You are on page 1of 15

1

หลุมพรางการพยาบาลผู้ปว่ ยบาดเจ็บศีรษะที่มีภาวะความดัน
ในกะโหลกศีรษะสูง

มลฤดี แสนจันทร์ *
สุวคนธ์ ทองดอนบม**

บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอหลุมพรางการพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะที่มี
ภาวะความดันในกะโหลกศีร ษะสูงเพื่อให้พยาบาลสามารถประเมินสภาพผู้ ป่วยและหลี กเลี่ย งการ
ปฏิ บั ติ ก ารพยาบาลที่ ผิ ด พลาด ป้ อ งกั น อั น ตรายจากภาวะแทรกซ้ อ นที่ จ ะตามมา หลุ ม พรางหรื อ
ข้อผิดพลาดในการปฏิบัติการพยาบาลพิจารณาจาก ปัจจัย ด้านองค์การ การกากับดูแลที่ไม่ปลอดภัย
สภาพ/เงื่อนไขที่ไม่ปลอดภัย และการกระทาที่ไม่ปลอดภัย ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะสมองอาจได้รับการ
กระทบกระเทือน ส่งผลให้เกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ได้ ดังนั้นหากเกิดข้อผิดพลาดในการ
พยาบาล อาจเป็นสาเหตุสาคัญของการเสียชีวิตหรือภาวะทุพลภาพ ซึ่งหลุมพรางการพยาบาลผู้ป่วย
บาดเจ็บศีรษะที่มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงแบ่งเป็น 2 ด้านด้วยกันคือ หลุมพรางในการประเมิน
สภาพผู้ป่วย ที่พบบ่อย เช่น การประเมินระดับความรู้สึกตัว การประเมินภาวะความดันในกะโหลกศีรษะ
สูง เป็นต้น และหลุมพรางในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลที่พบบ่อย เช่น การดูดเสมหะ การจัดท่า
ผู้ป่วย เป็นต้น นอกจากนี้การฟืน้ ฟูสภาพภายหลังสมองกระทบกระเทือนในระยะแรก และระยะต่อเนื่อง
และฟื้นฟู เป็นกิจกรรมการปฏิบัติการพยาบาลที่ควรทาเพื่อส่งเสริมให้สมองได้ฟื้นหายภายหลังได้รับ
บาดเจ็บ จึงควรมีการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยให้กับพยาบาลระดับปฐมภูมิเพื่อติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้าน ดังนั้น
การประเมินสภาพและการปฏิบัติ การพยาบาลที่ถูกต้อง หลีกเลี่ยงการปฏิบัติกิจกรรมที่จะมีผลต่อการ
เพิ่มขึ้นของความดันในกะโหลกศีรษะ หรือพยายามลดผลกระทบจากการปฏิบัติการพยาบาลให้เหลือ
น้อยที่สุด จะช่วยลดข้อผิดพลาดหรือหลุมพราง (pitfalls) ความพิการและอัตราการตายได้
คาสาคัญ: หลุมพรางการพยาบาล/ การพยาบาล/ ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ/ ความดันในกะโหลกศีรษะสูง

* ผู้รับผิดชอบหลัก อาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก


E-mail: monruedee@smnc.ac.th
** อาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
2

Pitfalls of Nursing Care in Head Injury Patients with Increased


Intracranial Pressure

Monruedee Sanchan *
Suwakhon Thongdornbom**

Abstract
This paper aims to present the pitfalls of nursing care in head injury patients
with increased intracranial pressure so nurses can assess patients, avoid inappropriate
nursing activities, and prevent complications. Pitfalls in nursing practice are determined
by organization influence, unsafe supervision, unsafe conditions, and unsafe act. Head
injuries may cause brain injury with increased intracranial pressure. It is the leading
cause of death or disability in brain injury. The pitfalls of nursing care in head injury
patients with increased intracranial pressure can be divided into two parts: first, are
pitfalls of patient assessment such as assessing the level of consciousness, intracranial
pressure detection ect. Second, there are pitfalls of nursing practices, such as suction,
position ect. In addition, rehabilitative activities by nurses in the early period after brain
injury should be provided for brain recovery and continued improvement after injury.
Additionally, nurses should provide patient information to primary care nurses who
provide home visits. When nurses understand the appropriate assessment and nursing
practice required, they can offer activities that affect intracranial pressure, minimize
pitfalls, and reduce serious complications.
Keywords: Pitfalls/ Nursing/ Head Injury/ Increased Intracranial Pressure

Article info: Received May 21, 2021; Revised July 22, 2021; Accepted August 30, 2021
* Corresponding author, Leturer, Srimahasarakham Nursing College, Faculty of Nursing,
Praboromrajchanok Institute
** Leturer, Srimahasarakham Nursing College, Faculty of Nursing, Praboromrajchanok Institu
3

บทนา ผิดปกติ ผู้ป่วยที่มีความดันในกะโหลกศีรษะสูง


ปัญ หาการบาดเจ็ บศี ร ษะเป็ น ปัญ หา จะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงของสั ญ ญาณชี พ แบ่ ง
สาคัญ ทาให้เกิดการบาดเจ็บที่สมองตามมา มี ออกเป็น 2 ระยะ6 คือ 1) ระยะที่ร่างกายชดเชย
อุบัติการณ์สูงเนื่องจากสัมพันธ์กับการบาดเจ็บ ได้ (Compensate) เป็นระยะที่ความดันเลือด
จากการจราจร (Road traffic injury)1,2 ในปี ขณะหัวใจบีบตัวจะสูงขึ้น และความดันเลือด
พ.ศ. 2559 ต้ อ งสู ญ เสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยในการ ขณะหัวใจคลายตัวจะต่าลงเล็กน้อยไม่ได้สัดส่วน
รักษาพยาบาลผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บในกะโหลก กั บ ความดั น เลื อ ดขณะหั ว ใจบี บ ตั ว ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น
ศีรษะ (Intracranial injury) เป็นจานวนกว่า อั ต ราการหายใจเริ่ ม เปลี่ ย นแปลงและไม่
2,460 ล้านบาท จากสถิติดังกล่าวชี้ให้เห็นถึง สม่าเสมอ หากไม่รีบแก้ไขอาการทางสมองจะ
ภาระหน้าที่ทางสาธารณสุขที่ต้องดาเนินการและ เลวลงจนเข้าสู่ระยะต่อไป 2) ระยะที่ร่างกาย
ภาระของบุ ค ลากรทางสาธารณสุ ข ที่ ต้ อ งดู แ ล ชดเชยไม่ได้ (Decompensate) ในระยะนี้ความ
ผู้ป่วยจากการบาดเจ็บศีรษะที่มากขึ้น 3 ดังนั้น ดันในกะโหลกศีรษะสูงในช่วงตอนปลาย ความ
การพยาบาลผู้ ป่ ว ยไม่ ใ ห้ เ กิ ด ภาวะแทรกซ้ อ น ดันชีพจรกว้าง มีค่ามากกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท
เ ช่ น ค ว า ม ดั น ใ นก ะ โ ห ล ก ศี ร ษ ะ สู ง จึ ง มี ความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัวสูงและหัวใจเต้น
ความสาคัญในการลด ความพิการ และอัตราการ ช้า หรือเรียกว่า การประเมินการตอบสนองของ
ตายได้ ร่ า งกายในระยะปรั บ ตั ว ชดเชย (Cushing’s
ภาวะความดั น ในกะโหลกศี ร ษะสู ง triad) และสุ ด ท้ า ยมี ก ารเปลี่ ย นแปลงรู ป แบบ
(Increased Intracranial Pressure: IICP) เป็น การหายใจพบการหายใจจะเร็ ว ขึ้ น บางราย
กลุ่ ม อาการที่ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงทางระบบ อาจจะหยุดหายใจ อุณหภูมิร่างกายอาจสูงขึ้น
ประสาทอย่ า งเฉี ย บพลั น ส่ ง ผลให้ ข าดความ ในระยะนี้ แ ม้ จ ะได้ รั บ การแก้ ไ ขผู้ ป่ ว ยก็ ไ ม่
สมดุ ล ระหว่ า งปริ ม าตรและความดั น ภายใน สามารถฟื้ น คื น สติ ไ ด้ หรื อ อาจเสี ย ชี วิ ต ได้
กะโหลกศีรษะ โดยจะพบความดัน ในกะโหลก พยาบาลต้องสามารถประเมินอาการและอาการ
ศีรษะ (Intracranial pressure: ICP) มีค่า แสดงของผู้ ป่ ว ยเพื่ อ ลดข้ อ ผิ ด พลาดทางการ
มากกว่า 20 มิล ลิเมตรปรอท 4 ปกติมีค่ า 0-15 พยาบาล
มิลลิเมตรปรอท หากมีการเพิ่มขึ้นของปริมาตร หลุ ม พรางทางการพยาบาล เป็ น
การย้ ายที่ หรือ กดเบี ยดของส่ วนประกอบอื่น ๆ ข้อผิดพลาดในการปฏิบัติการพยาบาลส่งผลให้
ภายในกะโหลกศีรษะ ส่งผลให้เกิดความดันใน ผู้ป่วยต้องนอนโรงพยาบาลนานขึ้นและอาจได
กะโหลกศีรษะสูงได้5 รับอันตรายถึงแกชีวิตได การรายงานตัวเลขสถิติ
อาการและอาการแสดงของความดั น เกี่ยวกับเหตุการณไมพึงประสงค์ในประเทศไทย
ในกะโหลกศีรษะสูงประกอบด้วย 6 ปวดศีรษะ ค่ อ นข้ า งน้ อ ย อาจเนื่ อ งจากประเด็ น ความ
อาเจี ย น อาจจะมี อ าเจี ย นพุ่ ง มี สั ญ ญาณชี พ อ่อนไหวของการเปิ ดเผยข้อมู ล7 แนวคิ ดการ
4

จัดการความผิดพลาด 7,8 มี 2 แนวคิด คือ 1) การมีนโยบายที่เน้นการลงโทษเมื่อเกิดอุบัติเหตุ


แนวคิดเชิงบุคคล (Person approach on the หรืออุบัติการณ การมีกระบวนการทางานที่ไม
error) เกิดจากความผิดพลาดของตัวผูใหบริการ สามารถปฏิบัติไดจริง และการมีระบบสัญญาณ
การจัดการแกปญหาความไมปลอดภัยของผูปวย เตือนหรือตัวชี้วัดที่เชื่อถือไมได เปนตน ดังนั้น
จึงเนนที่การควบคุม พฤติกรรมของมนุษย์ 2) การความผิดพลาดเชิงระบบ จึงมุ่งที่จะออกแบบ
แนวคิ ด การจั ด การความผิ ด พลาดเชิ ง ระบบ ปองกั น การเกิ ด เหตุ ก ารณไมพึ งประสงคและ
(System approach to error) มาจากความ พยายามลดชองโหว โดยพิจารณาจากปัจจัยด้าน
ผิ ด พลาดของระบบมากกว่ า เกิ ด จากตั ว ผู ให องค์ การ (Organization Influence) การก ากั บ
บริการและยังเชื่อวาการปองกันความผิดพลาด ดูแลที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Supervision) สภาพ/
ไมใช่การเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคลแตอาศัย เงื่อนไขที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Conditions) และ
การเปลี่ ย นสิ่ งแวดลอมหรื อ ระบบการท างาน การกระทาที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Act)
หลายองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพ หลุมพรางการพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บ
การบริการเพื่อความปลอดภั ยของผู้ป่วย ต่างได้ ศี ร ษะที่ มี ค วามดั น ในกะโหลกศี ร ษะสู ง ในที่ นี้
พั ฒ นาการจั ด การความผิ ด พลาดเชิ ง ระบบ ผู้เขียนหมายถึง ข้อผิดพลาดที่พบได้บ่อยๆ ใน
มากกว่าการเน้นที่ตัวบุคคล การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ แบ่งออกได้
แนวคิดความผิดพลาดเชิงระบบ 7,8 มี เป็ น 2 ด้ า นด้ ว ยกั น คื อ หลุ ม พรางในการ
ความเชื่อว่าความผิดพลาดของมนุษย์ มีสาเหตุ ประเมินสภาพผู้ป่วยที่พบบ่อย เช่น การประเมิน
หลักมาจากระบบในองค์กรเกิดไดจาก 2 สาเหตุ ระดับความรู้สึกตัว การประเมินภาวะความดัน
คือ ความล้มเหลวจริง (Active failure) คือ การ ในกะโหลกศีรษะสูง เป็นต้น และหลุมพรางใน
กระทาที่ไมปลอดภัยของผู้ให้บริการที่เกี่ยวข้อง การปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลที่พบบ่อย เช่น
โดยตรงกั บ ผู้ ป่ ว ยหรื อ ระบบ ได้ แ ก่ ความ การดูดเสมหะ การจัดท่าผู้ป่วย เป็นต้น
ผิดพลาดหรือพลั้งเผลอ เข้าใจผิด ละเมิดกฎหรือ หลุมพรางการพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะที่มี
ระเบี ย บปฏิ บั ติ มี ผ ลกระทบในระยะสั้ น ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
สังเกตเห็นไดชัด และความล้มเหลวแฝง (Latent ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ จาเป็นต้องได้รับ
failure) คือ สิ่งที่แฝงอยู่ในระบบและส่งใหเกิด การเฝ้ า ระวั ง แม้ ว่ า อุ บั ติ ก ารณ์ ใ นการเกิ ด
ผลเสียมีอยู่ 2 ประการ คือ 1) การปฏิบัติงานที่ ภาวะแทรกซ้อ นยั งพบน้อ ยก็ ตาม เพื่อ ป้อ งกั น
กระตุ้นให้เกิดความผิดพลาด เช่น ภาระงานมาก ข้อผิดพลาดทางการพยาบาล ดังนั้นผู้เขียนจึงขอ
แต่มีอัตรากาลังน้อยกว่าภาระงาน ความอ่อนลา น าเสนอเกี่ ย วกั บ ข้ อ ผิ ด พลาดหรื อ หลุ ม พราง
การขาดประสบการณและการทางานที่ต้องแข่ง (Pitfalls) การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ ดังนี้
กับเวลา 2) การสรางชองโหวหรือทาใหเกิดจุด
ออนในระบบปองกัน คงอยู เปนเวลานาน เชน
5

1. หลุ ม พรางในการประเมิ น สภาพผู้ ป่ วย อาการและเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงที่อาจ


(Pitfalls on Patient Assessments) เกิดขึ้น
ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะบางรายมีอาการ กรณีผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะที่ใส่สายระบาย
ไม่ รุ น แรง โดยเฉพาะในรายที่ มี ก ารบาดเจ็ บ น้ าออกจากโพรงสมองสู่ ภ ายนอกร่ า งกาย
ศีร ษะในระดับ เล็ กน้ อ ยภายใน 24 ชั่ว โมงแรก (External Ventricular Drainage: EVD) ควร
อาการไม่เปลี่ยนแปลง แพทย์มักจาหน่ายจาก ประเมินการทางานให้มีการระบายน้าไขสันหลัง
โรงพยาบาลเพื่ อไปสังเกตอาการต่อที่บ้ าน หาก อย่างต่อเนื่อง และมีการตั้งจุดศูนย์อ้างอิง (Zero
พยาบาล ผู้ ป่ วย และญาติ ไม่ เข้าใจถึ งอาการ reference point) ให้ อ ยู่ ร ะนาบเดี ย วกั บ
เปลี่ยนแปลงที่แย่ลง ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อน กึ่งกลางรูหูของผู้ป่วยที่อยู่ในท่านอนหงายศีรษะ
ที่รุนแรงโดยเฉพาะความดันในกะโหลกศีรษะสูง สูง 30 องศา ซึ่งเทียบค่าเป็นตาแหน่งที่ความดัน
ญาติต้องรีบนาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลทันที9 กะโหลกศีรษะเท่ากับ 0 เซนติเมตร ในการตั้ง
ดั ง นั้ น พยาบาลจึ ง ต้ อ งตระหนั ก ถึ ง ระดับจุดหยดของสายระบายน้าไขสันหลังจาก
ความส าคั ญ ของการประเมิ น สภาพผู้ ป่ ว ย ห้องสมองจะอยู่เหนือรูหู 10-15 เซนติเมตร10,11
บาดเจ็บศีรษะ ดังต่อไปนี้ พยาบาลต้ อ งตั้ ง จุ ด ศู น ย์ อ้ า งอิ ง ให้ ถู ก ต้ อ งเพื่ อ
1.1 การประเมินภาวะความดันใน สามารถประเมินได้แม่นยาและเที่ยงตรง
กะโหลกศีรษะสูง 1.2 การประเมินการเสียสมดุลของสารนา
การประเมิ น สภาพผู้ ป่ ว ยที่ มี ก าร และเกลือแร่
บาดเจ็ บ ศี ร ษะ จ าเป็ น ต้ อ งการประเมิ น ระดั บ การเสี ย ความสมดุ ล ของสารน้ า และ
ความรู้ สึ ก ตั ว 6 ได้ แ ก่ การรู้ ตั ว ตอบสนองได้ เกลือแร่ในร่างกาย เกิดจากการรั่วของโปรตี น
(Alert) ภาวะซึม หลับตื้น โต้ตอบได้เป็นช่วง และน้าเข้าสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์ และเกิดการ
สั้น ๆ (Drowsiness) ภาวะซึ ม มาก หลั บ ลึ ก เสียหน้าที่ในการขับโซเดียมออกนอกเซลล์ ทาให้
กระตุ้นรุนแรงจึงตอบสนอง (Stupor) และภาวะ โซเดียมและน้าสูงภายในเซลล์12 ซึ่งพยาบาลต้อง
หมดสติ ไม่ ต อบสนองต่ อ การกระตุ้ นใดๆ บั น ทึ ก จ านวนปั ส สาวะที่ อ อกอย่ า งน้ อ ยทุ ก 2
(Coma) การประเมินคะแนนระดับความรู้สึกตัว ชั่ ว โมง ค่ า ออกปกติ ค วรอยู่ ใ นช่ ว ง 0.5-1
โดยใช้กลาสโกว์โคมาสเกล (Glasgow Coma มิลลิลิตร/กิโลกรัม/ชั่วโมง ในระยะวิกฤตควร
Scale: GCS) 4 ค่ า คะแนน 3-15 คะแนน ถ้ า บันทึกจานวนปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง ถ้าปัสสาวะ
คะแนนระดับความรู้สึกตัวลดลงจากเดิมมากกว่า เพิ่ ม มากขึ้ น อาจเกิ ด ภาวะเบาจื ด (Diabetes
หรือเท่ากับ 2 คะแนน เป็นสัญญาณเตือนบ่ง insipidus) เนื่ อ งจากฮอร์ โ มนแอนติ ไ ดยู เ รติ ก
บอกว่ า สมองอาจเกิ ด การเคลื่ อ นที่ (Brain (Antidiuretic hormone: ADH) ลดลงจึงเกิด
herniation) 4 พยาบาลและญาติ ต้ อ งสั ง เกต ภาวะขาดน้ า 13 แต่ ห ากร่ า งกายมี ก ารหลั่ ง
ฮอร์โมนแอนติไดยูเรติกมากเกินไป เกิดการคั่ง
6

ของน้าเกิดกลุ่มอาการที่มีความผิดปกติของการ หรื อ ใช้ ผ้ า ห่ ม ลดอุ ณ หภู มิ 20 (Hypothermic


หลั่งฮอร์โมนระงับการขับปัสสาวะ (Syndrome blanket)
of inappropriate antidiuretic hormone 1.4 การประเมินการตอบสนองของ
secretion: SIADH) น้าส่วนเกินเข้ามาเจือจางใน ร่างกายในระยะปรับตัวชดเชย
หลอดเลือดทาให้ระดับเกลือแร่ต่า 14 ดังนั้นควร ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะที่มีภาวะความดัน
ประเมินอาการ แขนขา อ่อนแรง ชาตามปลาย ในกะโหลกศีรษะสูง จะมีการกาซาบของเลือดไป
มือปลายเท้า เป็นตะคริว ชักเกร็งกระตุก ร่วมกับ ไปเลี้ยงสมอง (Cerebral perfusion pressure:
การประเมินและติ ดตามการเปลี่ยนแปลงของ CPP) ลดลง ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไป
คลื่ น ไฟฟ้ า หั ว ใจอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพราะการ คลื่นไส้อาเจียน ตาพร่ามัว อาจมองเห็นภาพ
ประเมินดังกล่าวเป็นข้อมูลในการรายงานแพทย์ ซ้อน บางรายมีการตอบสนองของร่างกายใน
เพื่อแก้ไขอาการต่างๆ ได้ทันเวลา ระยะปรับตัวชดเชย14 ได้แก่ การเปลี่ยนแปลง
1.3 การประเมินการติดเชือ ของสัญญาณชีพ ความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัว
การติ ด เชื้ อ ในผู้ ป่ ว ยบาดเจ็ บ ศี ร ษะ เพิ่มสูงขึ้น ความดันชีพจรกว้างมากกว่า 60
อาจเกิดขึ้นได้ ในกรณี ผู้ป่วยผ่าตัดสมองหรือมี มิลลิเมตรปรอท รูปแบบการหายใจไม่สม่าเสมอ
การสอดใส่เครื่องมือเข้าไปวัดความดันในโพรง และหายใจช้ า ลง และเมื่ อ ร่ า งกายไม่ ส ามารถ
สมองโดยตรง 16 ต้ องประเมิน อาการบวม แดง ปรับตัวต่อไปได้ ความดันโลหิตจะลดลง ชีพจร
ร้อน มีของเหลวซึมบริเวณแผลผ่าตัด หรือสังเกต ช้ า ลง ไม่ ส ม่ าเสมอ จนกระทั่ ง ไม่ มี ชี พ จร
และบันทึกปริมาณ สี ลักษณะของน้าไขสันหลัง พยาบาลจะต้องเฝ้าระวังภาวะดังกล่าวข้างต้น
ที่ออกมาว่าขาวขุ่น หรือมีหนอง กรณีผู้ป่วยใช้ เพื่ อ ลดข้ อ ผิ ด พลาดหรื อ หลุ ม พรางจากการ
เครื่องช่วยหายใจและมีอุปกรณ์ที่สอดใส่เข้าไป ประเมิ น การตอบสนองของร่ า งกายในระยะ
ในร่างกายต้องประเมิ นสี จานวนและลักษณะ ปรับตัวชดเชย
ของสารคัดหลั่ง17 นอกจากนี้ควรมีการประเมิน 1.5 การสังเกตอาการเตือนของ
อาการตอบสนองต่ อ การอั ก เสบทั่ ว ร่ า งกาย 18 ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
(Systemic Inflammatory Responses: SIRS) อาการเตื อ นที่ ค วรเฝ้ า ระวั ง 19 ได้ แ ก่
ร่วมด้วย อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 40 ครั้งต่อนาที
ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะอาจมี ไข้ การลด หรือ มากกว่า 130 ครั้งต่อนาที ความดันเลือด
ไข้ในผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะเป็นสิ่งสาคัญ19 การลด ขณะหัวใจบีบตัว น้อยกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท
อุณหภูมิทุก 1 องศาเซลเซียส ทาให้การเผา มี ก ารเปลี่ ย นแปลงของระดั บ ความรู้ สึ ก ตั ว
ผลาญลดลงร้อ ยละ 7 ดั งนั้ นผู้ ป่ว ยที่ มีไ ข้ ปริมาณปัสสาวะออกน้อยกว่า 0.5-1 มิลลิลิตร/
จ าเป็ น ต้ อ งได้ รั บ การเช็ ด ตั ว ลดไข้ ใช้ ย าลดไข้ กิโลกรัม/ชั่วโมง และการประเมินความเข้มข้น
ของออกซิเจนในเลือด (Oxygen saturation)
7

น้อยกว่าร้อยละ 95 รายงานแพทย์ทันทีหากพบ อ้างอิงเพื่อลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น ที่ทาให้


อาการดั ง นี้ 19 1) คะแนนประเมิ น ระดั บ ความ การก าซาบออกซิ เ จนไปเลี้ ย งสมองลดลง
รู้สึกตัวลดลงมากกว่า หรือเท่ากับ 2 คะแนน 2) ข้อ ผิ ด พลาดที่ พบบ่ อ ย 21 ได้ แ ก่ การดู ดเสมหะ
สับสน กระสับกระส่าย ไม่รู้ วัน เวลา สถานที่ การจัดท่า การพลิกตะแคงตัว การเช็ดตัวลดไข้
บุคคล หรือมีอาการง่วงซึม 3) แขนขาอ่อนแรง การพยาบาลผู้ ป่ ว ยขณะใส่ เ ครื่ อ งช่ ว ยหายใจ
แย่ลงจากเดิมตั้งแต่ 1 ระดับ มีอาการตาพร่ามัว และการใส่สายระบายน้าออกจากโพรงสมอง
อาการพู ด ล าบาก 4) ขนาดของรู ม่ า นตา ดังนั้นเพื่อเพิ่มการกาซาบเลือดไปเลี้ยง
เปลี่ยนแปลง 2 ข้างแตกต่างกันเกิน 1 มิลลิเมตร สมอง สมองได้รับออกซิเจนเพิ่มขึ้น 11 กิจกรรม
ไม่มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อแสง อาจมีภาวะสมอง การพยาบาล ได้แก่ การดูดเสมหะในผู้ป่วยที่ใส่
เคลื่อน 5) ปวดศีรษะมากขึ้น รับประทานยาแก้ ท่อช่วยหายใจ ควรใช้แรงดัน 80-120 มิลลิเมตร
ปวดแล้วอาการไม่ทุเลา และ 6) ค่าความดัน ปรอท ใช้เวลาไม่เกิน 10-15 วินาที ดูดเสมหะไม่
กะโหลกศีรษะตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรปรอท (กรณีมี เกิน 2 ครั้งต่อรอบ ก่อนและหลังการดูดเสมหะ
การวัดความดันในโพรงสมอง) ควรให้ออกซิเจน 100% นาน 30-60 วินาที14 ไม่
ดังนั้ นพยาบาลจึ งควรประเมิ น ภาวะ ควรบี บ แอมบู แ บค (Ambu bag) 22 ต้ อ งใช้
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง การเสียสมดุลของ ออกซิเจน 100% ขนาดของสายดูดเสมหะควร
สารน้าและเกลือแร่ การติดเชื้อ การประเมินการ ให้ เ หมาะสมกั บ ผู้ ป่ ว ย 9 หลั งดู ด เสมหะควรให้
ตอบสนองของร่า งกายในระยะปรั บตั วชดเชย ผู้ป่วยได้พักอย่างน้อย 10 นาที ค่อยจัดท่าหรือ
และการสังเกตอาการเตือนของภาวะความดันใน พลิกตะแคงตัว22 การจัดท่านอนผู้ป่วยควรให้อยู่
กะโหลกศีรษะสูงเพื่อป้องกันการเกิดข้อผิดพลาด ในท่าศีรษะสูง 30 องศา11,19,23 เมื่อพลิกตะแคง
หรือหลุมพรางที่อาจเกิดขึ้น ตัวผู้ป่ว ยให้ศี รษะและคออยู่ในแนวตรง ไม่ก้ ม
2. หลุ ม พรางในการปฏิ บั ติ กิ จ กรรมการ บิ ด หรื อ แหงนมากเกิ น ไปและไม่ ง อสะโพก
พยาบาล (Pitfalls on Nursing Practices) มากกว่า 90 องศา11,19 หากผู้ป่วยมีไข้ควรเช็ดตัว
การปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลบาง ลดไข้ 20 ร่ วมกับ ดูแ ลให้ย าลดไข้ 11,19,20 เช่ น ยา
กิ จ กรรม ส่ ง ผลให้ ค วามดั น ในกะโหลกศี ร ษะ พาราเซตามอล
เพิ่มขึ้นได้ ซึ่งขอสรุป หลุมพรางการปฏิบัติด้าน 2.1.2 กิจกรรมการพยาบาลที่ส่งผล
การพยาบาล ดังนี้ ให้เกิดการเสียสมดุลของสารนาและเกลือแร่
2.1 การพยาบาลผู้ป่วยในระยะแรก ผู้ป่ว ยที่มี ภาวะเสียสมดุ ลของสารน้ า
2.1.1 กิ จกรรมการพยาบาลที่ และเกลือแร่ อาจเกิดภาวะขาดน้าและเกลือแร่
ส่งผลให้การกาซาบเลือดไปเลียงสมองลดลง ต่า ดังนั้นพยาบาลควรสังเกตความยืดหยุ่นของ
การปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลควร ผิวหนัง หมั่นสังเกตช่องปากและดูแลทาความ
ทาอย่างถูกต้อง โดยอาศัยหลักฐานเชิงประจักษ์ สะอาดอย่ า งสม่ าเสมอ อาการชา อ่ อ นแรง
8

ตะคริว หรือชักเกร็งกระตุก ดูแลให้สารน้าและ ความเครียดของร่างกายส่งผลทาให้เกิดความดัน


คานวณอัตราการหยดของสารน้าตามแผนการ ในกะโหลกศีรษะสูงได้เนื่องจากระบบประสาท
รักษา บันทึกปริมาณปัสสาวะที่ออกและจานวน ซิมพาเธติกถูกกระตุ้น การเผาผลาญเพิ่มมากขึ้น
สารน้ าเข้ า ออกจากร่ า งกายอย่ า งถู ก ต้ อ งและ ส่งผลให้เพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ในหลอดเลือด
แม่นยา ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ แดง เกิดการขยายตัวของหลอดเลือดในสมอง
ของเกลือแร่ในร่างกาย รวมถึงความถ่วงจาเพาะ น าไปสู่ ภ าวะความดั น ในกะโหลกศี ร ษะสู ง 24
ของปัสสาวะ พยาบาลควรจัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ เหมาะ
2.1.3 กิจกรรมการพยาบาลที่ส่งผล ต่อการพักผ่อน ลดการทากิจกรรมการพยาบาล
ต่อการติดเชือ ที่ บ่ อ ยเกิ น ไป เช่ น การดู ด เสมหะควรท าเมื่ อ
ภายหลังผู้ป่วยทาหัตถการหรือสอดใส่ จาเป็น กรณีผู้ป่วยบางรายได้รับยาบาบิตูเรทให้
เครื่องมือเข้าไป15,16,17 เช่น การใส่สายระบายน้า เฝ้าระวังสังเกตผลข้างเคียงของยา เช่น ความดัน
ไขสัน หลังจากห้ องสมอง การใช้ เ ครื่ อ งช่ ว ย โลหิต ต่า นอกจากนั้ นต้ องมี การใช้เ ทคนิ คการ
หายใจ การพยาบาลเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการติด ผ่อนคลาย การประคับ ประคองทางด้ า นจิตใจ
เชื้อ ได้แก่ การประเมินอาการไข้ บริเวณแผลมี ทั้ งผู้ ป่ ว ยและญาติ โดยการรั บ ฟั ง ปั ญ หา เปิ ด
บวม แดง ร้ อ น ปวดศี ร ษะ คอแข็ ง การวั ด โอกาสให้ ผู้ ป่ ว ยและญาติ ไ ด้ ร ะบายความรู้ สึ ก
สัญญาณชีพ การสังเกตลักษณะสี และปริมาณ รวมถึง ส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วม
ของสารคัดหลั่งและลงบันทึกทุก 8 ชั่วโมง การ ในการดูแลผู้ป่ว ยจะช่วยลดความเครียดที่อาจ
ตรวจสอบสายระบายน้าไขสันหลังจากห้องสมอง เกิดขึ้นทั้งต่อผู้ป่วยและญาติได้
ไม่ให้เลื่อนหลุด หรือหัก พับ งอ ดูแลการทางาน 2.2 การพยาบาลก่อนจาหน่ายและ
ให้อยู่ในระบบปิดตลอดเวลา หากพบการรั่วซึม กลับไปอยู่บ้าน
ให้รายงานแพทย์ทราบทันที 11 การทาแผลโดย ในกรณีแพทย์อนุญาตให้ผู้ป่วยกลับไป
ยึดหลักสะอาดและปิดแผลไม่ให้สายระบายราบ อยู่ที่บ้าน ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย ได้แก่ การให้
ไปกั บ หนั ง ศี ร ษะของผู้ ป่ ว ย เพราะอาจท าให้ คาแนะนาการสังเกตอาการเลือดออกในสมอง
เลื่ อ นหลุ ด หรื อ หั ก พั บ งอได้ 11 ผู้ ป่ ว ยที่ ใ ช้ เมื่อผู้ป่วยกลับไปอยู่ที่บ้าน 24 ชั่วโมง ถึง 10 วัน
เครื่องช่วยหายใจต้องยึดหลักสะอาดปราศจาก แรก25 ซึ่งหากพบว่าการเตรียมให้ข้อมูลหรือ
เชื้อ การดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา วางแผนจ าหน่ า ยผู้ ป่ ว ยไม่ ดี ผู้ ป่ ว ยอาจไม่
และการติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตระหนักถึงอาการดังกล่าว และในกรณีผู้ป่ว ย
2.1.4 กิ จ กรรมการพยาบาลที่ บาดเจ็บศีรษะที่มีภาวะแทรกซ้อน หรือได้รับการ
ก่อให้เกิดภาวะเครียด ผ่าตัด การดูแลระยะต่อเนื่องและระยะฟื้นฟูก็มี
ผู้ ป่ ว ยที่ บ าดเจ็ บ ศี ร ษะโดยเฉพาะ ความสาคัญ ดังนั้นการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยให้กับ
ระยะแรก ส่วนใหญ่จะมีความเครียดเพิ่มขึ้น ซึ่ง พยาบาลระดับปฐมภูมิ จึงมีความจาเป็นเพื่อให้
9

เกิดการดูแลที่ต่อเนื่อง พยาบาลระดับปฐมภูมิจึง 2.2.2 บทบาทของพยาบาลระดับ


มีบทบาทสาคัญในการดูแลผู้ป่วยเมื่อกลับบ้านใน ปฐมภูมิในการดูแลผู้ป่วยระยะแรก
ระยะแรก และระยะต่อเนื่องและฟื้นฟู ซึ่งการ ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะระดับเล็กน้อยมัก
พยาบาลเพื่อป้องหลุมพรางดังกล่าวมีดังนี้ เกิดกลุ่มอาการภายหลังสมองกระทบกระเทือน
2.2.1 การพยาบาลก่อนจาหน่าย ได้แก่ อาการเวียนศีรษะ หรือตาพร่ามัว เดินเซ
เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน แขนขาอ่อนแรง ทาให้ไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตร
ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะในระดับเล็กน้อย ประจ าวั น ได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ บทบาทส าคั ญ ของ
จะรับไว้สังเกตอาการอย่างน้อย 6-24 ชั่วโมง พยาบาลระดั บ ปฐมภู มิ ต้ อ งติ ด ตามอาการ
เมื่อครบ 24 ชั่วโมง และไม่มีอาการเปลี่ยนแปลง รวมถึงการฟื้นฟูสภาพภายหลังการได้รับบาดเจ็บ
แพทย์จะจาหน่ายจากโรงพยาบาลเพื่อไปสังเกต ที่ศีรษะ การฟื้นฟูสภาพโดยทั่วไป 26 ได้แก่ การ
อาการต่อที่บ้าน ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยคือการให้ พัก ผู้ ป่ ว ยบาดเจ็ บศี ร ษะที่ มีก ลุ่ ม อาการสมอง
คาแนะนา เน้นย้าการสังเกตอาการผิดปกติ การ กระทบกระเทือนควรพักในช่วง 24-48 ชั่วโมง
เฝ้าระวังภาวะเลือดออกในสมองขณะอยู่ที่บ้าน โดยพักทั้งด้านร่างกาย หลีกเลี่ยงการออกกาลัง
ต้องแนะนาการปฏิบัติตัวแก่ผู้ป่วยและญาติให้ กายหักโหม การยกของหนัก หรือกิจกรรมทาง
สังเกตอาการผิดปกติขณะอยู่ที่บ้าน เช่น ผู้ป่วย เพศ และพักการใช้ความคิดหรือการจดจ่อต่อสิ่ง
ซึมลง ปลุก ไม่ตื่ น การมองเห็น เลวลงหรื อเห็ น ใดสิ่งหนึ่งเป็นเวลานานๆ เช่น การส่งข้อความ
ภาพซ้อน แขน ขาอ่อนแรงกว่าเดิม มีพฤติกรรม การเล่นเกม การดูทีวี การใช้คอมพิวเตอร์ การ
ผิดปกติไปจากเดิม มีเลือดหรือน้าใสๆ ออกจาก ทางาน เป็นต้น
หู หรือจมูก ควรรีบมาโรงพยาบาล รวมถึงการ นอกจากนี้ ภายใน 24 ชั่วโมงแรก
ติดตามอาการผู้ป่วยทางโทรศัพท์หลังจาหน่าย 7 ผู้ ป่ ว ยบาดเจ็ บ ศี ร ษะควรหลี ก เลี่ ย งการขั บ รถ
วั น พร้ อ มเบอร์ ติ ด ต่ อ กลั บ กรณี ผู้ ป่ ว ย/ญาติ เนื่องจากผู้ป่วยอาจจะยังอยู่ในระยะที่มีอาการ
ต้องการความช่วยเหลือ10 หากพยาบาลสามารถ ภายหลังสมองกระทบกระเทือน ซึ่งอาจนามาสู่
ติ ด ตามอาการภายหลั ง ที่ ผู้ ป่ ว ยจ าหน่ า ยจาก การเกิดอุบัติเหตุซ้าได้ และควรหลีกเลี่ยงการดื่ม
โรงพยาบาล ต้ อ งมี ก ารส่ งต่ อ ข้ อ มู ล ในรายที่ มี เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และสารเสพติด ซึ่งจะ
อาการผิ ด ปกติ ม ากหรื อ มี ค วามเสี่ ย งสู ง ไปยั ง ส่งผลต่อการเกิดกลุ่มอาการทางสมองที่ยาวนาน
พยาบาลระดับปฐมภูมิ เพื่อวางแผนติดตามเยี่ยม และรุนแรงมากขึ้น
ผู้ ป่ ว ย เนื่ อ งจากธรรมชาติ ข องกลุ่ ม อาการจะ 2.2.3 บทบาทของพยาบาลระดับ
ยั งคงอยู่ ไ ด้ ใ นช่ ว ง 7-14 วั น หลั งจ าหน่ า ย 26 ปฐมภูมิในการพยาบาลระยะต่อเนื่องและฟื้นฟู
นอกจากนีก้ ารฟื้นฟูสภาพควรทาตั้งแต่เริ่มแรก26 พยาบาลระดับปฐมภูมิมีบทบาทสาคัญ
พยาบาลระดับ ปฐมภูมิ จึงต้ องวางแผนติด ตาม ในการให้การช่วยเหลือฟื้นฟูต่อจากการพยาบาล
เยี่ยมผู้ป่วยและฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยต่อไป ในระยะแรก ซึ่ งการดู แ ลที่ส าคั ญ มี ดังนี้ 23 การ
10

กาหนดโปรแกรมการฟื้นฟูสภาพ เช่น การหัด กรณี ศึ ก ษาผู้ ป่ วยบาดเจ็ บศี รษะที่ มี


เดิ น การฝึ ก ก าลั งกล้ า มเนื้ อ แขนขา การกลื น ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
การพูด เป็นต้น ควรให้ครอบครัวและผู้ดูแลหลัก ผู้ป่วยชายไทยอายุ 50 ปี อาชีพค้าขาย
มี ส่ ว นร่ ว มในการฟื้ น ฟู ส ภาพ โดยร่ ว มมื อ กั บ มีโรคประจาตัวคือ ความดันโลหิตสูง ขาดการ
ทีมสหวิชาชีพในการวางแผนดูแลผู้ป่วย รักษาอย่างต่อเนื่อง มีประวัติดื่มสุราเป็นประจา
ในกรณีผู้ป่วยที่มีความพิการหรือภาวะ มาโรงพยาบาลด้วยอาการ ปวดศีรษะ ซึม แขน
ทุพ พลภาพหลงเหลื อ อยู่ การดู แ ลระยะยาวมี ขาอ่ อ นแรงข้ า งขวา ก่ อ นมาโรงพยาบาล 1
ความสาคัญอย่างยิ่ง บทบาทพยาบาลระดับปฐม ชั่วโมง สอบถามประวัติพ บว่า 2 วั นก่อนมา
ภูมิ มีดังนี้24 ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับ โรงพยาบาล ผู้ ป่ ว ยขั บ มอเตอร์ ไ ซด์ ล้ ม ศี ร ษะ
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากผลของพยาธิ กระแทกพื้น แต่ไม่สลบ จาเหตุการณ์ได้ มีแผล
สภาพและความเจ็บป่วย การดูแลที่สาคัญ การ ถ ล อ ก ต า ม ร่ า ง ก า ย ไ ป รั บ ก า ร รั ก ษ า ที่
สั งเกตอาการผิ ด ปกติ ที่ ค วรมาพบแพทย์ เช่ น โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ได้รับยาคลายกล้ามเนื้อ
การชั ก การให้ ข้ อ มู ล แหล่ ง ทรั พ ยากร เช่ น และยาแก้ปวดมารับประทานที่บ้าน หลังจากนั้น
สถานพยาบาลที่ อยู่ ใ กล้ บ้า น ซึ่ งสามารถไปใช้ 1 ชั่ว โมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยบ่นปวด
บริการในกรณีฉุกเฉิน เบอร์โทรศัพท์ในกรณีที่ ศีรษะและเหนื่อยเพลียจึงเข้านอนเวลา15.00 น.
ต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน วางแผนใน ตื่นนอนได้เองเวลาประมาณ 16.00 น. หลังตื่น
การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมภายในบ้านที่ทาให้ รู้สึกวิงเวียนศีรษะ มีอาเจียนพุ่ง 1 ครั้ง แขนขา
เกิดความสะดวก เช่น การปรับเปลี่ยนห้องน้าให้ อ่ อ นแ รงด้ า นขวา เดิ นเ ซ ญ า ติ จึ ง น า ส่ ง
สามารถน ารถเข็ น เข้ า ไปได้ การท าทางลาด โรงพยาบาล แพทย์มีแผนการรักษาให้ใส่ท่อช่วย
สาหรั บรถเข็น ประสานการทางานร่วมกับที ม หายใจและใช้ เ ครื่ อ งช่ ว ยหายใจ เอกซเรย์
สุ ข ภาพในการฟื้ น ฟู ก ระบวนการรั บ รู้ แ ละ คอมพิ วเตอร์สมอง และเตรีย มผู้ป่ว ยผ่า ตัดท า
กระบวนการคิดให้แก่ผู้ป่วยโดยใช้เครือข่ายทาง การระบายน้าไขสันหลังจากห้องสมองออกมาสู่
สั ง คม จั ด เตรี ย มแหล่ ง สนั บ สนุ น ทางสั ง คม ภายนอกร่างกายด้านขวาหลังผ่าตัดผู้ป่วยรู้สึกตัว
วางแผนร่วมกันในการส่งเสริมตามความเชื่อทาง ดี ระดับความรู้สึกตัว E4VTM5 ขนาดของรูม่าน
ศาสนาหรื อ ด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณที่ ผู้ ป่ ว ยเลื่ อ มใส ตา 2 มิลลิเมตร มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อแสงดี
ศรัทธา และส่งเสริมการทางานอดิเรกที่ผู้ป่ว ย ท่อระบายน้าไขสันหลังจากห้องสมองออกมาสู่
ชอบ การทางานและกิจกรรมตามความสามารถ ภายนอกร่างกายด้านขวาสีแดงจาง หลังผ่าตัดได้
การเป็นอาสาสมัครในการทากิจกรรมที่เป็นการ 4 วัน ผู้ป่วยสามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจได้
กุ ศ ล เพื่ อ สร้ า งความหวั ง และลดความรู้ สึ ก และแพทย์ ใ ห้ ถ อดสายท่ อ ระบายน้ าไขสั น
สูญเสียคุณค่าในตนเอง ป้องกันการเกิดความคิด หลั งจากห้ อ งสมองออกมาสู่ ภ ายนอกร่ า งกาย
ที่ว่าตนเองเป็นคนไม่มีประโยชน์ ไร้สมรรถภาพ ด้านขวา ในวันที่ 10 หลังการผ่าตัด และถอดท่อ
11

ช่วยหายใจได้ในวันที่ 14 หลังจากนั้นผู้ป่วยได้ เกิ ดขึ้ น ในกรณี ที่ ข้ อจ ากัด ด้า นความรู้ หรื อขาด
ย้ายออกจากหอผู้ป่วยหนัก ไปอยู่ที่หอผู้ป่วย ประสบการณ์ของพยาบาล และไม่มีการกากับ
ศัลยกรรมระบบประสาท ด้วยอาการแขนขาซีก ติ ด ตาม หรื อ นิ เ ทศในการดู แ ลผู้ ป่ ว ยจาก
ขวาอ่ อ นแรง แพทย์ อ นุ ญ าตให้ ก ลั บ บ้า นได้ ใ น ผู้เชี่ยวชาญ คือ การไม่มีระบบการปรึกษาหรือพี่
วันที่ 17 หลังการผ่าตัด และนัดติดตามอาการ เลี้ยงนิเทศในงานที่ยากหรือซับซ้อน ทาให้ การ
ต่อไป พยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ ทาให้ผู้ปฏิบัติงาน
การวิเคราะห์กรณีศึกษา ที่ขาดความรู้หรือประสบการณ์ไม่สามารถให้การ
กรณีศึกษารายนี้หลุมพรางในพยาบาล พยาบาลผู้ป่วยได้เช่น การประเมินระดับความ
เกิดขึ้น เนื่องจากผู้ป่วยเมื่อเกิดอุบัติเหตุ ได้ไปรับ รู้สึกตัว การประเมินการตอบสนองของร่างกาย
กา ร รั ก ษ า ที่ โ ร ง พ ย า บ า ล แ ต่ ไ ม่ ไ ด้ น อ น ในระยะปรับตัวชดเชย การสังเกตอาการเตือน
โรงพย าบ าล เ พื่ อ สั ง เกตอาการ ผิ ด ปกติ ของภาวะความดันในกะโหลกศี รษะสูง การขาด
หลุมพรางหรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นอาจจะต้อง ที่ปรึกษาหรือผู้กากับติดตามนิเทศอาจเป็นช่อง
พิจารณาใน 4 ปัจจัย7 ดังนี้คือ โหว่งในการทาให้เกิดข้อผิดพลาดได้
1) ปัจจัยด้านองค์การ (Organization 3) สภาพ/เงื่ อ นไขที่ ไ ม่ ป ลอดภั ย
Influence) คือ สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการทางานใน (Unsafe Conditions) ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขส่วน
องค์ก ารที่ส ามารถทาให้องค์ การนั้ นๆ ประสบ บุค คล หรื อวิ ธี ป ฏิบั ติ ส่ วนบุ คคล หรื อ อาจเกิ ด
ความส าเร็ จ และบรรลุ เ ป้ า หมายอย่ า งมี จากสภาวะของผู้ป่วยเองในบางภาวะก็เสี่ยงที่จะ
ประสิทธิภาพ ได้แก่ ระบบและแนวปฏิบัติในการ ได้ รั บ การดู แ ลที่ ผิ ด พลาดได้ ซึ่ ง กรณี ศึ ก ษานี้
พยาบาลผู้ ป่ ว ยบาดเจ็ บ ศี ร ษะ การจั ด การ ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน
ทรัพยากร ในกรณีศึกษานี้ ต้องพิจารณาถึงแนว ได้สูงจากอาการเจ็บป่วยที่ เกิดขึ้นของผู้ป่วยเอง
ปฏิ บั ติ ก ารพยาบาลผู้ ป่ ว ยบาดเจ็ บ ศี ร ษะ ซึ่ ง นอกจากนี้อาจเกิดจากข้อจากัดด้านความรู้หรือ
ผู้ป่วยควรจะได้รับการดูแลรักษาในโรงพยาบาล ขาดประสบการณ์ ใ นงานที่ ท า ความเครี ย ด
โดยสังเกตอาการอย่างน้อย 6-24 ชั่วโมง แต่ ความประมาท ละเลย หลงลืม ความง่วง และ
พบว่าผู้ป่วยได้จาหน่ายกลับบ้าน และได้รับยา อ่อนเพลียอ่อนล้าขณะทางาน การทางานของ
คลายกล้ า มเนื้ อ และยาแก้ ป วด เมื่ อ พิ จ ารณา พยาบาลที่มีลักษณะของการทางานเป็นเวร เป็น
ข้อ ผิด พลาดด้า นองค์ การอาจเกิ ดขึ้ นจาก การ กะมากกว่ า การดู แ ลผู้ ป่ ว ยต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง ท าให้
จัดสรรทรัพยากร อัตรากาลังของบุคลากรในการ ความสามารถในการติ ด ตามและดู แ ลผู้ ป่ ว ย
ดูแลผู้ป่วยขณะนั้นอาจไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถ เฉพาะรายลดลง ขาดความสมบูรณ์และต่อเนื่อง
ปฏิบัติงานตามแนวปฏิบัติที่กาหนดไว้ ของข้อมูลระหว่างการส่งต่อในทีมการรักษา
2) การก ากั บ ดู แ ลที่ ไ ม่ ป ลอดภั ย 4) การกระทาที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe
(Unsafe Supervision) ในกรณีศึกษานี้อาจ Act) การดูแลผู้ป่วยไม่เป็นไปตามแนวทางปฏิบัติ
12

ที่ ถู ก ต้ อ ง ในกรณี ศึ ก ษานี้ ก ารกระท าที่ ไ ม่ บุคลากรทางการแพทย์ เพื่อนาไปปฏิบัติตัวต่อที่


ปลอดภัยอาจเกิดขึ้นเนื่องจากความไม่เข้าใจใน บ้าน จึงควรให้ความสาคัญอย่างมากกับการให้
การประเมิ น ระดั บ ความรู้ สึ ก ตั ว หรื อ การไม่ ความรู้ แ ก่ ผู้ ป่ ว ย อาจท าได้ โ ดยใช้ วิ ธี ก ารที่ มี
ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่กาหนด ขาดการเน้นย้า การศึ ก ษาว่ า ได้ ผ ลดี เช่ น การให้ ผู้ ป่ ว ยทวน
ในการให้คาแนะนาการสังเกตภาวะความดันใน คาแนะนานั้นให้ผู้สอนฟัง รวมถึงการเสริมสร้าง
กะโหลกศีรษะสูง หลังจากการบาดเจ็บภายใน ความมั่นใจและให้กาลังใจแก่ผู้ป่วย นอกจากนี้
6-24 ชั่วโมง และการติดตามอาการและส่งต่อ ควรมีการวิจัยด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยเพื่อ
ข้อมูลผู้ป่วยเพราะการปฏิบัติงานหนึ่งงานที่มีผู้ น ามาใช้ ใ นการลดความเสี่ ย งในการเกิ ด
ร่ ว ม ท า ห ล า ย ค น อ า จ ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วย
คลาดเคลื่อนในการสื่อสารและการส่งต่อข้อมูล การพยาบาลที่สาคัญในผู้ป่วยรายนี้อีก
ในการติดตามอาการของผู้ป่วยได้ อย่าง คือการพยาบาลในระยะต่อเนื่องและฟื้นฟู
การพัฒนาเพื่อให้เกิดความปลอดภัย เนื่ อ งจากผู้ ป่ ว ยยั งขาดการรั ก ษาโรคความดั น
ในการดูแลผู้ป่วยอาจทาได้โดย 27 พัฒนาความ โลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง และมีแขนขาซีกขวาอ่อน
ถูกต้องแม่นยาในการพยาบาลและเพิ่มคุณภาพ แรง จึงมีความจาเป็นที่จะต้องส่งต่อข้อมูลของ
การพยาบาล เช่น การมีแนวปฏิบัติการพยาบาล ผู้ป่วยให้กับพยาบาลในระดับ ปฐมภูมิ ได้ทราบ
ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ การพัฒนาการตรวจสอบ และนาข้อมูลไปวางแผนในการให้การช่วยเหลือ
ระบบบริการให้มีมาตรฐาน โดยการพัฒนาแบบ ฟื้นฟู พยาบาลในระดั บปฐมภูมิจะติดตามการ
แผนการบริ ก ารที่ ช่ ว ยลดความผิ ด พลาดใน รักษาโรคความดันโลหิตสูงอย่างสม่าเสมอ และ
ขั้นตอนต่างๆ ลง เช่น มีการใช้รายการตรวจสอบ กาหนดโปรแกรมการฟื้นฟูสภาพ เพื่อให้ผู้ป่วย
เพื่ อ ตรวจสอบความครบถ้ ว นในขั้ น ตอนการ สามารถดารงชีวิตในสังคมได้โดยมีคุณภาพชีวิตที่
บริการต่างๆ เป็นต้น การจัดเตรียมทรัพ ยากรที่ ดีตามอัตภาพ
เหมาะสมและเพียงพอในการบริการผู้ป่วย ควรมี สรุป
การพัฒนาระบบการประสานงานการดูแลผู้ป่วย การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะที่มี
ระหว่ า งที ม ผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร ซึ่ ง อาจใช้ ก ารประชุ ม ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased
ร่ ว ม กั น เ พื่ อ ห า ข้ อ ต ก ล ง แ ล ะ ร ะ บ บ ที่ มี Intracranial Pressure: IICP) พยาบาลต้องมี
ประสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง การใช้ ร ะบบเทคโนโลยี ความรู้และความเข้าใจ ด้านการประเมินสภาพ
สารสนเทศสามารถเข้ามามีบทบาทสาคัญในการ เรื่ อ ง การประเมิ น ภาวะความดั น ในกะโหลก
พัฒนาได้ อีกทั้งการพัฒนาระบบการให้ความรู้ ศีร ษะสูง การประเมิ น ความสมดุล ของสารน้ า
กับผู้ป่วย เพราะผู้ป่วยคือผู้ที่มีบทบาทสาคัญเป็น และเกลือแร่ในร่างกาย การประเมินภาวะติดเชื้อ
อย่ า งยิ่ ง ต่ อ ความปลอดภั ย ของการพยาบาล การประเมินการตอบสนองของร่างกายในระยะ
ผู้ป่วยมีเวลาแค่เล็กน้อยในการรับคาแนะนาจาก ปรับตัวชดเชย และการสังเกตอาการเตือนของ
13

ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง และด้านการ หรือหลุมพรางการพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ


ปฏิบัติการพยาบาล เรื่อง กิจกรรมการพยาบาล ที่มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ส่งผลให้
ที่ส่งผลให้การกาซาบเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง ลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยและการเสียชีวิต
เช่ น การจั ด ท่ า ไม่ ถู ก ต้ อ ง การพลิ ก ตะแคงตั ว ได้ อีกทั้งสามารถส่งต่อข้อมูลให้พยาบาลระดับ
การดู ดเสมหะที่ไม่ มีประสิท ธิภาพ การติ ดเชื้ อ ปฐมภู มิ ในการให้ ก ารช่ ว ยเหลื อ ฟื้ น ฟู เพื่ อ ให้
การเสียสมดุลของสารน้าและเกลือแร่ และการ ผู้ป่วยสามารถดารงชีวิตในสังคมได้โดยมีคุณภาพ
ก่อ ให้ เ กิด ภาวะเครี ย ด จะช่ วยลดข้ อผิ ด พลาด ชีวิตที่ดีตามอัตภาพ

References 4. Zerfoss CL. Reducing intracranial


1. Transport Accident Management pressure in patients with traumatic
Systems (TRAMS). Accident situation brain injury. Am Nurse Today 2016;
on the network of the Ministry of 11(10): 1-6.
Transport [Internet]. Ministry of 5. Smith N. Intracranial Pressure Patient.
Transport; 2021 [cited 2021 May Ipswich, Massachusetts: EBSCO
11]. Available from: https://trams. Publishing; 2017.
mot.go.th/report-executive. 6. Pasukunthapuk N, Piyopasakul W,
2. Burton J. Countries with the most car editors. Clinical Nursing Practice
accidents [Internet]. WorldAtlas; Guidelines for patient with
2018 [cited 2021 May 11]. Available craniotomy. Bangkok: Thanaplace;
from: https://www.worldatlas.com/ 2014.
articles/the-countries-with-the- 7. Thungjaroenkul P. Systematic
most-car-accidents.html. Management for Patient Safety
3. Phuenpathom N, Srivilaikul T, editors. Achievement. Nursing Journal.
Clinical practice guidline for 2018; 45(2):148-56. (in Thai)
traumatic brain injury. Bangkok: 8. Reason J. Human error: models and
Prosperous Plus; 2020. management. Bmj. 2000; 320(7237):
768-70.
14

9. Suwanpitak W, Vipavakarn S, Nurse 2012; 32(2): e1-8.


Prakeetavatin B. Development to 14. Smith N, Gilreath-Osoff. Syndrome of
clinical nursing practice guideline for Inappropriate Antidiuretic Hormone
patients with mild traumatic brain Secretion (SIADH). Ipswich,
injury in Krabi hospital. The Southern Massachusetts: EBSCO Publishing;
College Network Journal of Nursing 2018.
and Public Health. 2017; 4(2):140-56. 15. Vyas K, Singh KM. Outcome of
(in Thai) Cranioplasty Done within and
10. Kirkman MA, Smith M. Intracranial Beyond 2 Months after
pressure monitoring, cerebral Decompressive Craniectomy for
perfusion pressure estimation, and Traumatic Brain Injury. Journal of
ICP/CPP-guided therapy: a standard Evolution of Medical and Dental
of care or optional extra after brain Sciences 2021; 10(10): 711-5.
injury? Br J Anaesth 2014; 112(1): 35- 16. Unda SR, Mousa H, Labagnara K,
46. Birnbaum J, de Silva N, Wong M, et
11. Prachuablarp C. Increased al. Gram-Negative Ventriculostomy-
intracranial pressure in patients with Associated Infections Predict Shunt
brain pathology: A dimension of Dependency in Stroke Diagnoses
evidence-base nursing practice. Thai and Other Brain Injuries. Operative
Journal of Nursing Council 2018; neurosurgery (Hagerstown, Md)
33(4): 15-28. (in Thai) 2021; 20(5): 462-8.
12. Diringer M. Neurologic manifestations 17. Sevdi MS, Demirgan S, Erkalp K,
of major electrolyte abnormalities. Akyol O, Ozcan FG, Guneyli HC, et
Handb Clin Neurol 2017; 141: 705- al. Continuous Endotracheal Tube
13. Cuff Pressure Control Decreases
13. John CA, Day MW. Central Incidence of Ventilator-Associated
Neurogenic Diabetes Insipidus, Pneumonia in Patients with
Syndrome of Inappropriate Secretion Traumatic Brain Injury. Journal of
of Antidiuretic Hormone, and Investigative Surgery 2021: 1-15.
Cerebral Salt-Wasting Syndrome in https://doi.org/10.1080/08941939.2
Traumatic Brain Injury. Critical Care 021.1881190.
15

18. Sabet N, Soltani Z, Khaksari M. 23. Khiewchaum R, Wattana C. Holistic


Multipotential and systemic effects nursing of traumatic brain injury
of traumatic brain injury. Journal of patient. Journal of Phrapokklao
Neuroimmunology 2021; 357: 1-14. Nursing College 2017; 28(1): 129-39.
19. Rukyingcharean K, Thaikla A, (in Thai)
Suvarnakuta P. Use of ABCs 24. Piyahiran J. A call for knowledge
mnemonic concept in caring for and skill of caregivers for stroke
patients with increased intracranial patients during the covid-19
pressure. Journal of Health Science pandemic. Journal of Public Health
Research 2018; 12(Suppl): 12-9. (in Nursing 2020; 34(3): 152-63. (in Thai)
Thai) 25. Abdulle AE, de Koning ME, van der
20. Wonganan U. Reducing Body Horn HJ, Scheenen ME, Roks G,
Temperature in Patients with Hageman G, et al. Early Predictors
Traumatic Brain Injury, Presenting for Long-Term Functional Outcome
with Fever. APHEIT Journal 2015; after Mild Traumatic Brain Injury in
4(2): 75-82. Frail Elderly Patients. J Head
21. Ponglaohapun U, Wongwatunyu S, K. Trauma Rehabil 2018; 33(6): e59-67.
K. Nursing Activities and Factors 26. Emeot Y. Rehabilitation post
Related to Increased Intracranial concussion syndrome in mild
Pressure in Head Injured Patients. traumatic brain injury: Nurse’s role.
Rama Nurs J. 2009;15(2):221-32 Journal of Nursing Division 2020;
22. Thapsongsang P, Yodrak W. 47(1): 1-10. (in Thai)
Endotracheal suctioning in patients 27. Komonsuradej N. Patient safety in
with severe traumatic brain injury. ambulatory care. Binla Book; 2018
Songklanagarind Journal of Nursing. [cited 2021 Aug 16]. Available from:
2018;38(3):192-7. (in Thai) https://meded.psu. ac.th/binla/
class04/388_441/ patient_ safety_
in_ambulatory_care/index3.html

You might also like