You are on page 1of 21

การปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

(Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR)


ขอบข่ายเนื้อหา การปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน : CPR
ความหมายและวัตถุประสงค์

ระบบที่มีความสาคัญต่อการมีชีวิต

อาการของผู้บาดเจ็บที่ต้องทา CPR

หลักการปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

ขั้นตอนในการปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

ขั้นตอนการใช้เครื่องช็อกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (AED)
การปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
(Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR)

หมายถึง
การช่วยเหลือระบบการไหลเวียนโลหิต
และระบบการหายใจ เมื่อเกิดภาวะ
หัวใจหยุดเต้นและหยุดหายใจกะทันหัน
วัตถุประสงค์
เพื่อช่วยให้เซลล์ของร่างกายมีออกซิเจนไป
หล่อเลี้ยงเพียงพอ โดยเฉพาะสมองและหัวใจ
จนกระทั่งระบบต่าง ๆ ของร่างกายทางานได้
เป็นปกติ
ระบบที่มีความสาคัญต่อการมีชีวิต
ระบบหายใจ
(Respiratory System)
ระบบประสาท
(Nervous System)

4 นาทีทอง
4 - 6 นาที เป็นช่วงเวลาในการ
ช่วยเหลือผู้หยุดหายใจ
ระบบไหลเวียนโลหิต
(Circulatory System)
ที่มีประสิทธิภาพที่สุด

ทั้ง 3 ระบบนี้จะทางานสัมพันธ์กัน ถ้าระบบใดระบบหนึง่ หยุดทางาน


อีก 2 ระบบจะหยุดทางาน ถ้าไม่ได้รับการแก้ไข ตาย
อาการของผู้บาดเจ็บที่ต้องทาการ CPR

หายใจ
ไม่
2016
ไม่2018 ผิดปกติ2020
ตอบสนอง หายใจ (หายใจเฮือก)
หลักการปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
1. ช่วยการไหลเวียนโลหิต โดยการกดหน้าอก
(Chest Compression = C )
2. เปิดทางเดินหายใจ
(Open Airway = A)
3. ช่วยการหายใจ โดยการเป่าปาก
(Breathing = B)
ขั้นตอนในการปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
(Cardiopulmonary Resuscitation : CPR)
มี 6 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 สารวจสถานการณ์และประเมินความปลอดภัย
สถานการณ์
ปลอดภัย
ขั้นตอนที่ 2 ประเมินการตอบสนองและการหายใจ
- สังเกต 3 น.
- ปลุกเรียก
หน้า หน้าอก หน้าท้อง
คุณ คุณ คุณ
ไม่ตอบสนอง ไม่ขยับ
เขยื้อน ไม่หายใจ
ขั้นตอนที่ 3 ขอความช่วยเหลือ
“ช่วยด้วย ช่วยด้วย มีคนหมดสติ ไม่หายใจ ช่วยโทรแจ้ง 1669
และนาเครื่อง AED มาด้วย”
ขั้นตอนที่ 4 การกดหน้าอก ช่วยการไหลเวียนโลหิต
: โดยการกดหน้าอก ดังนี้
1. ตาแหน่งวางมือ : กึ่งกลางหน้าอก
2. กดด้วย : ส้นมือ 2 ข้างซ้อนกัน
3. กดลึก : 5 – 6 เซนติเมตร
4. ความเร็วในการกด : 100 – 120 ครั้งต่อนาที
ขั้นตอนที่ 5 เปิดทางเดินหายใจ
1. ใช้สันมือกดหน้าผาก และ 2 นิ้ว เชยคางบริเวณขากรรไกรยกขึ้นให้หน้าแหงน
2. ตรวจดูสิ่งของในปาก
การเปิดทางเดินหายใจวิธีนี้ใช้ได้กับผู้บาดเจ็บทุกกรณี
ขั้นตอนที่ 6 ช่วยการหายใจ
บีบ เป่า ปล่อย คือ บีบจมูก เป่าลมปาก 2 ครั้ง ทุกครั้งที่เป่าต้องเห็น
ทรวงอกขยาย จึงปล่อยมือทีบ่ ีบจมูก
อัตราส่วนการกดหน้าอกต่อการเป่าปาก 30 : 2
ทาการกดหน้าอก 30 ครั้งและเป่าปาก 2 ครั้ง ต่อเนื่องจนกว่า
บุคลากรการแพทย์มาช่วยเหลือ
เราจะหยุดทาการช่วยชีวิตต่อเมื่อ???

มีบุคลากร ผู้บาดเจ็บมีการ
ทางการแพทย์ หายใจและชีพจร
มาช่วยเหลือ กลับคืนมา
อันตรายจากการทา CPR
ช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานที่ไม่ถูกต้อง
1. กระดูกหัก
2. อวัยวะภายใน ได้แก่
ปอด หัวใจ ตับ ฉีกขาด
ทาให้เสียเลือดมาก
3. การติดเชื้อ และได้รับ
สารพิษจากผู้บาดเจ็บ
เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ
(Automated External Defibrillator : AED)
• เป็นเครื่องอัตโนมัติที่มีความสามารถอ่าน
คลื่นไฟฟ้าหัวใจหยุดเต้นอย่างกะทันหัน และ
สามารถกระตุ้นให้หัวใจกลับมาเต้นเป็นปกติได้
• เมื่อเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นอย่างกะทันหัน
หัวใจจะบีบตัวผิดจังหวะอย่างรุนแรงมาก
ทาให้หัวใจห้องล่างซ้ายสั่นพลิ้ว ไม่สามารถ
สูบฉีดเลือดได้ การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า จะทาให้
หัวใจกลับมาเต้นเป็นปกติอีกครั้ง
ตาแหน่งการติดแผ่นนาไฟฟ้า (Electrode) เครื่อง AED

เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ : AED
• ด้านบนขวาใต้กระดูกไหปลาร้า เหนือราวนม
• ด้านล่างซ้ายบริเวณใต้ราวนม ด้านข้าง
ข้อปฎิบัติก่อนติดแผ่นนาไฟฟ้า
1. เปิดเสื้อ
2. หากสวมเสื้อชั้นในให้ถอดออก
3. หากบริเวณที่ติดแผ่นนาไฟฟ้ามีขน
ให้โกนขนออกก่อน
4. หากบริเวณที่ติดแผ่นนาไฟฟ้าเปียก
ต้องเช็ดให้แห้ง
1. เปิดเครื่อง 2. ติดแผ่นนาไฟฟ้า

เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ : AED
3. รอเครื่องวิเคราะห์ 4. กดปุ่มช็อก (SHOCK)
Thank you

You might also like