You are on page 1of 60

โดยนายกฤษณ์ปภัทธ์ แก้วยม

พยาบาลวิชาชีพปฎิบัตกิ าร
คาถาม
 1. การปฐมพยาบาลเบื้องต้นหมายถึงอะไร
ก. ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ ณ สถานที่นั้น โดยใช้อุปกรณ์
เท่าที่มีในตอนนั้น
ข. ช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้้า
ค. ช่วยเหลือผู้ที่ประสบอุบัติเหตุในโรงพยาบาลคนแรก
ง. ช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยทางอากาศ
คาถาม
2. ข้อใดไม่ใช่การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ก. เพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วย หรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์หรืออุบัติเหตุ
ต่างๆ ในขณะนั้น
ข. เพื่อเป็นการลดความรุนแรงของอาการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วย
ค. เพื่อท้าให้บรรเทาความเจ็บปวดทรมานของผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ
และช่วยให้กลับสู่สภาพเดิมโดยเร็ว
ง. เพื่อเป็นการหารายได้พิเศษ
คาถาม
 3. สิ่งแรกที่ควรทาเมื่อพบผู้ป่วยหมดสติคือข้อใด
ก. รีบตรวจวัดชีพจร
ข. เรียกให้คนช่วยเหลือ
ค. นวดหัวใจและผายปอด
ง. คลายเสื้อผ้าให้หายใจสะดวก
คาถาม
 4.หากผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยสาลัก
น้าลายหรือเลือด ควรให้ผู้ป่วยนอนลักษณะใด
ก. นอนคว่าตัว
ข. นอนตะแคงหน้า
ค. นอนหงาย
ง. นอนใกล้ๆกับหน้าต่าง
คาถาม
 5 การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) จะทาเมื่อใด
ก. ผู้ป่วย ชักเกร็ง เหนื่อย อ่อนเพลีย
ข. ผู้ป่วย หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น
ค. ผู้ป่วย นอนนิ่งๆ ปลุกไม่ตื่น แต่ยังหายใจ
ง. ผู้ป่วย บอกว่าแน่นหน้าอก หายใจไม่ออก
คาถาม
 6 การช่วยฟื้นคืนชีพ ต้องช่วยเหลือผู้ป่วยที่หยุดหายใจ
แบบเฉียบพลัน ภายในกี่นาที ผู้ป่วยถึงจะมีโอกาสรอด
ก. 4 นาที
ข. 5 นาที
ค. 6 นาที
ง. 7 นาที
คาถาม
 7.การช่วยชีวต
ิ ขั้นพื้นฐาน ( CPR ) ในผู้ใหญ่ อัตราการเป่าปาก
ต่อการกดหน้าอก คือข้อใด *
ก. เป่าปาก 1 ครั้ง ต่อ กดหน้าอก 10 ครั้ง
ข. เป่าปาก 2 ครั้ง ต่อ กดหน้าอก 15 ครั้ง
ค. เป่าปาก 2 ครั้ง ต่อ กดหน้าอก 20 ครั้ง
ง .เป่าปาก 2 ครั้ง ต่อ กดหน้าอก 30 ครั้ง
คาถาม
 8. การขอความช่วยเหลือจากทีมแพทย์ฉุกเฉิน
ผ่านสายด่วน
ก. หมายเลข 1 6 6 9
ข. หมายเลข 1 9 9 6
ค. หมายเลข 1 6 9 9
ง. หมายเลข 1 9 6 6
คาถาม
 9.เมื่อท่านพบผู้ป่วยหมดสติ หลังเปิดทางเดินหายใจและพบว่า
ผู้ป่วยหยุดหายใจ ต้าแหน่งที่ใช้ประเมินชีพจรในผู้ใหญ่หมดสติ
และไม่รู้สึกตัวคือต้าแหน่งใด
ก.Radial artery (ข้อมือ)
ข.Brachial artery(ข้อพับ)
ค.Carotid artery(ล้าคอ)
ง.Femoral artery(ขาหนีบ)
คาถาม
 10.ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับการนวดหัวใจ( Cardiac Massage)
ก. ต้าแหน่งของส้นมือจะต้องอยู่ตรงกลางร่องของกระดูกหน้าอก
ข. กระดกปลายนิ้ว เพื่อให้น้าหนักลงบนส้นมืออย่างเดียว
ค. นวดในอัตรา 100-120 ครั้ง / นาที
ง. ถูกทุกข้อ
ความหมายของการปฐมพยาบาล
การให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ
ณ สถานที่เกิดเหตุ โดยใช้อุปกรณ์เท่าที่จะหาได้ใน
ขณะนั้นก่อนที่ผู้บาดเจ็บจะได้รบั การดูแลรักษาจาก
บุคลากรทางการแพทย์ หรือส่งต่อไปยังโรงพยาบาล
วัตถุประสงค์ของการปฐมพยาบาล
ช่วยให้รอดชีวิต
ช่วยให้รอดพ้นจากความพิการ
ช่วยให้บรรเทาอาการเจ็บปวด ทรมาน
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
กรณีเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน

รู้สึกตัว
หมดสติ
เป็นลม( Syncope)
หมายถึง :การหมดสติ ชั่วขณะ เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
อาการ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ลมธรรมดา ลมแดด 1คลายสิ่งรัดตัวออกให้หลวมสบาย


อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ หน้า 2ให้นอนศีรษะต่่ากว่าล่าตัว
ซีด ตัวเย็น ชีพจรเบา กระวน เล็กน้อย ยกขาสูงเล็กน้อย
3ถ้ามีเหงื่อมากเช็ดตัวให้แห้ง กรณี
กระวาย,กระสับกระส่าย, ปวด
เป็นลมแดด ควรเช็ดตัวด้วยน้่าเย็น
หัว, หมดความรู้สึกชั่ววูบ 4ให้ดื่มเครือ่ งดื่มเย็นๆ ในรายที่
สูญเสียเหงื่อมาก แต่ถา้ มีอาการ
คลื่นไส้ อาเจียนอยู่ ควรงดไว้ก่อน
ชัก
ชัก หมายถึง การที่มีอาการกระตุก หรือเกร็งของ
กลามเนื้อ แขน ขา หน้า ลาตัว โดยจะรู้ตัว หรือไม่
รู้ตัวก็ได้
ซึ่งมีสาเหตุมาจาก
โรคทางสมอง ความดันโลหิตสูง บาดทะยักในเด็ก
แรกเกิด ได้รับสารพิษ เช่น สารตะกั่ว หรือจากไข้สูง
ในเด็กเล็ก ๆ
การปฐมพยาบาลอาการชัก
1) น่าผู้ป่วยนอนในที่ปลอดภัย ให้นอนราบตะแคงหน้าไปทางด้านใด
ด้านหนึ่ง เพื่อให้ สิ่งที่อยูใ่ นปากไหลออก
2) ปลดหรือคลายเสื้อผ้าให้หลวม
3)ถ้ามีเสมหะ น้่าลาย หรือเศษอาหาร ฟันปลอมให้เอาออกจากปาก
4)ถ้าชักจากไข้สูง รีบเช็ดตัวด้วยน้่าเย็นจนกว่าไข้จะลด และให้ยาลดไข
5) ระมัดระวังการกระทบกระแทกหรือตกจากที่นอน จากเตียง
6) ห้ามให้สิ่งใด ๆ ทางปาก เพราะจะท่าให้ผู้ป่วยส่าลัก
7) ให้ผู้ป่วยนอนอยู่ในที่เงียบ ๆ โล่ง อากาศถ่ายเทได้สะดวก
9) ถ้าอาการไม่ดีขึ้น น่าส่งต่อแพทย์
ลมพิษ
 สาเหตุ
โดนสารที่แพ้ เช่น พืช สารเคมี แพ้อาหารทะเล เหล้า เบียร์ ละอองฝุ่น หรือเกสร
ต่างๆ

การปฐมพยาบาล
1) ทายาแก้ผดผื่นคัน Calamine lotion
2) กินยาแก้แพ้ CPM
3) หาสาเหตุการแพ้
4) ถ้าผื่นไม่ยุบลง และเป็นเพิ่มมากขึ้นให้รีบพบแพทย์
บาดแผล และการห้ามเลือด
• แผลฟกช้า
แผลปิด • แผลบวมผิดรูป

• แผลฉีกขาดของผิวหนัง
แผลเปิด • แผลเลือดออก กระดูกโผล่
วิธีการห้ามเลือด
ป้องกันตนเอง
จากการติดเชื้อก่อน
เป็นอันดับแรก
เช่น สวมถุงมือ
สวมถุงพลาสติก
ใช้ผ้าสะอาดกดลงบนบาดแผลโดยตรง
แล้วใช้ผ้าพันแผล พันให้แน่นพอควร
ยกส่วนที่ได้รับบาดเจ็บให้สูงไว้
หากเลือดยังไม่หยุดให้กดจุดเส้นเลือดแดงใหญ่
ประโยชน์หลักการห้ามเลือด
 เพื่อลดการสูญเสียเลือดไปจากร่างกายทางบาดแผล มีดังนี้
(1) การกดบนบาดแผลโดยตรง (2) ยกส่วนที่ได้รับบาดเจ็บให้สูง
แต่ถ้ามีการหักร่วมด้วย ห้ามยก

(3) กดเส้นเลือดแดงใหญ่เหนือบาดแผล
แผลปิด
แผลวัสดุหักคา
 ห้ามดึงออก ยึดวัสดุนั้นให้นิ่งๆ และรีบนาส่ง รพ.
แผลอวัยวะถูกตัดขาด
งูกัด
1) งูพิษ มีเขี้ยว 1 คู่ อยู่ตรงขากรรไกรบน เขี้ยวมีลักษณะเป็นรูกลวง
คล้ายเข็มฉีดยา มีท่อติดต่อกับต่อมน้้าพิษ เมื่องูพษิ กัดคนหรือสัตว์ ต่อมน้้าพิษจะปล่อย
พิษไหลมาตามท่อ และออกทางปลายเขี้ยว คนที่ถกู งูพิษกัดจะพบรอยเขี้ยวเป็น
จุด 2 จุด ตรงบริเวณที่ถูกกัด
2)งูไม่มีพิษ จะไม่มีเขี้ยว มีแต่ฟัน เมือ่ กัดคน จะเป็นแต่รอยถลอกหรือ
รอยถากเท่านั้น จะไม่พบรอยเขี้ยว
-งูไม่มีพิษ เช่น งูก้นขบ งูแสงอาทิตย์ งูปี่แก้ว งูเขียวปากจิ้งจก งูลายสาบ งู
ลายสอ งูงอด งูเหลือม และงูหลาม
การบาดเจ็บของกระดูก กล้ามเนื้อ และข้อ
 กระดูกหัก หมายถึง ภาวะที่ส่วนประกอบของกระดูกแตกออกจากกัน แบ่งเป็น 2 ชนิด
1) กระดูกหักชนิดปิด คือ กระดูกหักที่หักแล้วไม่แทงทะลุผิวหนังออกมา
และไม่มีแผลที่บริเวณหัก

(2) กระดูกหักชนิดเปิด คือ กระดูกหักแล้วแทงทะลุผ่านผิวหนัง และมีแผลบริเวณที่หัก


การปฐมพยาบาลกระดูกหัก
(1) ซักประวัติ
(2) ตรวจร่างกาย
(3) เข้าเฝือกชั่วคราว
(4) เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณอันตรายและนาส่ง รพ.
การปฐมพยาบาลข้อเคลื่อน ข้อหลุด
(1) ประเมินอาการและอาการแสดง
(2) ห้ามดึงให้เข้าที่
(3) ประคบด้วยด้วยความเย็น
เพื่อลดอาการปวด
(4) ให้ส่วนนั้นอยู่นิ่งที่สุด
(5) นาส่ง รพ.
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น จมน้า
 1. ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ทาการเป่าปาก ช่วยหายใจทันที
 2. ถ้าคลาชีพจรไม่ได้ หรือหัวใจหยุดเต้น ให้ทาการนวดหัวใจ
ทันที
 3. ถ้าผู้ป่วยยังหายใจได้เอง หรือช่วยเหลือจนหายใจได้แล้ว
จับผู้ป่วยนอนตะแคงข้าง และศีรษะ หงายไปข้างหลัง เพื่อให้
น้าไหลออกทางปาก
 4.ใช้ผ้าห่มคลุมผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความอบอุ่น
 5.นาส่ง รพ.
อุบัติเหตุการจราจร
จักรยานต์
จักรยานยนต์
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR)
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

จมน้า เป็นอัมพาต สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ


สูดดมควันเข้าไปมาก รับยาเกินขนาด
ไฟฟ้าดูด บาดเจ็บ อุบัติเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ฟ้าผ่า
สมองเสียการทางานจนโคม่าจากสาเหตุต่างๆจาก
CPR มีประโยชน์อย่างไร
เมื่อผู้ป่วยหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้นควรรีบทา
CPR ทันทีภายใน 4 นาทีหลังผู้ป่วยหยุดหายใจ
โดยการเป่าปากและกดหน้าอก นวดหัวใจ
(1) ตรวจดูว่าผู้ป่วยรู้สึกตัวหรือไม่ (2) ขอความช่วยเหลือ

(3) จัดให้ผู้ป่วยนอนหงาย (4) เปิดทางเดินหายใจและ


ราบกับพืน้ ตรวจการหายใจ
(5) ถ้าไม่หายใจ ช่วยหายใจ ด้วยการ (6) ตรวจชีพจร
เป่าปาก 2 ครั้ง

(7) ถ้าไม่มีชีพจร หาตาแหน่ง


กดหน้าอก (8) กดหน้าอกในรายที่
หัวใจหยุดเต้น
(9) เป่าปาก 2 ครั้ง (10) กดหน้าอก 30 ครั้ง (กดหน้าอก
ยุบลงไป 2 นิ้ว)
สลับกับเป่าปาก 2 ครั้ง
ครบ 5 รอบ

(11) ตรวจชีพจร
และการหายใจซ้า
สวัสดีค่ะ

You might also like