หลายด้ า น เกิ ด ความบกพร่ อ งการ
ร้อยละ 57 และการพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 31.4 โดยเป็นกลุ่ม ท�ำงานของระบบต่างๆที่เกี่ยวเนื่องจากการบาดเจ็บที่เกิดขึ้น
ผู้ใหญ่ซึ่งมีอายุเฉลี่ย 45.1 ปี และเป็นเพศชายสูงถึงร้อยละ 67.5 เช่น ระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดิน
จ�ำนวนผู้รอดชีวิตจากการบาดเจ็บในระยะฟื้นฟูมีแนวโน้มสูงขึ้น ปัสสาวะและการขับถ่าย ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ระบบ
ถึงร้อยละ 87 ในระยะเวลา 2 ปีหลังการจ�ำหน่ายกลับบ้าน2 เมื่อ สืบพันธ์ุ ระบบหลอดเลือดและการไหลเวียน เป็นต้น3 ผลจาก

*Corresponding author : Patcharee Butsankot, Nurse/ Spinal Unit, Surgical and Orthopedic division, Department of
Nursing Siriraj, Siriraj Hospital. E-mail: noontmn.siriraj@gmailmail.com
ศรี นคริ นทร์เวชสาร 2564; 36(5) Srinagarind Med J 2021; 36(5) 639
พัชรี บุตรแสนโคตร และ จุฑามาศ คงกลาง Patcharee Butsankot and Juthamas Kongklang

การบาดเจ็บท�ำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนตาม เฉพาะ สามารถประเมินความสามารถในการท�ำกิจวัตรประจ�ำ


มาหลายอย่าง ซึ่งภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยคือ การเกิดแผล วัน (ADL) โดยใช้ Barthel index ซึ่งทีมฟื้นฟูสมรรถภาพที่มี
กดทับ การติดเชื้อทั้งในระบบทางเดินปัสสาวะ และภาวะปอด ความเชี่ ย วชาญร่ ว มวางแนวทางในการดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยที่ ไ ด้ รั บ
อักเสบติดเชื้อ ความเจ็บปวด ภาวะเส้นเลือดด�ำอักเสบอุดตัน บาดเจ็บไขสันหลัง โดยใช้การท�ำงานร่วมกันของทีมสหสาขา
เป็นต้น4 การบาดเจ็บไขสันหลังยังส่งผลกระทบทางด้านจิตใจ วิชาชีพ จะท�ำให้ผปู้ ว่ ยกลุม่ นีไ้ ด้รบั การดูแลทีม่ ปี ระสิทธิภาพและ
อารมณ์และสังคม เช่น เกิดความกลัว ความวิตกกังวล การสูญ ครอบคลุมมากขึ้น มีการวางแผนและตั้งเป้าหมายร่วมกับผู้ป่วย
เสียภาพลักษณ์ การสูญเสียอาชีพการงาน ขาดรายได้ รู้สึกเป็น และครอบครัว ผูด้ แู ลหลัก6 สมาชิกทีมทีม่ บี ทบาทส�ำคัญในระยะ
ภาระของครอบครัว5 จ�ำเป็นต้องมีผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด การดูแล นี้ คือ
ผู้ป่วยกลุ่มนี้จึงมีความส�ำคัญตั้งแต่ระยะวิกฤตโดยมีเป้าหมาย - แพทย์ มีบทบาทในการวินิจฉัย การรักษาโดยการใช้ยา
เพือ่ ค้นหาการบาดเจ็บรุนแรงทีอ่ าจท�ำให้เสียชีวติ ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อจัดการภาวะสุขภาพที่เป็นปัญหาหรือเป็นอุปสรรคต่อการ
ได้แก่ การประเมินการหายใจ การประเมินระบบไหลเวียนโลหิต ฟื้นฟูสมรรถภาพ รวมไปถึงจัดโปรแกรมการฟื้นฟูให้เหมาะสม
และให้การรักษาอย่างทันท่วงทีเพื่อลดการบาดเจ็บเพิ่มเติมของ กับผู้ป่วยแต่ละราย
ไขสันหลัง ลดอัตราการตาย และการป้องกันภาวะแทรกซ้อน - นักกายภาพบ�ำบัด มีบทบาทให้ค�ำแนะน�ำและฝึกในเรื่อง
จนกระทัง่ ถึงระยะฟืน้ ฟู ซึง่ ถือว่าเป็นระยะทีม่ คี วามส�ำคัญในการ ของการจัดท่า การดูแลระบบทางเดินหายใจ การฝึกการหายใจ
ดูแล เพื่อส่งเสริมและช่วยให้เกิดการฟื้นหายของระบบประสาท อย่างมีประสิทธิภาพ การเคาะปอด การไอ การเคลื่อนไหวข้อ
ไขสันหลัง ได้แก่ ก�ำลังของกล้ามเนื้อและการรับรู้ความรู้สึก รวม ต่างๆ ทักษะในการเคลื่อนย้ายบนเตียง เพิ่มความทนในการนั่ง
ไปถึงป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในหลายๆระบบดังที่กล่าว และโปรแกรมการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ
มาข้างต้น บทความนี้ได้ทบทวนเกี่ยวกับการพยาบาลผู้ป่วยบาด - นักกิจกรรมบ�ำบัด มีบทบาทให้ค�ำแนะน�ำและฝึกการ
เจ็บกระดูกสันหลังและไขสันหลังในระยะการฟื้นฟู เป้าหมาย ทรงตัว การใช้รถเข็นนั่ง การฝึก Hand function การท�ำกิจวัตร
ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยและการพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะ ประจ�ำวัน การปรับเปลี่ยนสภาพบ้านและสถานที่ท�ำงาน
แทรกซ้อน เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลผู้ป่วยในระยะการฟื้นฟู - นักกายอุปกรณ์ ช่วยท�ำอุปกรณ์เสริมในการท�ำกิจวัตร
สภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยกลับไปอยู่ในสังคม ประจ�ำวันของผู้ป่วย เช่น Splints ที่ใช้ส�ำหรับผู้ป่วยอัมพาตทั้ง
ได้เร็วที่สุดและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป ตั ว (tetraplegia) ที่ มี ภ าวะเกร็ ง ในการคงท่ า ทางให้ อ ยู ่ ใ น
ต�ำแหน่งปกติ
ระยะการฟื้ นฟู (Rehabilitation phase) - นักจิตวิทยาการปรึกษา มีบทบาทหน้าที่ในการประเมิน
ภายหลังการรักษาเพื่อให้ผู้ป่วยรอดชีวิต และเมื่อพ้นระยะ สภาพจิตใจ อารมณ์ และความสามารถในการปรับตัว ตลอดจน
วิกฤต ผู้ป่วยจะเข้าสู่ระยะการฟื้นฟู ซึ่งจะเน้นการฟื้นฟูให้ไปถึง ใช้กระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาส�ำหรับผู้ป่วยและครอบครัว
เป้าหมาย (Functional goal) การฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อ เมื่ อ เผชิ ญ ปั ญ หาหลั ง เกิ ด การบาดเจ็ บ กระดู ก สั น หลั ง และ
เนื่องมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับผู้ป่วย การฟื้นฟูสมรรถภาพ ไขสันหลัง8
สามารถแบ่งออกเป็น 3 ระยะหลักๆ ได้แก่ การฟืน้ ฟูสมรรถภาพ - นักสังคมสงเคราะห์ ท�ำหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างทุก
ในระยะเฉียบพลัน การฟื้นฟูสมรรถภาพในระยะฟื้นฟูสภาพ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยและผู้ดูแล ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับภาวะ
และการฟื้นฟูสมรรถภาพในระยะติดตามอาการแบบผู้ป่วยนอก เศรษฐกิจของครอบครัวและสิทธิการรักษา เป็นตัวเชื่อมโยงกับ
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน (ADL) ได้ด้วยตนเอง เครือข่าย ให้การสนับสนุนด้านจิตใจและด้านจิตวิญญาณ9
ให้ได้มากที่สุด หรือใกล้เคียงกับปกติมากที่สุด ให้ผู้ป่วยมีความ - พยาบาลมีบทบาทหน้าทีใ่ นการให้ความรูผ้ ปู้ ว่ ยและผูด้ แู ล
สามารถสูงสุดตามสภาพร่างกายและสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออ�ำนวย ให้เข้าใจถึงกระบวนการในการฟื้นฟูสมรรถภาพ รวมถึงปัญหา
รวมถึงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้บ่อยหลังการบาด ของผูป้ ว่ ยเมือ่ กลับไปอยูท่ บี่ า้ น ให้ความรูใ้ นเรือ่ งการจัดการดูแล
เจ็บไขสันหลัง ซึ่งสามารถให้การฟื้นฟูและลดภาวะแทรกซ้อน ระบบต่างๆ เช่น ระบบขับถ่ายปัสสาวะ การท�ำงานของล�ำไส้
เหล่านั้นได้ การดูแลผิวหนัง การบริหารร่างกายด้วยตนเอง เป็นต้น เพื่อ
ป้ อ งกั น ภาวะแทรกซ้ อ นต่ า งๆ ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ซึ่ ง ถื อ เป็ น
เป้าหมายหลักในระยะการฟื้ นฟูผ้ปู ่ วยบาดเจ็บไขสันหลัง6 มีดงั นี้ อุปสรรคในการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยคาดหวังว่าถ้าผู้ป่วยได้รับ
1. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถท�ำกิจวัตรประจ�ำวันได้ เคลื่อนไหว การดูแลทีด่ ี มีประสิทธิภาพไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน สามารถฟืน้ ฟู
ได้อย่างเหมาะสมตามระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บ สมรรถภาพอย่างเต็มที่จะส่งผลให้ผู้ป่วยสามารถท�ำกิจวัตร
2.ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น การให้ความรู้ ประจ�ำวันได้ด้วยตนเอง หรือใกล้เคียงกับปกติมากที่สุด ผู้ป่วย
แก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ และญาติยอมรับในพยาธิสภาพ สามารถกลับสูส่ งั คมได้โดยเร็ว10
3. ผู้ป่วยและญาติยอมรับในพยาธิสภาพที่เกิดขึ้นและ ส�ำหรับภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยและควรได้รับการดูแลเพื่อ
สามารถกลับสู่สังคมได้โดยเร็ว ป้องกันในระยะการฟื้นฟูมี ดังต่อไปนี้
การฟื้นฟูสมรรถภาพสามารถเริ่มได้ตั้งแต่วันแรก โดยเริ่ม
จากการประเมินสิ่งแวดล้อมที่ผู้ป่วยต้องกลับไปอยู่และมีการจัด ภาวะแทรกซ้ อนทีพ่ บได้ บ่อยและการพยาบาลเพื่อป้ องกันภาย
สิง่ แวดล้อมให้เหมาะสมกับผูป้ ว่ ยแต่ละราย ผูป้ ว่ ยกลุม่ นีต้ อ้ งการ หลังการบาดเจ็บกระดูกสั นหลังและไขสั นหลัง
เจ้าหน้าที่ที่มีความเชี่ยวชาญในการดูแล7 ได้รับการฝึกฝนมาโดย 1. ภาวะแทรกซ้อนทางระบบทางเดินหายใจ (Pulmonary
640 ศรี นคริ นทร์เวชสาร 2564; 36(5) Srinagarind Med J 2021; 36(5)
การพยาบาลเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้อนผูป้ ่ วยบาดเจ็บกระดูกสันหลัง Nursing Care for Prevention Complications of Patient with Spine

complication) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย โดยเฉพาะ รอบ ท�ำ 10 รอบ หรือ พยายามให้สูดได้อย่างน้อยวันละ 100


ผู้ป่วยที่บาดเจ็บไขสันหลังระดับสูง ท�ำให้เกิดการสูญเสียการ ครั้ง/วัน จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานของปอดได้ดี
ท�ำงานของกล้ามเนือ้ ทีช่ ว่ ยในการหายใจและกล้ามเนือ้ หน้าท้อง - การฝึกหายใจแบบลึกๆ12 (Deep breathing Exercise)
ส่ ง ผลให้ ก ารหายใจและการไอไม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ภาวะ โดยยกแขนทั้งสองข้างขึ้น แนะน�ำให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ ให้
แทรกซ้อนทางระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย เช่น ภาวะปอด ปอดและทรวงอกขยายเต็มที่ ท�ำประมาณ 5 - 10 ครั้ง/รอบ ท�ำ
ติดเชื้อ ถุงลมแฟบ เป็นต้น ซึ่งภาวะปอดติดเชื้อถือว่าเป็นสาเหตุ 3 - 4 รอบต่อวัน
การตายที่ส�ำคัญในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังส่วนคอ4
การฝึ กไออย่างมีประสิทธิภาพ(Cough effective) 11, 12 เพือ่
การพยาบาลเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้ อนทางระบบทางเดิน ส่งผลให้เสมหะที่อยู่ในหลอดลมถูกขับออกมาได้ง่าย ไม่ให้
หายใจ เสมหะคั่งค้าง
เป้ าหมายทางการพยาบาล ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะปอดติดเชื้อ - การฝึกไออย่างมีประสิทธิภาพ ใช้เทคนิคการตั้งใจไอ
การหายใจและการไอมีประสิทธิภาพ (Voluntary coughing) ให้ผู้ป่วย หายใจเข้าลึกๆเร็ว แล้วกลั้น
ไว้ 1-2 วินาที จากนั้นให้ผู้ป่วยอ้าปากแล้วไอออกมาให้แรงพอ
เกณฑ์ การประเมิน ในช่วงหายใจออก หรือใช้เทคนิคการกระแอม (Huffing) เริ่ม
- Oxygen saturation > 95% จากหายใจเข้ า ลึ ก แล้ ว ให้ ห ายใจออกแรงๆ โดยเปล่ ง เสี ย ง
- ไม่พบอาการของการขาดออกซิเจน ได้แก่ หายใจหอบ กระแอม 2-3 ครั้ง
ปลายมือปลายเท้าเย็น ซีด Cyanosis ระดับความรู้สึกตัว - การช่วยไอ (Augmenting cough) โดยให้ผู้ป่วยนอน
เปลี่ยนแปลง กระสับกระส่าย หงาย วางฝ่ามือใต้กระบังลมบริเวณลิ้นปี่และออกแรง ดันมือขึ้น
- Normal Breath Sound ในทิศทางขึ้นสู่ทรวงอกด้านบน ในช่วงที่ผู้ป่วยหายใจออกจนสิ้น
- สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ RR= 16-20 /min, HR = สุดการหายใจออก
60-100/min, BP= 90/60-140/90 mmHg 4. กระตุ้นให้มีการพลิกตะแคงตัว เปลี่ยนท่านอน และ
- ผล Lab ABG อยู่ในเกณฑ์ปกติ pH 7.35-7.45, pCO2 ไขหัวเตียงสูง 90 องศา เพื่อช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้น ป้องกัน
35-45 mmHg, pO2 80-100 mmHg, HCO3 21-27 mmol/l การส�ำลัก
ผู้ป่วยหายใจไม่มีหอบเหนื่อย อัตราการหายใจ 12-24 ครั้งต่อ 5. กระตุ้นให้ดื่มน�้ำอุ่น เพื่อช่วยในการระบายของเสมหะ
นาที ในล�ำคอ
- ระดับความรู้สึกตัวปกติ ทางเดินหายใจโล่งไม่มีสิ่งอุดกั้น 6. ดูแลให้ได้รบั O2 ตามแผนการรักษา เพือ่ เพิม่ Oxygen
supply ไปที่ปอด ช่วยให้มีออกซิเจนใน กระแสเลือดเพียงพอที่
กิจกรรมการพยาบาล จะส่งไปยังเซลล์ต่างๆของร่างกาย
1. ให้ความรู้และอธิบายให้ผู้ป่วยเห็นความส�ำคัญของ 7. ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ SpO2 ทุก 4 ชั่วโมง
การป้องกันการเกิดภาวะปอดติดเชือ้ เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยร่วมมือในการ ร่วมกับสังเกตอาการปอดอักเสบ ได้แก่ หายใจเร็วตื้น หอบ
รักษา เหนื่อย มีไข้ไอมีเสมหะ เป็นต้น
2. แนะน�ำผู้ป่วยหากมีอาการคลื่นไส้อาเจียน ให้ตะแคง
หน้าเพื่อป้องกันการส�ำลักลงปอด 2. ภาวะหลอดเลือดด�ำอุดตัน13 (Deep Venous Thrombosis
3. ทบทวนการฝึกกล้ามเนื้อช่วยในการหายใจผู้ป่วยต้อง
ได้รับการฝึกกล้ามเนื้อช่วยในการหายใจตั้งแต่ระยะแรกจนถึง and Pulmonary embolism) นับเป็นสาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้อัตรา
ระยะฟื้นฟู เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อช่วยหายใจและ การเสียชีวิตเกิดจากการก่อตัวของลิ่มเลือดขึ้นในหลอดเลือด
การฝึกไออย่างมีประสิทธิภาพเพือ่ เพิม่ แรงไอ สามารถขับเสมหะ ภาวะหลอดเลือดด�ำอุดกั้นเกิดจากสาเหตุหลัก 3 ประการ คือ
ที่อยู่ในหลอดลมถูกขับออกมาได้ง่าย ไม่ให้เสมหะคั่งค้าง ดังนี้ การหยุดนิ่งของเลือดด�ำ (venous stasis) ผนังหลอดเลือดด�ำ
การฝึกกล้ามเนื้อหายใจโดยใช้กระบังลม11 (Diaphragmatic ได้รับอันตราย (vessel wall damage) และมีการเปลี่ยนแปลง
breathing Exercise) โดยจัดท่านอนหงาย ไขเตียงสูง 45 - 60 ปัจจัยในการแข็งตัวของเลือด (coagulation changes) ซึ่งเกิด
องศา เริ่มหายใจเข้าทางจมูกช้าๆ ลึกๆ 2-3 วินาทีให้ท้องค่อยๆ จากปัจจัยเสีย่ งหลายอย่าง เช่น การไม่ได้เคลือ่ นไหวร่างกายเป็น
ป่องขึ้น เพื่อให้ถุงลมขยายตัว เพิ่มปริมาตรปอด เพิ่มการแลก เวลานานจากการนั่งรถหรือนั่งท�ำงานนานๆ การนอนพักฟื้น
เปลี่ยนก๊าซเมื่อหายใจเข้าสุดแล้ว หายใจออกทางปากอย่างช้าๆ นานๆ ของผู้ป่วยหลังผ่าตัด กระดูกหัก หรือเป็นโรคหัวใจ แขน
จนท้องค่อยๆ ยุบ ท�ำประมาณ 5-10 ครั้ง/รอบ ท�ำวันละ 3-4 ขาเป็นอัมพาต ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงและอันตรายถึงชีวิตนั่น
รอบ คื อ การหลุ ด ของลิ่ ม เลื อ ดไปอุ ด ที่ ห ลอดเลื อ ดด� ำ ของปอด
- ฝึกกล้ามเนื้อหายใจโดยใช้ Tri-flow จัดท่าไขเตียงศีรษะ (pulmonary embolism) ซึ่งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิต
สูง 45 - 60 องศา โดยให้ผู้ป่วยหายใจเข้าและออกปกติ 2 - 3 การประเมินปัจจัยเสี่ยงและการป้องกันการเกิดหลอดเลือดด�ำ
ครั้ง จากนั้นอม mouth pieces แล้วสูดหายใจเข้าเต็มที่ช้าๆ อุดกั้นจึงเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะช่วยลดอัตราการตายของผู้ป่วยจาก
และค้างในช่วงสุดท้ายของการหายใจเข้า ประมาณ 2 - 3 วินาที การเกิดลิ่มเลือดไปอุดที่หลอดเลือดด�ำของปอดได้
แล้วจึงปล่อยตามจังหวะหายใจออก ท�ำติดต่อกัน 5-10 ครั้ง/ การป้องกันและรักษาภาวะหลอดเลือดด�ำอุดกั้นมีทั้งวิธี
ศรี นคริ นทร์เวชสาร 2564; 36(5) Srinagarind Med J 2021; 36(5) 641
พัชรี บุตรแสนโคตร และ จุฑามาศ คงกลาง Patcharee Butsankot and Juthamas Kongklang

ทางกายภาพและวิธกี ารใช้ยา โดยวิธกี ารทางกายภาพ ได้แก่ การ อาการแทรกซ้อนจากยา เช่น ปวดท้อง ถ่ายเป็นเลือด Hema-
ใช้เครื่องบีบไล่เลือดเป็นจังหวะ (intermittent pneumatic tocrit ลดลง เป็นต้น
compression: IPC) การใช้ 3. ภาวะความดันโลหิตต�่ำ (Orthostatic or Postural
ถุงน่องผ้ายืด (compression stocking) การกระตุ้นผู้ป่วย hypotension)11 ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังระดับสูงมีการสูญเสีย
ลุกจากเตียงเร็วที่สุด (early ambulate) การออกก�ำลังกาย การท�ำงานของระบบประสาทซิมพาเธติก ท�ำให้ขณะเปลี่ยนท่า
ข้อเท้า (ankle exercise) ส่วนวิธีการใช้ยาส่วนใหญ่จะเป็นยา จากท่านอนเป็นท่านั่งหรือท่ายืนอย่างรวดเร็ว เลือดที่ไหลเวียน
กลุ่มต้านการแข็งตัวของเลือด เช่น Heparin และ maintain ในช่องท้องและขาไม่สามารถไหลเวียนกลับได้ตามปกติ ปริมาตร
PTT 1.5-2 เท่า ให้ประมาณ 5-10 วันถึงจะเริม่ เคลือ่ นไหวรยางค์ เลือดที่ไหลเวียนในหลอดเลือดด�ำส่วนกลางลดลง ส่งผลให้เลือด
นั้นได้ หลังจากนั้น 3 วันจะให้ Warfarin และให้ปริมาณที่ได้ ไหลกลับสู่หัวใจลดลง ส่งผลให้เกิดภาวะโลหิตต�่ำขณะเปลี่ยนท่า
Target INR 3.0 และจะให้ต่อไปอีก 3 เดือนในกรณีเป็นหลอด ได้14
เลือดด�ำอุดตัน และกรณี pulmonary embolism จะให้ยาต่อ
อีกประมาณ 3-6 เดือน การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะความดันโลหิตต�่ำขณะเปลีย่ นท่ า
เป้ าหมายการพยาบาล ผู้ป่วยไม่เกิดความดันโลหิตต�่ำขณะ
การพยาบาลเพื่อป้ องกันภาวะหลอดเลือดด�ำอุดตัน เปลี่ยนท่า
เป้ าหมายการพยาบาล ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะหลอดเลือดด�ำ เกณฑ์ การประเมิน
ส่วนลึกอุดตัน (deep vein thrombosis) -ความดันโลหิตปกติ ไม่มีอาการเวียนศีรษะ หน้ามืด ขณะ
เกณฑ์ การประเมิน เปลี่ยนท่า
- ขาทั้ง 2 ข้างไม่มีอาการบวม ตึง อุ่น แดง ร้อน ซีด กิจกรรมการพยาบาล
- คล�ำ Dorsalis pedis pulse และ Posterior tibial 1. แนะน�ำให้ผปู้ ว่ ยลุกจากเตียงเร็วทีส่ ดุ (early ambulate)
artery pulse ได้ เมื่อไม่มีข้อห้าม
- Calf enlargement ของขาทั้ง 2 ข้าง ต่างกันน้อยกว่า 2. วัดความดันโลหิตก่อนปรับศีรษะหรือหัวเตียง และดูแล
2 เซนติเมตร ปรับขึ้นบ่อยๆหรือใช้เตียงปรับระดับ (tilt table) ก่อนการลุก
กิจกรรมการพยาบาล จากเตียง
1. ประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดด�ำ 3. ดูแลใช้ผ้าพันรอบท้องและขา เพื่อไม่ให้เลือดมาคั่งอยู่
ส่วนลึกอุดตัน ในช่องท้องและขาของผู้ป่วย
2. ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะหลอดเลือด 4. ถ้าผู้ป่วยมีปัญหาโลหิตจาง ต้องรายงานแพทย์เพื่อ
ด�ำส่วนลึกอุดตันทุก 8 ชั่วโมง ได้แก่ ขาบวมข้างเดียว (unilat- วางแผนการรักษาต่อไป เช่น ให้เลือดและ/หรือยาบ�ำรุงเลือด
eral leg swelling) ปวดที่ขาข้างเดียว Homan’s sign แสดง อีกทั้งแก้ที่สาเหตุด้วย
ผลบวก ผิวหนังแดงและอุณหภูมิที่ผิวหนังสูงขึ้น สังเกตเห็น 5. เน้นย�้ำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนท่าทางอย่างทันที
หลอดเลือดด�ำที่อยู่ในชั้นใต้ผิวหนังได้ชัดขึ้น 13 และสอบถาม ทันใด
อาการปวดน่อง ชา หรือเป็นตะคริว อาการกดเจ็บบริเวณน่อง 6. ดูแลให้ผู้ป่วยได้น�้ำและอาหารอย่างเพียงพอ ติดตาม
หรือขาหนีบ ทุกเวร ปริมาณน�้ำเข้า-ออกจากร่างกาย
3. วัดเส้นรอบวงต้นขาและน่อง ทุกวันวันละ 1 ครั้ง ถ้า
พบว่าขาบวมข้างเดียว ≥ 2 เซนติเมตรรายงานให้แพทย์ทราบ 4. Autonomic Dysreflexia15 เป็นอาการที่เกิดหลังจาก
4. กระตุ้นดื่มน�้ำมากกว่า 3,000 มิลลิลิตรต่อวัน เพื่อเพิ่ม พ้น spinal shock แล้ว พบในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังตั้งแต่
การไหลเวียนโลหิต ระดับ T6 ขึ้นไป โดยเฉลี่ยร้อยละ 80 มีอาการภายใน 1 ปี หลัง
5. กรณีไม่มีข้อห้ามต่อการขยับข้อ กระตุ้นให้ผู้ป่วยออก เกิดการบาดเจ็บ ผลของการบาดเจ็บของไขสันหลังท�ำให้การ
ก�ำลังกายชนิดคงพิสัยข้อแบบท�ำด้วยตนเอง (active range of สื่อสารระหว่างสมองและร่างกายส่วนล่างไม่เป็นไปตามปกติ
motion) หรือให้ผู้อื่นช่วยบางส่วน (active assistive ROM) ร่างกายจึงสูญเสียการปรับสมดุลอัตโนมัติของระบบประสาท
โดยใช้ท่ากระดกข้อเข่าขึ้นลง (ankle pump) การหมุนข้อเท้า อัตโนมัติ เมื่อถูกกระตุ้นด้วยสิ่งไม่พึงประสงค์บริเวณต�่ำกว่าที่มี
(ankle cycle) และเลือ่ นเท้าขึน้ ลงบนเตียง (ankle slide) อย่าง การบาดเจ็บของไขสันหลัง ที่พบมาก ได้แก่ กระเพาะปัสสาวะ
น้อยท่าละ 15 ครั้ง 2 รอบต่อวัน กรณีผู้ป่วยสามารถลุกขึ้นยืน เต็ ม เครื่ อ งแต่ ง กายคั บ /รั ด แน่ น มาก อุ จ จาระอั ด แน่ น ใน
เดินเองได้ ควรแนะน�ำให้ลุกออกจากเตียง แล้วเริ่มยืนเดินให้เร็ว ล�ำไส้ใหญ่ส่วนล่าง เป็นต้น สิ่งเร้าเหล่านี้จะมากระตุ้นอวัยวะ
ที่สุด13 ภายในหรือส่วนที่เป็นอัมพาต ระบบประสาท sympathetic จะ
6. ดูแลใส่ Intermittent pneumatic compression ถูกกระตุ้นและระบบ parasympathetic จะตอบสนองเพื่อให้
device (IPC หรือ PCD) ให้ผู้ป่วยตามแผนการรักษา เพื่อส่ง เกิดความสมดุลแต่ไม่สามารถส่งกระแสประสาทดังกล่าวมา
เสริมการไหลเวียนเลือดกลับ ยับยั้งได้ จึงท�ำให้หลอดเลือดจะหดตัวท�ำให้ความดันโลหิตสูง
7. ในรายที่มีความเสี่ยงสูงอาจให้ยาต้านการแข็งตัวของ อย่างเฉียบพลัน จึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่งที่จะต้องวินิจฉัยและ
เกร็ดเลือด เช่น Low molecular weight heparin (LMWH) ให้การรักษาแก้ไขอย่างทันที ไม่ให้เกิดอันตรายถึงชีวิตต่อผู้ป่วย
ภายใน 72 ชั่วโมงหลังบาดเจ็บ ตามแผนการรักษาและเฝ้าระวัง
642 ศรี นคริ นทร์เวชสาร 2564; 36(5) Srinagarind Med J 2021; 36(5)
การพยาบาลเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้อนผูป้ ่ วยบาดเจ็บกระดูกสันหลัง Nursing Care for Prevention Complications of Patient with Spine

อาการส�ำคัญของกลุม่ อาการนี้ ได้แก่ ความดันโลหิตสูงมากอย่าง complications) พบว่า ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังจะมีอาการ


เฉียบพลันท�ำให้มีอาการปวดศีรษะ แต่อัตราการเต้นของหัวใจ Neurogenic bowel ท�ำให้ไม่สามารถควบคุมการขับถ่าย
จะช้าหรือใกล้เคียงปกติ มีผิวหนังแดงบริเวณเหนือส่วนที่บาด อุจจาระได้ปกติ บางรายมีภาวะท้องผูก ซึง่ การควบคุมนีส้ ามารถ
เจ็บ แต่จะซีดและเย็นบริเวณต�่ำกว่าที่บาดเจ็บ เหงื่อออกมาก แก้ไขและฝึกได้ ดังนี้
ขนลุก ผู้ป่วยจะมีอาการไม่สุขสบายอย่างมาก 1. ให้รับประทานอาหารที่มีกากอาหารและน�้ำให้เพียงพอ
รวมถึงสารอาหาร
การพยาบาลเพื่อป้ องกันการเกิดภาวะ Autonomic 2. ให้ยาที่ท�ำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม
Dysreflexia11 3. จัดท่าทางในการขับถ่ายที่เหมาะสมคือ จัดท่านั่งเวลา
ถ่ายให้งอข้อสะโพกและข้อเข่า ส่วนท่านอนให้จัดนอนตะแคง
เป้ าหมายการพยาบาล ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะ Autonomic ด้านซ้าย
Dysreflexia
เกณฑ์ การประเมิน การพยาบาลเพื่อป้ องกันภาวะท้ องผูก
- ความดันโลหิตปกติ
- ไม่ปวดศีรษะ หน้าและล�ำตัวส่วนบนไม่แดง เป้ าหมายการพยาบาล ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะท้องผูก
- ไม่มีอาการคัดและแน่นจมูก การมองเห็นชัดเจน เกณฑ์ การประเมิน
- ไม่มีเหงื่อออกและมีรอยแดงที่ผิวหนังเหนือกว่าระดับ - ถ่ายอุจจาระได้อย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์
ไขสันหลังที่ได้รับบาดเจ็บ - สุขสบายท้อง ไม่แน่นอึดอัด
- ไม่มีขนลุกและรู้สึกหนาว หรือมีสีของผิวหนังที่ซีดเผือด กิจกรรมการพยาบาล
ต�่ำกว่าระดับไขสันหลังที่ได้รับบาดเจ็บ วิธีการฝึ กการขับถ่ ายอุจจาระ
กิจกรรมการพยาบาล 1. ฝึกการขับถ่ายให้เป็นเวลา โดยค�ำนึงถึงนิสัยของการขับ
1. ติดตามจ�ำนวนปัสสาวะ ลักษณะของปัสสาวะ ไม่ให้สาย ถ่ายเดิม
สวนปัสสาวะหัก พับงอหรือดึงรั้งท่อปัสสาวะ บีบรีดสายยาง 2. จัดให้ผู้ป่วยนั่งบน commode หรือนั่งถ่ายในห้องสุขา
(milking) บ่อย ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ตะกอนหรือลิ่มเลือดอุดกั้น หลังจากทานอาหารหรือจิบน�้ำอุ่น เพื่อกระตุ้น gastrocolic
อยู่ภายในสายยาง reflex
2. ติดตามการขับถ่ายอุจจาระและปรับเปลี่ยนแผนการขับ 3. ถ้ายังไม่มี bowel movement จะกระตุ้นด้วยการใช้
ถ่ายอุจจาระ เพื่อป้องกันอาการท้องผูกหรืออุจจาระคั่งในล�ำไส้ นิ้วกระตุ้น หรือใช้ digital evacuation
3. สังเกตและเฝ้าระวังการกระตุ้นที่ผิวหนัง เช่น เล็บขบ 4. การใช้ยาหรือสบู่เหน็บกัน เช่น Bisacodyl
แมลงกัด ต่อย เป็นต้น 5. การสวนถ่ายใช้ให้ผู้ป่วยมีอาการ Fecal impact
4. ให้การดูแลผิวหนังไม่ให้เกิดแผลกดทับ เพื่อป้องกัน เท่านั้น
การกระตุ้นให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ การจัดการเกีย่ วกับความผิดปกติของการขับถ่ ายอุจจาระ
ในปัจจุบันมีหลากหลายวิธี14 ดังต่อไปนี้
การพยาบาลเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะ Autonomic Dysreflexia11 1. การเหน็บยาระบายเป็นวิธีการหนึ่งที่นิยมใช้ในการ
1. ไขเตียงสูง 45 ถึง 90 องศาหรือท�ำให้ผู้ป่วยลุกขึ้นนั่ง จัดการล�ำไส้ ส่วนมากจะใช้ Bisacodyl และ glycerin โดย
เพื่อช่วยลดความดันโลหิต glycerin จะท�ำหน้าที่เป็นสารหล่อลื่นและมีผลกระตุ้นการบีบ
2. ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ Autonom- ตัวของล�ำไส้ใหญ่เฉพาะที่ ส่วน Bisacodyl จะออกฤทธิ์กระตุ้น
ic Dysreflexia การบีบตัวของล�ำไส้ใหญ่ การเหน็บยาและล้วงเอาอุจจาระออก
3. ประเมินสัญญาณชีพและสภาวะทางกาย จากล�ำไส้ใหญ่ ควรท�ำทุก 2 – 3 วัน โดยจัดให้ผู้ป่วยนอนตะแคง
4. ค้นหาและจัดการกับสิ่งเร้าที่กระตุ้นผู้ป่วย โดยถอด ขวาเมื่อล้วงเอาอุจจาระออก จะท�ำให้ล้วงอุจจาระออกได้ง่าย
เสื้อผ้าที่คับหรืออุปกรณ์หรือถุงน่องที่มีการบีบรัด ประเมินการ ขึ้น
คั่งของปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะออกน้อย กระเพาะปัสสาวะโป่ง 2. การรับประทานยาระบายโดยที่ยามีคุณสมบัติในการ
ตึง หากพบให้บีบรีดสายยาง (milking) หรือเปลี่ยนสายสวน กระตุน้ ล�ำไส้ เป็นสารอุม้ น�ำ้ เพิม่ มวลอุจจาระ และท�ำให้อจุ จาระ
ปัสสาวะใหม่ ประเมินภาวะอุจจาระคั่งในล�ำไส้หรือทวารหนัก นิ่ม
หากพบควรล้วงหรือสวนอุจจาระออก ประเมินสิง่ กระตุน้ บริเวณ 3. การกระตุ้นทวารหนักด้วยนิ้วมือ โดยการสอดนิ้วมือเข้า
ผิวหนัง เช่น เล็บขบ แมลงกัด และจัดการตามความเหมาะสม ทางช่องทวารหนักเพือ่ เพิม่ การหดตัวของล�ำไส้ใหญ่และอุจจาระ
5. ให้ยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา เช่น Nifed- ลงมาทวารหนักร่วมกับการล้วงอุจจาระ
ipine 5-10 mg, nitrate, prazosin, hydralazine 4. แนะน�ำเรื่องการนวดหน้าท้อง11 พร้อมทั้งลงมือปฏิบัติ
6. การให้ความรู้และการปฏิบัติตัวแก่ผู้ป่วยและญาติใน โดยนวด เป็นเวลา 10-15 นาที เพื่อกระตุ้นการท�ำงานของล�ำไส้
กรณีท่ีสงสัยภาวะ Autonomic Dysreflexia ลดอาการแน่นท้อง ท้องอืด ลดระยะเวลาที่อุจจาระอยู่ในล�ำไส้
(colonic transit time) เวลานวดท้องที่เหมาะสม คือ หลังรับ
5. ภาวะแทรกซ้ อนของระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal ประทานอาหารอย่างน้อย 1 ชัว่ โมง ซึง่ สามารถปฏิบตั ทิ งั้ ในขณะ
ศรี นคริ นทร์เวชสาร 2564; 36(5) Srinagarind Med J 2021; 36(5) 643
พัชรี บุตรแสนโคตร และ จุฑามาศ คงกลาง Patcharee Butsankot and Juthamas Kongklang

ที่อยู่โรงพยาบาล และเมื่อกลับไปอยู่ที่บ้าน โดยการจัดท่าให้ บริเวณที่เกิดแผลกดทับได้บ่อย16, 17 ได้แก่


ผู้ป่วยนอนหงายในท่าที่สบายและจัดเสื้อผ้าเปิดบริเวณท้อง 1. ท่านอนหงาย บริเวณที่เกิด คือ ท้ายทอย ใบหู หลังส่วน
เท่านัน้ ถ้าผูป้ ว่ ยมีอาการเกร็งของกล้ามเนือ้ หน้าท้องให้ใช้หมอน บน ก้นกบ ข้อศอก ส้นเท้า
รองใต้เข่า เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อนตัว เทโลชั่น 2. ท่านอนคว�่ำ บริเวณที่เกิด คือ ใบหูและแก้ม หน้าอกและ
บริเวณมือของผู้นวด ลูบสัมผัสให้ทั่วบริเวณหน้าท้อง เพื่อลดแรง ใต้ราวนม หน้าท้อง หัวไหล่ สันกระดูกตะโพก หัวเข่าปลายเท้า
เสียดสีระหว่างการนวด บริเวณที่นวดหน้าท้องควรต�่ำกว่าใต้ 3. ท่านอนตะแคง บริเวณที่เกิด คือ ศีรษะด้านข้าง หัวไหล่
กระดูกซี่โครง 2 นิ้ว เพื่อป้องกันการบาดเจ็บของกระดูกอ่อน กระดูกก้น ปุ่มกระดูกต้นขา หัวเข่าด้านหน้า ตาตุ่ม
- ท่าที่ 1 ท่านวดตามแนวเส้นตรง: แบ่งหน้าท้องตามยาว 4. ท่านั่งนานๆ บริเวณที่เกิด คือ ก้นกบ ปุ่มกระดูกก้น หัว
ออกเป็น 3-4 ส่วน จากบนลงล่าง วางมือมือ 2 ข้างซ้อนกัน ใช้ เข่าด้านหลัง กระดูกสะบัก เท้า ข้อเท้าด้านนอก
นิ้วมือ 3 นิ้ว (นิ้วชี้ กลาง นาง) กดหน้าท้องลึกประมาณ 1 นิ้ว การพยาบาลเพื่อป้ องกันการเกิดแผลกดทับ16
และวนตามเข็มนาฬิกาครั้งละ 5 รอบ ตามแนวเส้นตรงที่แบ่งไว้ เป้ าหมายการพยาบาล ผู้ป่วยไม่เกิดแผลกดทับบริเวณ
จากนั้นเลื่อนมือให้ต่อกันกับวงแรก และท�ำซ�้ำเดิมตามแนวที่
ก�ำหนดไว้จนครบ เกณฑ์ การประเมิน
- ท่าที่ 2 ท่าโกยล�ำไส้: วางมือซ้อนกันและกดสันมือโกยลง - ไม่มีรอยแดงบริเวณก้นกบหรือปุ่มกระดูกต่าง ๆ
ตั้งแต่บริเวณกลางสะดือถึงหัวหน่าว ท�ำทั่วหน้าท้อง ประมาณ - ไม่พบแผลกดทับที่บริเวณต่าง ๆ ของร่างกายผู้ป่วย
10 ครั้ง - ไม่พบแผลกดทับจากการใส่อุปกรณ์ทางการแพทย์
- ท่าที่ 3 ท่าโยกล�ำไส้: วางสันมือซ้อนกัน ใช้สันมือทั้งสอง กิจกรรมการพยาบาล
ข้างนวดดันหน้าท้องด้านใกล้ตัวไปด้านตรงข้าม แล้วใช้ปลายมือ 1. ให้ความรู้และทักษะในการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยและผู้
โกยหน้าท้องกลับเข้าหาตัวผูน้ วด ท�ำซ�ำ้ ให้ทวั่ หน้าท้อง ประมาณ ดูแลเพื่อป้องกันแผลกดทับ
10 ครั้ง 2. ประเมิ น ปั จ จั ย เสี่ ย งต่ อ การเกิ ด แผลกดทั บ ตามแนว
- ท่าที่ 4 ท่านวดตามแนวล�ำไส้ : ใช้วิธีนวดตามแบบท่าที่ ปฏิบัติเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ16 โดยประเมินซ�้ำทุกเวร
1 ให้วนจากรอบสะดือออกมาด้านนอกตามเข็มนาฬิกา โดยนวด 3. ให้การพยาบาลเพือ่ ป้องกันการเกิดแผลกดทับตามปัจจัย
จากด้านขวามือของผู้ป่วยไปทางด้านซ้าย ท�ำให้ทั่วหน้าท้องโดย เสี่ยงผู้ป่วยที่ใส่อุปกรณ์ส�ำหรับช่วยหายใจหรือให้ออกซิเจน คือ
เน้นแนวล�ำไส้ใหญ่เป็นหลัก - ประเมินสภาพผิวหนังบริเวณที่ใช้อุปกรณ์การแพทย์
การจัดการเกีย่ วกับการขับถ่ายของผูป้ ว่ ยบาดเจ็บไขสันหลัง ส�ำหรับช่วยหายใจหรือให้ออกซิเจน
นั้นจะแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับระดับการบาดเจ็บของแต่ละ - ประเมิน fixation device และพิจารณาเปลี่ยนเมื่อ
คน ทั้งนี้ การจัดการเกี่ยวกับการขับถ่ายด้วยวิธีเดียวอาจจะไม่ fixation device รัดแน่นเกินไป หรือเมื่อเปียกชื้น
ประสบความส�ำเร็จ อาจต้องใช้การผสมผสานในหลากหลายวิธี - ใช้ polyurethane foam ปิดป้องกันบริเวณที่อุปกรณ์
เข้าด้วยกัน เช่น การรับประทานอาหาร การรับประทานยา การแพทย์กดทับ
ระบาย การเหน็บยาหรือการกระตุ้นล�ำไส้ร่วมกัน 4. ให้การพยาบาลเพือ่ ป้องกันการเกิดแผลกดทับตามปัจจัย
เสี่ยงผู้ป่วยที่มีข้อจ�ำกัดในการเคลื่อนไหว คือ
6. การเกิดแผลกดทับ16 แผลกดทับเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้ - ประเมินสภาพผิวหนังใต้บริเวณปุ่มกระดูก ส้นเท้า โดย
ป่วยที่มีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหว ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เอง ตรวจดูว่ามีรอยแดง รอยช�้ำ บวม ผิวหนังมีสีคล�้ำ แข็ง นิ่ม ร้อน
ผิวหนังถูกกดทับเป็นเวลานานอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้เลือดไม่ หรือเย็นแตกต่างไปจากผิวหนังบริเวณใกล้เคียง เจ็บ ปวด หรือ
สามารถไหลเวียนไปเลี้ยงผิวหนังที่ถูกกดทับได้อย่างสะดวก ส่ง มีแผล และใช้ polyurethane foam ปิดบริเวณปุ่มกระดูก
ผลให้ผิวหนังมีลักษณะเป็นรอยแดงและมีการแตกท�ำลายของ - ใส่ที่นอนลมเพื่อลดและกระจายแรงกด และตรวจสอบ
ผิวหนัง ซึ่งพบได้ในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บไขสันหลังแบบ Para- ที่นอนลมให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
plegia และ Quadriplegia ถ้าไม่ได้รับการป้องกันดูแลตั้งแต่ - พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชม และเปลี่ยนท่าโดยใช้ผ้ารองยก
ระยะเริ่มแรกก็จะส่งผลให้เกิดแผลกดทับตามมาได้ ซึ่งการเกิด ตัว หลีกเลี่ยงการลากดึง ต้องมีเจ้าหน้าที่ช่วยเปลี่ยนท่าและ
แผลกดทับจะส่งผลให้ผู้ป่วยทุกข์ทรมาน จากการรักษาที่ยุ่งยาก เคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างน้อย 2-4 คน
เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น และส่งผลกระทบต่อทางด้านจิตใจของผู้ - กรณีจัดท่านอนหงายศีรษะสูง 30 องศา ให้ปรับระดับใต้
ป่วยด้วย เข่าสูงขึ้น เพื่อป้องกันการเกิดการเลื่อนไถล
การป้องกันการเกิดแผลกดทับมี 2 แบบ คือการป้องกัน - กรณีจัดท่านอนตะแคงกึ่งหงายเอียง 30 องศา ให้นอน
ก่อนเกิดแผล (primary prevention) และการป้องกันไม่ให้เกิด ตะแคงกึ่งหงายให้สะโพกเอียงท�ำมุม 30 องศากับที่นอน เพื่อ
แผลกดทับซ�ำ้ หลังจากทีเ่ คยเกิดแล้ว (secondary prevention) หลีกเลีย่ งแรงกดโดยตรงกับปุม่ กระดูกบริเวณไหล่และสะโพก ใช้
ในปัจจุบันยังคงไม่มีอุปกรณ์ใดที่สามารถลดแรงกดทับได้ดีที่สุด หมอน ผ้าหรือเบาะสอดคั่น ระหว่างเข่าและขาทั้งสองข้าง เพื่อ
เพียงแค่ช่วยลดแรงกดทับที่กระท�ำต่อพื้นผิวร่างกายเพียงบาง ป้องกันการเสียดสีและลดแรงกดทับระหว่างปุ่มกระดูก ยกส้น
ส่วนเท่านั้น การป้องกันที่ได้ประสิทธิผลที่ดีที่สุดยังคงเป็นการ เท้าลอยจากพื้นผิวเตียง โดยใช้หมอนหรือผ้ารองใต้น่อง
ท�ำกายภาพบ�ำบัดร่วมกับการพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง 5. ประเมินผิวหนังทุกครั้งที่มีกิจกรรมพยาบาลบริเวณจุด
เพื่อไม่ให้เกิดแผลกดทับขึ้น เสี่ยง ได้แก่ บริเวณที่มีอุปกรณ์ทางการแพทย์กดทับ บริเวณปุ่ม
644 ศรี นคริ นทร์เวชสาร 2564; 36(5) Srinagarind Med J 2021; 36(5)
การพยาบาลเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้อนผูป้ ่ วยบาดเจ็บกระดูกสันหลัง Nursing Care for Prevention Complications of Patient with Spine

กระดูกต่าง ๆ เป็นต้น tion) มักเป็นทางเลือกส�ำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถสวนปัสสาวะ


6. หากผิวหนังมีการเปลี่ยนแปลง เช่น มีรอยแดง รอยช�้ำ ด้วยตนเองได้หรือไม่มีญาติในการดูแลสวนปัสสาวะให้ผู้ป่วย
บวม สีคล�้ำ แข็ง นิ่ม ร้อน เจ็บปวด ควรเปลี่ยนต�ำแหน่งที่ถูกกด หรือไม่ต้องการสวนปัสสาวะเป็นประจ�ำ หรือปัสสาวะเล็ดราด
ทับจากอุปกรณ์การแพทย์ และพลิกตะแคงตัวเร็วกว่าทุก 2 ควบคุมไม่ได้
ชั่วโมง
7. การส่งเสริมให้มีการไหลเวียนโลหิตโดยการท�ำ ROM การพยาบาลเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้ อนทางระบบทางเดิน
ของข้อเท้า และ isometric exercise การหดเกร็งของขาเป็น ปัสสาวะ22-24
สาเหตุให้เพิ่มแรงกดต่อผิวหนังมากขึ้น ควรรายงานแพทย์เพื่อ
ให้ยาลดการหดเกร็ง กรณีทคี่ าสายสวนปัสสาวะ22
8. ดู แ ลให้ ผู ้ ป ่ ว ยมี ภ าวะโภชนาการที่ เ พี ย งพอ ซึ่ ง การ เป้ าหมายการพยาบาล ผู้ป่วยไม่เกิดการติดเชื้อระบบทางเดิน
ประเมินภาวะโภชนาการความต้องการอาหารและภาวะสุขภาพ ปัสสาวะ
ของผู ้ ป ่ ว ยแรกรั บ เป็ น สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง การด� ำ รงภาวะ เกณฑ์ การประเมิน
โภชนาการของผู้ป่วยให้เพียงพอเป็นสิ่งจ�ำเป็นในการป้องกัน - ลักษณะปัสสาวะสีเหลืองใส ไม่ขุ่น
และรักษาแผลกดทับให้หาย - ไม่มีสิ่งคัดหลั่งลักษณะหนองบริเวณรูเปิดท่อปัสสาวะ
7. ภาวะแทรกซ้ อนทางระบบทางเดินปัสสาวะ18 ภาวะ - สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ RR= 16-20 /min, HR =
กระเพาะปั ส สาวะพิก ารจากระบบประสาท (Neurogenic 60-100/min, BP= 90/60-140/90 mmHg
bladder) ผู้ป่วยต้องได้รับการประเมินลักษณะการท�ำงานของ - ผล Lab U/A อยู่ในเกณฑ์ปกติ WBC 0-5 /HP, leuko-
กระเพาะปัสสาวะและหูรูด ซึ่งจะเป็นตัวบ่งชี้ในแนวทางปฏิบัติ cyte NEG, bacteria Negative
ที่เหมาะสม ปลอดภัย อีกทั้งยังช่วยป้องกันภาวะติดเชื้อและโรค - ผล MUC ไม่พบเชื้อ
แทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ การตรวจประเมินมีดังนี้ กิจกรรมการพยาบาล
1. ทางเดิ น ปั ส สาวะส่ ว นบน ได้ แ ก่ การส่ ง ตรวจ 1. ให้การพยาบาลเพือ่ ป้องกันและควบคุมการติดเชือ้ ระบบ
ultrasound, plain KUB, CT, IVP ทางเดินปัสสาวะ
2. ทางเดิ น ปั ส สาวะส่ ว นล่ า ง ได้ แ ก่ cystography, 2. ให้การพยาบาลตามหลัก aseptic technique ลดการ
cystoscopy, cystometry, urodynamic study ปนเปื้อนเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายผู้ป่วย โดยการรักษาความสะอาด
เป้าหมายในการฟืน้ ฟูระบบขับถ่ายปัสสาวะ คือให้ปสั สาวะ ล้างมืออย่างถูกวิธีล้างมือทุกครั้งก่อนและหลังให้การพยาบาล
ออกได้ และเหลือปัสสาวะคั่งค้างน้อยที่สุด โดยที่แรงดันหรือ 3. ท�ำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยน�้ำต้มสุกและสบู่
แรงบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะอยู่ในเกณฑ์ปกติ ป้องกันภาวะ เช้า-เย็น ท�ำความสะอาดหลังถ่ายอุจจาระทุกครั้ง
แทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น เช่น การติดเชื้อ การไหลย้อนกลับของ 4. แขวนถุงเก็บปัสสาวะต�่ำกว่าระดับกระเพาะปัสสาวะ
ปัสสาวะ และภาวะไตวาย เป็นต้น และป้องกันปัสสาวะเล็ดราด และห่างจากพื้นอย่างน้อย 15 เซนติเมตร
เพื่อไม่ให้เป็นปัญหาในการเข้าสังคมต่อไป 5. ดูแลสายไม่ให้หักพับงอหรืออุดตัน เพื่อช่วยระบาย
การดูแลรักษามีดังนี้19-21 ปัสสาวะ ติดตามบีบรูดสายบ่อยๆ เพื่อป้องกันการคั่งค้างของ
1. การสวนปัสสาวะเป็นระยะ (Intermittent catheter- ปัสสาวะ และท�ำให้เกิดแรงดูดสิ่งที่ติดอยู่ในสายให้ออกมา
ization) เหมาะส�ำหรับผู้ป่วยที่สามารถสวนปัสสาวะได้เองหรือ 6. ล้างมือและสวมถุงมือสะอาดคูใ่ หม่กอ่ น-หลังเทปัสสาวะ
มีญาติสามารถสวนปัสสาวะให้ผู้ป่วยได้ วิธีนี้มีอัตราการติดเชื้อ ทุกครั้ง เช็ดปลายท่อก่อนและหลังเทน�้ำปัสสาวะด้วย 70%
ต�่ำกว่าการคาสายสวนปัสสาวะ โดยใช้สายสวนชนิด silicone แอลกอฮอล์ เทน�้ำปัสสาวะทุก 8 ชั่วโมงหรือเมื่อมีน�้ำปัสสาวะ
สวนปัสสาวะให้ผู้ป่วยทุก 4-6 ชั่วโมง และควรสวนปัสสาวะ ประมาณ 3 ส่วน 4
แต่ละครั้งไม่เกินกว่า 500 มิลลิลิตร การสวนปัสสาวะเป็นระยะ 7. ดูแลสายสวนปัสสาวะให้เป็นระบบปิดตลอดเวลา หาก
จะต้องมีการควบคุมปริมาณน�้ำดื่มของผู้ป่วยโดยเฉลี่ยประมาณ พบการรั่ว อุดตันหรือติดเชื้อให้เปลี่ยนและใส่สายสวนปัสสาวะ
1.8-2.0 ลิตร/วัน บางครั้งถ้าผู้ป่วยมีปัญหาในเรื่องความดันจาก ใหม่
การบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะมากเกินไปอาจต้องได้รับยากิน 8. ระวังไม่ให้มีการดึงรั้งของสายสวนปัสสาวะ เพราะจะ
เพือ่ คลายกระเพาะปัสสาวะ ซึง่ มีฤทธิเ์ ป็น Anticholinergic เช่น ท�ำให้ท่อทางเดินปัสสาวะบาดเจ็บเป็นแผล เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วย
Oxybutynin ติดเชื้อ ดูแลให้มีการยึดตรึงของสายสวนปัสสาวะตลอดเวลา
2. การฝึกเข้าห้องน�้ำเป็นเวลา (time voiding) ให้ผู้ป่วย 9. พลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุก 2 ชม.เพื่อช่วยไม่ให้เกิดการขัง
ฝึกหัดขับถ่ายปัสสาวะโดยก่อนการสวนอาจใช้วิธีเคาะที่ท้อง นิ่งของปัสสาวะเป็นสาเหตุให้มีการตกตะกอนและเชื้อโรคเจริญ
น้อย หรือลูบที่ต้นขาด้านในและถ้าปริมาณปัสสาวะเหลือค้าง ได้ดี
น้อยกว่า 50 มิลลิลิตรก็สามารถหยุดการสวนได้ 10. แนะน�ำให้ดื่มน�้ำอย่างเพียงพอวันละ 1–1.5 ลิตร/วัน
3. การให้ยา anticholinergic agents ถ้าไม่มีข้อจ�ำกัด
4. การผ่าตัดรักษาเช่น augmentation, sphincteroto- 11. บันทึกปริมาณน�้ำเข้า-ออกของร่างกายผู้ป่วยทุก 8
my ชั่วโมง
5. การคาสายสวนปัสสาวะ (Indwelling catheteriza- 12. ประเมินลักษณะ สีของปัสสาวะ ขณะใส่คาสายสวน
ศรี นคริ นทร์เวชสาร 2564; 36(5) Srinagarind Med J 2021; 36(5) 645
พัชรี บุตรแสนโคตร และ จุฑามาศ คงกลาง Patcharee Butsankot and Juthamas Kongklang

ปัสสาวะ หากมีอาการผิดปกติที่เป็นการแสดงถึงการติดเชื้อใน ถูกต้อง ยอมรับการเผชิญปัญหา ที่เกิดจากภาพลักษณ์ที่เปลี่ยน


ระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะมีสีขุ่น มีตะกอน หรือมี ไปของร่างกายหลังการบาดเจ็บ ช่วยตัง้ เป้าหมาย ส่งเสริมให้เห็น
hematuria รายงานแพทย์ทราบ คุณค่าของตนเอง10 บุคลากรทางการแพทย์หลายสาขาทั้งแพทย์
8. ภาวะกล้ ามเนื้ อหดเกร็ ง (spasticity) เป็ น ภาวะที่ มี เฉพาะทาง พยาบาล นักสังคมสงเคราะห์ นักกายภาพบ�ำบัด นัก
ลักษณะ velocity dependent มีการเพิ่มขึ้นของ muscle จิตวิทยา ทุกคนท�ำงานประสานกันและเข้าใจบทบาทของกันและ
tone และ stretch reflex ตอนแรกจะมีลักษณะ flexor spas- กัน ผูป้ ว่ ย ครอบครัว ผูด้ แู ลญาติสนิทมิตรสหายก็เป็นกลุม่ บุคคล
ticity เด่น แต่ในระยะหลังจะค่อยๆเปลี่ยนเป็น extensor ทีม่ คี วามส�ำคัญไม่นอ้ ยไปกว่าทีมสุขภาพ ผูร้ ว่ มดูแลจะเป็นก�ำลัง
spasticity ใจที่ส�ำคัญของผู้ป่วย ตลอดจนความช่วยเหลือจากชุมชน ผู้น�ำ
การรั ก ษาภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งจ�ำเป็น ต้องมี ข ้ อ บ่ ง ชี้ ทางศาสนา สมาคม และอาสาสมัครต่าง ๆ จะช่วยประคับ
เพราะภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งเองอาจมีประโยชน์ เช่น ช่วยลด/ ประคองดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยตั้ ง แต่ มี ก ารคุ ก คามจากโรค จนถึ ง วาระ
ป้องกันภาวะกล้ามเนื้อฝ่อลีบ ลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิด deep สุดท้ายของชีวิต
vein thrombosis ลดภาวะกระดูกบาง และอาจช่วยการยืน พยาบาลมีบทบาทส�ำคัญในการให้ก�ำลังใจ และสนับสนุน
เดินได้ ส�ำหรับการรักษาภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งจะพิจารณาเมื่อ บุคคลในครอบครัวให้ได้มีโอกาสแสดงความรู้สึก และให้ผู้ดูแล
เกิดการรบกวนต่อการท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน การเดิน การเคลื่อน ได้ผ่อนคลาย ได้พักทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ย้ายตัว เป็นต้น รบกวนการนอนของผู้ป่วย ท�ำให้เกิดอาการปวด นั ก จิ ต วิ ท ยามี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการประเมิ น โดยอาจใช้
และข้อยึดติดผิดรูป Hospital Anxiety and Depression Scale (HADS) เพื่อ
ประเมินอาการวิตกกังวลและซึมเศร้า ตั้งแต่ระยะแรกรับจน
การพยาบาลเพื่อการแก้ ไขภาวะกล้ ามเนื้อหดเกร็ง จ�ำหน่ายให้ค�ำปรึกษาแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
นักสังคมสังเคราะห์เป็นตัวกลางระหว่างผู้ป่วย ทีมสุขภาพ
เป้ าหมายการพยาบาล ลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อในผู้ป่วย และชุมชน ในเรื่องค่าใช้จ่ายต่างๆ ให้ความรู้ในการท�ำงานและ
เกณฑ์ การประเมิน แนะน� ำ แหล่ ง ประโยชน์ ใ นชุ ม ชนที่ ช ่ ว ยสนั บ สนุ น ผู ้ ป ่ ว ยและ
- กล้ามเนื้อไม่มีการหดเกร็งจนรบกวนต่อการท�ำกิจวัตร ครอบครัว
ประจ�ำวันของผู้ป่วย
- ผู้ป่วยพักได้ ไม่มีอาการปวดและข้อยึดติดผิดรูป การเตรียมความพร้ อมก่ อนจ�ำหน่ าย และการจ�ำหน่ ายผู้ป่วย
กิจกรรมการพยาบาล การเตรียมความพร้อมก่อนจ�ำหน่าย เป็นการเตรียมตั้งแต่
1. ประเมินหาสาเหตุหรือสิ่งกระตุ้นให้เกิดภาวะหดเกร็ง แรกรับโดยมีเป้าหมาย คือ การส่งเสริมความสามารถของผู้ป่วย
เช่น การติดเชื้อ เล็บขบมีการอักเสบ เป็นต้น และครอบครัวให้สามารถกลับไปใช้ชีวิตที่บ้านได้อย่างปลอดภัย
2. ติ ด ต่ อ นั ก กายภาพบ� ำ บั ด เพื่ อ ให้ โ ปรแกรมทาง สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยความเหมาะสมและมีการฝึกอบรมผู้
กายภาพบ�ำบัด ได้แก่ การบริหารเพือ่ คงพิสยั การเคลือ่ นไหวของ ดูแลผู้ป่วย มีการรักษาความปลอดภัย จัดหาเงินทุนที่จ�ำเป็น
ข้อและการยืดกล้ามเนื้อ การยืน tilt table เพื่อช่วยยืดกล้าม ส�ำหรับการบริการที่จ�ำเป็น ส�ำหรับผู้ป่วยบางคนจ�ำเป็นอย่างยิ่ง
เนื้อน่อง การให้เครื่องมือทางกายภาพบ�ำบัด เช่น ความร้อน ที่ต้องพัฒนาและมีการวางแผนก่อนที่ผู้ป่วยจะกลับบ้าน การ
หรือการใช้เครื่องมือกระตุ้นกล้ามเนื้อ และแนะน�ำผู้ดูแลในการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ มีการวางแผน ระบุอุปสรรค การจัดการต้อง
ท�ำ Passive exercise เพื่อช่วยลดการหดเกร็งโดยการบริหาร มีการประชุมปรึกษาหารือถึงกิจกรรมการดูแล การจ�ำหน่ายผู้
เพื่อคงพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อและการยืดกล้ามเนื้อ ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังมีความซับซ้อนอย่างมาก ต้องมีการให้ค�ำ
3. การจัดท่า ในแต่ละอิริยาบถให้ถูกต้อง จะช่วยลดเกร็ง แนะน�ำปรับเปลี่ยนบ้าน อุปกรณ์ แนะน�ำเรื่องยา การรักษา โดย
และ ป้องกันข้อยึดติด กล้ามเนือ้ ทีม่ กั พบว่ามีอาการเกร็งและหด อาศั ย ความร่ ว มมื อ การท� ำ งานของที ม สหสาขาวิ ช าชี พ การ
รั้ง คือ กล้ามเนื้อหุบข้อสะโพก เอ็นร้อยหวาย และกล้ามเนื้องอ วางแผน การจัดการควรเริ่มตั้งแต่ระยะแรก มีการเตรียมการใน
ข้อสะโพก หรืออาจใช้กายอุปกรณ์ช่วยเสริม25 ระหว่างที่ผู้ป่วยอยู่โรงพยาบาล จัดการกิจกรรมเพื่อฟื้นฟูผู้ป่วย
4. ดูแลให้ยาเพื่อลดอาการกล้ามเนื้อหดเกร็งตามแผนการ ให้สามารถกลับไปใช้ชวี ติ ทีบ่ า้ นได้อย่าง ปลอดภัย มีคณ
ุ ภาพชีวติ
รักษา เช่น ที่ดี 26

- การให้ยารับประทาน เช่น Baclofen ซึ่งเป็น first line ประเมินความพร้อมของผูป้ ว่ ย เกีย่ วกับสัญญาณชีพ อาการ
drug ในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง ทางระบบประสาท (Neurological deficit) ความสามารถใน
- ดูแลช่วยแพทย์ให้ยาฉีดเฉพาะที่ เช่น 50% alcohol, 5% การท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน โดยใช้ Barthel Index ประเมินสภาวะ
phenol, botulinum toxin A ทางด้านอารมณ์และจิตใจ การรับประทานอาหาร ยา การสือ่ สาร
- ดูแลช่วยแพทย์ฉีด Intrathecal baclofen การรับรู้ การขับถ่าย กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหว และผลการ
5. การใช้อุปกรณ์เสริมเพื่อลดภาวะข้อผิดรูป และยืด ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
กล้ามเนื้อ เช่น AFO, Resting hand splint ประเมินและทบทวนความพร้อมของครอบครัว/ผู้ดูแล ใน
เรือ่ งความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับโรค ความก้าวหน้าของโรค ความ
การดูแลด้ านจิตใจ สั งคม อารมณ์ พร้อมด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม และเศรษฐกิจ สภาพสิ่งแวดล้อม
เน้นการช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัว ในการรับรู้ข้อมูลที่ ที่มีผลต่อการดูแลผู้ป่วย ประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยและแรง
646 ศรี นคริ นทร์เวชสาร 2564; 36(5) Srinagarind Med J 2021; 36(5)
การพยาบาลเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้อนผูป้ ่ วยบาดเจ็บกระดูกสันหลัง Nursing Care for Prevention Complications of Patient with Spine

สนับสนุนทางสังคม ความเชื่อ ค่านิยมและครอบครัว การให้ 7. Pattanakuhar S, Kammuang-Lue P, Kovindha A,


ความรู้ด้านสุขภาพโดยประกอบไปด้วยแผนการสอนในเรื่อง Komaratat N, Mahachai R, Chotiyarnwong C. Is admission
ทักษะในการปฏิบตั กิ จิ วัตรประจ�ำวัน การดูแลตนเอง การเคลือ่ น to an SCI specialized rehabilitation facility associated
ย้ายร่างกาย โปรแกรมการฝึกขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ การ with better functional outcomes? Analysis of data from
ดูแลผิวหนัง การบริหารยา และความรู้เรื่องเพศศึกษา เพื่อ the Thai Spinal Cord Injury Registry. Spinal Cord 2019;
ให้การดูแลที่ครอบคลุมอย่างต่อเนื่องเมื่อกลับบ้าน 57(8): 684-691.
8. นภชนก สุขประเสริฐ. บทบาทของนักจิตวิทยาการปรึกษาในการ
ฟื ้ นฟู ทางจิ ต ใจผู ้ ป่ ว ยบาดเจ็ บกระดู ก สั นหลั งและครอบครั ว .
สรุป วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพือ่ การวิจยั และพัฒนาคนพิการ 2562;
ผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกสันหลังและไขสันหลัง จ�ำเป็นอย่าง 15(2): 105-115.
ยิ่งที่ต้องได้รับการดูแลจากทีมผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป้าหมายในการ 9. Suphab Mueanchoo, Panatchaya Chuawon.
พยาบาลผู้ป่วยในระยะวิกฤต คือ ผู้ป่วยปลอดภัย ลดการบาด Preparedness of Caregivers of Patients with Spinal Cord
เจ็บเพิ่มเติมของไขสันหลัง ลดอัตราการตาย และการป้องกัน Injury. Journal of Phrapokklao Nursing College 2017;
ภาวะแทรกซ้อน และเมื่อเข้าสู่ระยะการฟื้นฟู เป้าหมายการ 28(1): 140-148.
พยาบาลผูป้ ว่ ยในระยะนีจ้ ะเน้นการป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น 10. Rattanasuk D, Khuwatsamrit K. Causal model of
การติดเชื้อทางเดินหายใจ การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ภาวะผิด psychological empowerment among people with spinal
ปกติของระบบประสาทอัตโนมัติ (autonomic dysreflexia) cord injury in Thailand. Orthop Nurs 2021; 40(3): 136-
แผลกดทับ ภาวะหลอดเลือดด�ำส่วนลึกอุดตัน ภาวะท้องผูกและ 143.
อุจจาระอุดกั้น ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง (spasticity) เป็นต้น 11. สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ.
นอกจากนี้การดูแลด้านจิตใจก็เป็นสิ่งที่ส�ำคัญ ผู้ป่วยและญาติ คู่มือการดูแลคนพิการบาดเจ็บไขสันหลัง ส�ำหรับผู้ป่วยบาดเจ็บ
มักมีความเครียดและวิตกกังวล จึงต้องมีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ไขสั น หลั ง อั ม พาตแขนและขา (เตตราพลี เจี ย ). นนทบุ รี :
โรคและแผนการรั ก ษาเป็ น ระยะๆ รวมไปถึ ง การวางแผน สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง; 2561.
จ�ำหน่ายผูป้ ว่ ยโดยการให้ความรูแ้ ละฝึกทักษะแก่ผดู้ แู ล ญาติจะ 12. กิง่ แก้ว ปาจรีย.์ การฟืน้ ฟูระบบประสาททันยุค 2561. กรุงเทพฯ:
สามารถช่วยให้ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวลลงและมี ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
ความมัน่ ใจในการดูแลผูป้ ว่ ยต่อเนือ่ งทีบ่ า้ นได้ เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยกลับ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2561.
ไปอยู่ในสังคมโดยเร็วและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป 13. สินธิป พัฒนะคูหา, ปรัชญพร ค�ำเมืองลือ, สยาม ทองประเสริฐ,
อภิชนา โฆวินทะ, อดิศกั ดิ์ ตันติวรวิทย์. การป้องกันภาวะลิม่ เลือด
อุดหลอดเลือดด�ำส�ำหรับผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง. เวชศาสตร์
เอกสารอ้ างอิง ฟื้นฟูสาร 2561; 28(1): 24-31.
1. Zileli M, Osorio-Fonseca E, Konovalov N, Cardenas- 14. ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ.
Jalabe C, Kaprovoy S, Mlyavykh S, et al. Early แนวปฏิ บั ติ ก ารพยาบาลผู ้ ป ่ ว ยบาดเจ็ บ ไขสั น หลั ง . นนทบุ รี :
management of cervical spine trauma: WFNS spine สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง; 2555.
committee recommendations. Neurospine 2020; 17(4):
710-422. 15. Linsenmeyer TA, Gibbs K, Solinsky R. Autonomic
Dysreflexia After Spinal Cord Injury: Beyond the Basics.
2. Hossain MS, Rahman MA, Herbert RD, Quadir MM, Curr Phys Med Rehabil Rep 2020:1-9.
Bowden JL, Harvey LA. Two-year survival following
discharge from hospital after spinal cord injury in 16. ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิรริ าช. แนวปฏิบตั เิ พือ่ ป้องกันการ
Bangladesh. Spinal Cord 2016; 54(2): 132-136. เกิดแผลกดทับ (Siriraj Concurrent Trigger Tool :Modify
Early Warning Sign for Pressure Injury Prevention).
3. กิง่ แก้ว ปาจรีย.์ ไขสันหลังบาดเจ็บ. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ศริ ริ าช กรุงเทพฯ; 2559.
2558.
17. Alizadeh A, Dyck SM, Karimi-Abdolrezaee S. Traumatic
4. Sweis R, Biller J. Systemic complications of spinal cord spinal cord injury: an overview of pathophysiology,
injury. Curr Neurol Neurosci Rep 2017; 17(1): 8. models and acute injury mechanisms. Front Neurol
5. Tzanos IA, Mavrogenis A, Gioti K, Papagelopoulos P, 2019; 10: 282.
Panagiotopoulos E. Depressive mood in individuals with 18. Gomelsky A, Lemack G, Botero JC, Lee R, Myers J,
spinal cord injury (SCI) living in Greece. Spinal Cord 2018; Granitsiotis P, et al. Current and future international
56(9): 883-889. patterns of care of neurogenic bladder after spinal cord
6. Ho C, Atchison K, Noonan VK, McKenzie N, Cadel L, injury. World J Urol 2018; 36(10): 1613-1619.
Ganshorn H, et al. Models of Care Delivery from 19. New PW. The evidence supporting single-use
Rehabilitation to Community for Spinal Cord Injury: A intermittent catheters in people with spinal cord
Scoping Review. J Neurotrauma 2021; 38(6): 677-697. injury. Spinal Cord Series and Cases 2020; 6(1): 89.

ศรี นคริ นทร์เวชสาร 2564; 36(5) Srinagarind Med J 2021; 36(5) 647
พัชรี บุตรแสนโคตร และ จุฑามาศ คงกลาง Patcharee Butsankot and Juthamas Kongklang

20. Maria Assis G, Silmara Miranda R, Claudia Lima 24. Gupta K, Grigoryan L, Trautner B. Urinary tract infection.
Dornellas A, Maria Benedita Messias A, Teles Batista V, Ann Intern Med 2017; 167(7): ITC49-ITC64.
Júnior Gomes J. Clean intermittent catheterization in
patients with spinal cord injury: knowledge of nurses. 25. สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ.
Estima (Online) 2020: e0220-e. แนวทางปฏิบตั กิ ารฟืน้ ฟูสมรรถภาพคนพิการทีบ่ าดเจ็บไขสันหลัง.
นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง; 2556.
21. Sekido N, Igawa Y, Kakizaki H, Kitta T, Sengoku A,
Takahashi S, et al. Clinical guidelines for the diagnosis 26. Hammond FM, Gassaway J, Abeyta N, Freeman ES,
and treatment of lower urinary tract dysfunction in Primack D, Kreider SE, et al. Outcomes of social work
patients with spinal cord injury. Int J Urol 2020; 27(4): and case management services during inpatient spinal
276-88. cord injury rehabilitation: The SCIRehab project. The
journal of spinal cord medicine 2012; 35(6): 611-623.
22. กาญจนา ชวนไชยสิทธิ์, กิตติรัตน์ สสัสติวัดษ์, ศันสนีย์ ชัยบุตร.
การพัฒนาระบบการพยาบาลเพือ่ ป้องกันและควบคุมการติดเชือ้
ระบบทางเดินปัสสาวะในผูป้ ว่ ยทีไ่ ด้รบั การใส่คาสายสวนปัสสาวะ.
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2561; 36(1): 224-
233.
23. McColl MA, Gupta S, Smith K, McColl A. Promoting
long-term health among people with spinal cord
injury: what’s new? Int J Environ Res Public Health 2017;
14(12): 1520.

648 ศรี นคริ นทร์เวชสาร 2564; 36(5) Srinagarind Med J 2021; 36(5)

You might also like