You are on page 1of 36

(Basic life support :

BLS)
ห่วงโซ่การรอดชีวิต ( Chain of survival )
วัตถุประสงค์การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

 การปฏิบัติการเพื่อช่วยฟื้ นการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด และ


ระบบหายใจที่หยุดทำงานอย่างกะทันหัน ให้กลับมาทำงานอีกครั้ง
เพื่อให้เกิดการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญต่างๆในร่างกาย
โดยเฉพาะสมองและหัวใจ
หลักการพื้นฐานของการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

 Check response การปลุกเรียก


 Call for help การขอความช่วยเหลือ

OHCA โทร 1669 + นำเครื่อง AED มาด้วย


IHCA ประกาศ CODE team + นำเครื่อง Defibrillator มาด้วย

 Check pulse การประเมินสัญญาณชีพ **


if no pulse in 5-10 minute >>> Start CPR !!!
ไม่หายใจ / ไอ /ดิ้น >>> Start CPR !!!

 Defibrillator การช็อกไฟฟ้ าหัวใจ


ขั้นตอนการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

1.ตรวจสอบสถานการณ์ความปลอดภัย
 ประเมินสถานการณ์ความปลอดภัยของที่เกิดเหตุ
 สวมอุปกรณ์ป้ องกัน
2.ประเมินความรู้สึกตัวและการขอความช่วยเหลือ
คุณๆ เป็ น
อะไร ตื่นๆ

OHCA โทร 1669 + นำเครื่อง AED มาด้วย


IHCA ประกาศ CODE team + นำเครื่อง
Defibrillator มาด้วย
3.การประเมินการหายใจ & การคลำชีพจร (สำหรับบุคลากรทางการแพทย์)
การหายใจ : ดูการขยับของทรวง ภายใน 10 วินาที

Head tilt – Chin lift Jaw thrust

ดู หายใจ / ไอ /
การคลำชีพจร : ภายใน 10 วินาที **

if no pulse in 5-10 minute >>> Start CPR !!!


ไม่หายใจ / ไอ /ดิ้น >>> Start CPR !!!

ผู้ใหญ่ / Carotid ทารก / Brachial


4.การกดหน้าอก ( Cardio pulmonary resuscitation : CPR )

Lower half of
การกดหน้าอกที่มีประสิทธิภาพ
 กดด้วยอัตราเร็ว 100 – 120 ครั้ง/นาที
 กดด้วยความลึก อย่างน้อย 2 นิ้ว หรือ 5 เซนติเมตร
 การปล่อยหน้าอกให้คืนตัวกลับอย่างเต็มที่หลังจากการกดหน้าอกแต่ละครั้ง (Fully chest recoil)
 ขัดจังหวะการกดหน้าอกให้น้อยที่สุด ไม่เกิน 10 วินาที
 อัตราการกดหน้าอก : การช่วยหายใจ 30 : 2
5.การช่วยหายใจ
1)การช่วยหายใจโดยไม่ใช้อุปกรณ์
Mouth to Mouth breathing

1.เปิ ดทางเดินหายใจ Head tilt – Chin lift


2.บีบจมูกด้วยนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้
3.ประกบปากของผู้ช่วยเหลือให้ครอบปากผู้ป่ วยให้แน่น
ไม่ให้มีลมรั่วออก
4.เป่ าลมหายใจออก 1 ครั้ง โดยใช้เวลา 1 วินาที
พร้อมมองดูว่าหน้าอกผู้ป่ วยมีการขยับตามแรงเป่ าหรือไม่
5.เป่ าลมหายใจออกครั้งที่ 2 (เป่ านาน 1 วินาที)
พร้อมมองดูว่าหน้าอกผู้ป่ วยมีการขยับตามแรงเป่ าหรือไม่
6.หากเป่ าปากครบ 2 ครั้งแล้ว หน้าอกไม่มีการขยับ
ให้กลับไปกดหน้าอกต่อไปตามวงรอบ
2) การช่วยหายใจโดยผ่านอุปกรณ์
Pocket mask Ambu bag

E-C clamp
6.การใช้เครื่อง AED (Automated External Defibillator)
ขั้นตอนการใช้เครื่อง AED
1.เปิ ดเครื่อง
2.แปะแผ่น Paddle ตามตำแหน่งที่เครื่องแนะนำ
3.รอเครื่องวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้ าหัวใจ ไม่สัมผัสผู้ป่ วยขณะเครื่องกำลังอ่านคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ !!
4.กด Shock เมื่อเครื่องแนะนำให้ Shock คลื่นไฟฟ้ า ตรวจสอบไม่ให้มีการสัมผัสผู้ป่ วยก่อน Shock ทุกครั้ง
5.CPR ต่อทันทีตามวงรอบ หลังจาก Shock แต่ละครั้ง “ ฉันถอย คุณถอย ทุกคนถอย !!! ”
6.ปฎิบัติตามคำแนะนำของเครื่อง AED ต่อ จนกว่าเครื่องจะแจ้งว่าผู้ป่ วยมีชีพจร และเมื่อรถพยาบาลมาถึง
ตำแหน่งการติดแผ่นช็อกไฟฟ้ า

ติด Paddle บริเวณ


ต่ำกว่ากระดูกไหปลาร้าด้านขวา

ติด Paddle บริเวณ


ด้านข้างหน้าอกซ้าย ให้ขอบบน
ต่ำกว่ารักแร้ 2 – 3 นิ้ว เปิ ดเครื่อง
ข้อควรระวังในการใช้เครื่อง AED

 ควรโกนขนหน้าอกบริเวณที่จะติดPaddle
 ห้ามใช้ AED ในบริเวณที่เปี ยกน้ำ / เปี ยกชื้น
 หลีกเลี่ยงไม่ติดแผ่น Paddle ทับบริเวณที่มีเครื่องกระตุ้นหัวใจแบบฝัง ควรติดต่ำกว่าบริเวณดังกล่าวเล็กน้อย
 หลีกเลี่ยงไม่ติดแผ่น Paddle ทับบริเวณผิวหนังที่มีการติดแผ่นยาแก้ปวด , ฮอร์โมน

ควรดึงแผ่นยาออกและเช็ดทำความสะอาดก่อนติด Paddle
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในทารกและเด็ก
 ทารก ( Infant ) หมายถึง เด็กอายุตั้งแต่ 1 เดือน – 1 ปี
 เด็ก ( Children ) หมายถึง เด็กอายุตั้งแต่ 1 ปี – วัยแรกรุ่น ( ผู้ชาย : เริ่มมีขนหน้าอก , ผู้หญิง : เริ่มมีหน้าอก)

กรณีผู้ป่ วยเด็กไม่หายใจ / หายใจเฮือก การดูแลขึ้นกับว่า มีผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือไม่


-หากมีผู้พบเห็นเหตุการณ์ : โทรแจ้ง 1669 และจัดหา AED : Defibrillator
-หากไม่มีผู้พบเห็นเหตุการณ์ : Start CPR
การตรวจสอบชีพจรในผู้ป่ วยทารก&เด็ก
ทารก เด็ก

Brachial Carotid Femoral


pulse pulse
เทคนิคการกดหน้าอกในผู้ป่ วยทารก&เด็ก
2 – Finger Technique
-ใช้สำหรับทารก อายุ 1 เดือน – 1 ปี
-ใช้นิ้ว 2 นิ้ววางบนกึ่งกลางหน้าอกต่ำกว่าแนวระหว่างหัวนมเล็กน้อย
2 Thumb – Encircling Hands Technique
--ใช้สำหรับทารก อายุ 1 เดือน – 1 ปี
-ใช้นิ้วหัวแม่มือทั้ง 2 ข้างวางลงบนกึ่งกลางหน้าอก ต่ำกว่าแนวระดับหัวนมเล็กน้อย
-นิ้วมือที่เหลือทั้งสองข้าง โอบรอบอก
Heel of one hand / 1 – hand technique
-ใช้สำหรับเด็กอายุ 1 ปี – วัยแรกรุ่น
-ใช้ส้นมือ 1 ข้าง กดบริเวณกึ่งกลางหน้าอกส่วนล่าง ( Lower half of sternum )
-กรณีผู้ป่ วยเด็กตัวโต สามารถใช้ 2 – hand technique เหมือนผู้ใหญ่ได้
ขึ้นอยู่กับขนาดตัวและความเหมาะสมของผู้ป่ วย
การกดหน้าอกในเด็ก & ทารก
 กดด้วยอัตราเร็ว 100 – 120 ครั้ง/นาที
 การปล่อยหน้าอกให้คืนตัวกลับอย่างเต็มที่หลังจากการกดหน้าอกแต่ละครั้ง (Fully chest recoil)
 ขัดจังหวะการกดหน้าอกให้น้อยที่สุด ไม่เกิน 10 วินาที
กรณีผู้ช่วยเหลือ 1 คน
ทารก : กดด้วยความลึก อย่างน้อย 1.5 นิ้ว หรือ 4 เซนติเมตร อัตราการกดหน้าอก : การช่วยหายใจ
เด็ก : กดด้วยความลึก อย่างน้อย 2 นิ้ว หรือ 5 เซนติเมตร 30 : 2
กรณีผู้ช่วยเหลือ 2 คน
อัตราการกดหน้าอก : การช่วยหายใจ
15 : 2
การช่วยหายใจในผู้ป่ วยทารก&เด็ก
 เทคนิคการช่วยหายใจโดยไม่ใช้อุปกรณ์

1.Mouths to mouth and nose


-นิยมทำในทารก
-ผู้ช่วยเหลือประกบปากให้ครอบปากและจมูกของทารกให้แน่น เพื่อป้ องกันลมรั่วออก
-ผู้ช่วยเหลือเป่ าลมผ่านจมูกและปากผู้ป่ วย แค่เพียงพอที่จะทำให้หน้าอกขยับขึ้น Mouths to mouth and nose

2.Mouth to mouth

เปิ ดทางเดินหายใจ Head tilt – chin lift ทุกครั้ง !!!


2) การช่วยหายใจโดยผ่านอุปกรณ์
Pocket mask Ambu bag

E-C clamp
การใช้เครื่อง AED ในทารก และเด็ก
 ทารก

-นิยมใช้เครื่องช็อกไฟฟ้ าชนิดปรับค่าพลังงานได้ ( Mannual defibrillation )


-ถ้าไม่มี Mannual defibrillation สามารถใช้ AED สำหรับเด็กได้

 เด็ก อายุ < 8 ปี


-.ใช้แผ่นช็อกไฟฟ้ าสำหรับเด็ก
-ถ้าไม่มีแผ่นช็อกไฟฟ้ าสำหรับเด็ก สามารถใช้แผ่นช็อกไฟฟ้ าผู้ใหญ่แทนได้
โดยห้ามวางแผ่นช็อกไฟฟ้ า 2 แผ่นให้สัมผัสกัน

Paddle for
 เด็ก อายุ > 8 ปี children
Paddle for
ตำแหน่งการติดแผ่นช็อกไฟฟ้ า
เด็ก อายุ > 8 ปี เด็ก อายุ < 8 ปี
หรือเด็กที่ตัวเล็กมากๆ เมื่อติดแผ่นช็อกไฟฟ้ า 2 แผ่นแล้วมีโอกาสติดทับกัน

ติด Paddle บริเวณ


ต่ำกว่ากระดูก
ไหปลาร้าด้านขวา

ติด Paddle บริเวณ


ด้านข้างหน้าอกซ้าย
ติด Paddle บริเวณ ติด Paddle บริเวณ
ให้ขอบบนต่ำกว่า
ด้านซ้ายของหน้าอก ระหว่างกระดูกอก ด้านซ้ายของแผ่นหลัง
รักแร้ 2 – 3 นิ้ว
กับหัวนมข้างซ้าย ถัดจากกระดูกสันหลัง
การใช้เครื่อง AED (Automated External Defibillator)
 ขั้นตอนการใช้เครื่อง AED
1.เปิ ดเครื่อง
2.แปะแผ่น Paddle ตามตำแหน่งที่เครื่องแนะนำ
3.รอเครื่องวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้ าหัวใจ ไม่สัมผัสผู้ป่ วยขณะเครื่องกำลังอ่านคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ !!
4.กด Shock เมื่อเครื่องแนะนำให้ Shock คลื่นไฟฟ้ า ตรวจสอบไม่ให้มีการสัมผัสผู้ป่ วยก่อน Shock ทุกครั้ง
5.CPR ต่อทันทีตามวงรอบ หลังจาก Shock แต่ละครั้ง “ ฉันถอย คุณถอย ทุกคนถอย !!! ”
6.ปฎิบัติตามคำแนะนำของเครื่อง AED ต่อ จนกว่าเครื่องจะแจ้งว่าผู้ป่ วยมีชีพจร และเมื่อรถพยาบาลมาถึง
การช่วยเหลือผู้ที่มีการอุดกลั้นทางเดินหายใจในผู้ใหญ่ เด็ก และทารก
การอุดกั้นทางเดินหายใจโดยสิ่งแปลกปลอม (Foreign body airway obstruction)

 การอุดกลั้นทางเดินหายใจแบบไม่รุนแรง

อาการ การให้การช่วยเหลือ

หายใจได้ดี กระตุ้นให้ผู้ป่ วยไออกมา

ไอแรงดี หากผู้ป่ วยไม่สามารถไอเอาสิ่งแปลกปลอมออก


มาได้เอง หรือ มีอาการทรุดลง ให้โทร 1669

อาจหายใจได้ยินเสียง Wheez ระหว่างการหายใจ


แต่ละครั้ง
 การอุดกลั้นทางเดินหายใจแบบรุนแรง

อาการ : พูดหรือไอไม่มีเสียง หายลำบาก ไม่มีแรงในการไอ เริ่มมีอาการเขียว

universal hand sign of choking


การช่วยเหลือผู้ที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจแบบรุนแรงในผู้ใหญ่และเด็ก

Abdominal thrust / Heimlich maneuver


กระทุ้งบริเวณใต้ลิ้นปี่ อย่างรวดเร็ว ในทิศทางเข้าหาตัวผู้ช่วยเหลือ
จนกระทั่งสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมา
กรณีผู้สำลักตั้งครรภ์ / มีน้ำหนักตัวมาก
ผู้ช่วยเหลือไม่สามารถโอบรอบเอวผู้สำลักได้

Chest thrusts
เลื่อนตำแหน่งมือจากใต้ลิ้นปี่ มาไว้ที่กระดูกหน้าอกแทน
การช่วยเหลือผู้ที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจแบบรุนแรงในทารก

Back slaps x 5

- ประคองทารกให้หน้าคว่ำลง ศีรษะต่ำกว่าหน้าอก
ลำตัวพาดบนแขนของผู้ช่วยเหลือ
-ใช้ส้นมือกระแทกบริเวณสะบัก อย่างรวดเร็ว 5 ครั้ง
เพื่อให้สิ่งแปลกปลอมหลุดออกมา
การช่วยเหลือผู้ที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจแบบรุนแรงในทารก

Chest thrusts x 5
-ประคองทารกให้นอนหงาย หลังทารกพาดบนแขนผู้ช่วยเหลือ
-วางแขนผู้ช่วยเหลือลงบนหน้าขาของผู้ช่วยเหลือ
ให้ศีรษะทารกอยู่ต่ำกว่าลำตัว
-ใช้ 2 นิ้ว ของผู้ช่วยเหลือกดบริเวณกึ่งกลางหน้าอก / ส่วนล่างของ
กระดูกหน้าอก อย่างรวดเร็ว 5 ครั้ง

ทำ Back slap 5 ครั้ง สลับกับ Chest thrusts 5 ครั้ง


จนกระทั่งสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมา
หากผู้ป่ วยมีอาการแย่ลง / หมดสติ ขณะทำการช่วยเหลือ >>> Start CPR !!!
 เริ่ม CPR ทันที ไม่ต้องคลำชีพจร
 เมื่อ CPR ครบ 30 ครั้ง ในช่วงเปิ ดทางเดินหายใจ ให้สังเกตดูสิ่งแปลกปลอมในช่องปากผู้ป่ วย

-ถ้าเห็นสิ่งแปลกปลอม สามารถหยิบออกได้ง่าย >>> ใช้นิ้วหยิบออก


-ถ้าไม่เห็นสิ่งแปลกปลอม ห้าม !! ใช้นิ้วควานหา >>> CPR ตามวงรอบต่อไป
จนกว่าทีมแพทย์ฉุกเฉินจะมา

You might also like