You are on page 1of 32

Case

Conference

หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด
(Sick Newborn)
รายวิชา 2012303
ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 2

นักศึกษคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 13 กลุ่ม B1

B1 มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ
สมาชิกในกลุ่ม

อาจารย์นิเทศ
อาจารย์ลนาไพร ขวาไทย

นางสาวภััทรดา ประทุมทอง นางสาวเมฑาวดี อาจปา นางสาวรุ่งนภา สืบชมภู

นางสาววรินทร บัวเผื่อน นางสาววาสนา เสวิคาร นายอภิสรา ทวงลี นางสาวอรัญญา ทวีชาติ


Assessment
ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ชื่อ-สกุลทารก ด.ช ปัญญาวรรธน์ กันงาม เพศ ชาย
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
ชื่อ-สกุลมารดา นางสมปอง จิตรา วันที่คลอด 31 ตุลาคม 2565 เวลา 11.10
วันที่รวบรวมข้อมูล 7 พฤศจิกายน 2565
ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพทารก
การวินิจฉัยโรคแรกรับ Meconium aspiration syndrome (MAS)
ความหมาย ภาวะสูดสำลักขี้เทาในเด็กทารก
การวินิจฉัยโรคปัจจุบัน Meconium aspiration syndrome (MAS)
ความหมาย ภาวะสูดสำลักขี้เทาในเด็กทารก
Assessment
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพทารก
APGAR score นาทีที่1 8 นาทีที่5 9 นาทีที่10 9 คลอดเมื่ออายุครรภ์ 38 สัปดาห์ น้ำหนักแรกเกิด 3,400 กรัม
เส้นรอบศีรษะ 35 ซม. เส้นรอบอก 33 ซม.

ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพมารดา
ประวัติสุขภาพมารดา อายุ 44 ปี เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
Gravida 2 Para 2 Abortion 0 L 2 Last 5 yrs หมู่เลือด B Rh +
ชนิดของการคลอด CESAREAN SECTION
การประเมินสุขภาพทารกตาม 11 แบบแผน
แบบแผนในการดำเนินชีวิต 11 แบบแผนที่เป็นปัญหา พบว่ามีดังนี้

แบบแผนในการดำเนินชีวิต 11 แบบแผน ข้อมูลที่เป็นปัญหา

แบบแผนที่2 แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญสาร เสี่ยงต่อการได้รับสารน้ำ และสารอาหารไม่เพียงพอ เนื่องจากทารกแรก


อาหาร (Nutritional-metabolic pattern) เกิดระบบย่อยอาหาร และระบบดูดซึมอาหารยังทำงานไม่สมบูรณ์

-ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอดลดลงเนื่องจากมีภาวะ
Meconium Aspiration Syndrome
แบบแผนที่ 4 แบบแผนกิจวัตรประจำวันและการออกกำลัง
-มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจเนื่องจากทารกสูดสำลักขี้เทา
กาย (Activity-exercisepattern) -มี Retraction ตำแหน่ง Subcostal Retraction

แบบแผนที่ 10 แบบแผนการเผชิญและความทนต่อ
บิดามารดามีความวิตกกังวลอยากให้ทารกกลับบ้าน
ความเครียด (Coping – stress tolerance pattern)
การตรวจร่างกาย
ประเมินวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565
Vital signs: BT = 37.5 C PR = 160 / min RR = 68 /min BP = 72/48 mmHg.
น้ำหนัก 3380 กิโลกรัม ส่วนสูง 47 เซนติเมตร เส้นรอบศีรษะ 35 เซนติเมตร. เส้นรอบอก 33 เซนติเมตร.

สภาพทั่วไป (General appearance)


ทารกแรกเกิด เพศชาย อายุ 9 วัน ผ่าตัดคลอด แรกคลอดน้ำหนัก 3400 กรัม การแต่งกายสะอาดใส่ผ้าอ้อม
สำเร็จรูป อยู่ในตู้อบ (On Incubator) ผิวแดงดี ผิวหนังบริเวณริมฝีปากแห้งเล็กน้อย Active ดี ร้องไห้เสียงดัง
On Oxygen Cannula 3 LPM. มีการหายใจหอบ Subcostal Retraction อัตราการหายใจ 68 ครั้ง/นาที
Oxygen Sat 85-92% มี Secretion เยอะ On OG tube BM/IF 40 ml. X 8 Feed (Drip in 1 hr.)
On Dextrose 10% in1/5 500 ml. v 12 cc/hr.
การประเมินการตรวจร่างกาย

ระบบ ผลการตรวจร่างกาย

ลักษณะหนังศีรษะมีความนุ่มชุ่มชื้นและยืดหยุ่น รูปร่างและขนาดสมมาตรเท่ากันปกติ ไม่บิดเบี้ยว ไม่พบรังแค ไม่พบก้อนนบนศีรษะ


ศีรษะ (Head) กระหม่อมลักษณะรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน คลำพบเป็นแอ่งนุ่มๆที่กระหม่อมหน้า และกระหม่อมหลังมีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม

กรอกตาไปมาได้ ตาไม่แดง ไม่แฉะ ตาไม่เหลืองมีลูกตาเลนส์ตาใส เยื่อตาขาวสะอาด เปลือกตาไม่บวม ไม่มีเลือดออกที่บริเวณ


ตา (Eye) ตาขาว

จมูกและไซนัส จมูก แคบ เล็ก ลักษณะสมมาตรอยู่กึ่งกลาง มีปีกจมูกบานทั้งสองข้างเวลาหายใจ


(Nose & Sinuses)
การประเมินการตรวจร่างกาย

ระบบ ผลการตรวจร่างกาย

หูและใบหู
รูปทรงปกติ ตำแหน่งไม่ต่ำกว่าตา ไม่มีกลิ่นเหม็นหรือน้ำหนองไหล
(Ears)

ริมฝีปากสีชมพูลักษณะเรียบ มุมปากอยูในระดับเดียวกันรูปร่างปกติ ไม่มีปากแหว่งเพดานโหว่


ช่องปาก ฟัน และคอ
ไม่มีปากเบี้ยว ไม่พบการงอกของฟัน เหงือกปกติมีลักษณะสีชมพู ไม่พบการอักเสบ คอตั้งตรง
(Mouth &throat)
บริเวณคอไม่มีพังผืดกางเป็นปีก (Web Neck) ต่อมไทรอยด์ไม่โต

ต่อมน้ำเหลือง คลำต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้และขาหนีบไม่โต
(Lymph node) รักแร้และขาหนีบไม่โต
การประเมินการตรวจร่างกาย
ระบบ ผลการตรวจร่างกาย

ทรวงอกและปอด รูปร่างการขยายเท่ากัน 2 ข้าง ชายโครงและหน้าอกบุ๋มเวลาหายใจ (subcostal retraction)


(Chest &Lung) ขนาดของหน้าอกทารก 35 ซม. อยู่ในเกณฑ์ปกติ

จังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอ 160 ครั้ง/นาที


หัวใจ (Heart)
ฟังเสียงหัวใจไม่พบความปกติ ความดันโลหิต 72/48 มิลลิเมตรปรอท

ช่องท้อง ท้องไม่แข็งตึง กดนิ่ม คลำไม่พบตับ ม้ามโต แรงขยับเวลาหายใจขึ้นลงค่อนข้างแรงและเร็ว


(Abdomen) ได้ยินเสียงของลำไส้เคลื่อนไหว สะดือไม่มี bleeding ซึม

อวัยวะเพศ:รูเปิดท่อปัสสาวะปกติ ไม่มีรูเปิดอยู่ด้านบนองคชาติ (Epispadis) หรือ


อวัยวะเพศและทวารหนัก อยู่ด้านล่างขององคชาติ(Hypospadia) ไม่มีถุงอัณฑะบวม
(Genitalia & Anus) ทวารหนัก: ไม่มีรอยแผล รูปิด -เปิดปกติ
ความรู้เกี่ยวกับยาและสารน้ำที่ผู้ป่วยได้รับ

ชื่อยา เหตุผลการใช้ยา

Ampicillin ป้องกันการติดเชื้อในทารกเเรกเกิด

Gentamicin ป้องกันการติดเชื้อในทารกเเรกเกิด

Omeprazole ลดกรดในกระเพาะอาหาร และรักษาแผลในกระเพาะอาหาร

Albuterol ใช้ในการดูแลภาวะหายใจเร็วชั่วคราวของทารกแรกเกิด
พยาธิสภาพของโรคตามทฤษฎีเปรียบเทียบกับกรณีศึกษา
สรุปปัญหา เกี่ยวกับอาการการรักษา และการดูแล
ตั้งแต่แรกรับถึงปัจจุบัน

ปัญหาที่1 ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอดลดลง

ทารก Term 38 สัปดาห์ มีภาวะ Meconium Aspiration Syndrome: MAS คลอด Cesarean section
น้ำหนักแรกคลอด 3,400 กรัม สัญญาณชีพแรกเกิดอุณหภูมิกาย 36.5 องศาเซลเซียส อัตราการเต้นของ
หัวใจ 162 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 68 ครั้ง/นาที Oxygen Saturation 85-92 % ทารกมีอาการหายใจ
ลำบาก มี Secretion เยอะ ทารกมีหายใจอกบุ๋ม Subcostal Retraction จึงดูแล suction clear air way
ต่อมาย้ายไป NICU ยังหายใจหอบเหนื่อย RR= 68-74 ครั้ง/นาที spaO2 88-94% แพทย์เวรพิจารณาให้
on ETT with ventilator No. 3.5 ขีด 8.5 cm. ทารกเริ่มมีอาการหายใจลำบากลดลง จึงเปลี่ยนให้ On O2
cannula 3 LPM รับย้ายมาที่หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด วัดสัญญาณชีพได้ T= 37.2 Co HR = 160 ครั้ง/
นาที RR = 60 ครั้ง/นาที O2 sat 96-97% ทารกมีอาการหายใจลำบากลดลงจึงปรับ O2 cannula ลงเป็น
1 LPM.
สรุปปัญหา เกี่ยวกับอาการการรักษา และการดูแล
ตั้งแต่แรกรับถึงปัจจุบัน

ปัญหาที่2 มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ

ทารก Term 38 สัปดาห์ ติดเชื้อจากภาวะ Meconium Aspiration Syndrome: MAS


ทารกสูดสำลักขี้เทา ทารกมีไข้ สัญญาณชีพ T = 37.5 c RR = 68 bpm. O2 Sat = 85-92 %
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ WBC = 19,900 cell / mm3 (สูงกว่าปกติ) จึงได้รับยาปฏิชีวนะ
Ampicillin 340 mg v q 12 hr. และ Gentamicin 13 mg v q 24 hr. ตั้งแต่วันที่ 01/11/65-
10/11/65 ทารกได้รับการปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลัก Aseptic technique เพื่อลดการ
แพร่กระจายเชื้อ
สรุปปัญหา เกี่ยวกับอาการการรักษา และการดูแล
ตั้งแต่แรกรับถึงปัจจุบัน

ปัญหาที่3 เสี่ยงต่อการได้รับสารน้ำและสารอาหารไม่เพียงพอ

ทารก Term 38 สัปดาห์ มีภาวะ Meconium Aspiration Syndrome: MAS แรกเกิดวันที่


31/10/65 และได้รับ 10% D/N/5 250 ml. Rate 15 ml/hr. และได้รับนม BM/IF 6ml x8 feeds
by sypringe Pump ทารกรับนมได้จึงเพิ่มปริมาณขึ้นเรื่อยๆ และลดปริมาณ IV ลง วันที่
07/11/65 ทารกมีน้ำหนักลดลงจากแรกคลอด ริมฝีปากแห้งเล็กน้อย วันที่ 08/11/65 ทารก On
incubator ทารกได้รับ 10% D/N/5 250 ml. Rate 6.9 ml/hr. และได้รับนม BM/IF 45ml x8
feeds by springe Pump
สรุปปัญหาทางการพยาบาลตั้งแต่เริ่มศึกษาจนถึงปัจจุบัน

วัน/เดือน/ปี ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ลำดับที่ของปัญหา วันที่สิ้นสุดปัญหา

-ประสิทธิภาพการเเลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอดลดลง
07/11/2565 1 ยังไม่สิ้นสุดปัญหา
เนื่องจากมีภาวะMeconium Aspiration Syndrome

-มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เนื่องจากทารก
07/11/2565 2 ยังไม่สิ้นสุดปัญหา
สูดสำลักขี้เทา

-เสี่ยงต่อภาวะ Hypothermia / Hyperthermia


08/11/2565 3 ยังไม่สิ้นสุดปัญหา
เนื่องจากศูนย์ควบคุมอุณหภูมิยังไม่สมบูรณ์

-เสี่ยงต่อการได้รับสารน้ำและสารอาหารไม่เพียงพอ
09/11/2565 เนื่องจากทารกแรกเกิดระบบย่อยอาหารและระบบ 4 ยังไม่สิ้นสุดปัญหา
ดูดซึมอาหารยังทำงานไม่สมบูรณ์

-บิดามารดามีความวิตกกังวลเนื่องจากการเจ็บป่วย
10/11/2565 5 10/11/2565
ของทารก
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 1 ประสิทธิภาพการเเลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอดลดลง
เนื่องจากมีภาวะ Meconium Aspiration Syndrome

ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล
O: ทารกมีการหายใจหอบอัตราการเต้นของหัวใจ 68 ครั้ง/นาที 1. ไม่พบภาวะพร่องออกซิเจน เช่น หายใจเร็ว อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน ใช้กล้าม
O: มี Secretion เยอะ เนื้อในการหายใจมากขึ้นหรือหายใจออกมีเสียงคราง ชีพจรเต้นเร็ว เป็นต้น
O: Subcostal Retraction 2. สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
O : Oxygen Sat 85-92 % (แรกเกิด) T= 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
O : ทารกมีภาวะ MAS จากทารกสูดสำลักขี้เทา HR= 120-160 bpm
O: ผล Chest X-Ray พบ bilat infiltration RR= 40-60 bpm
BP= 60/40 - 80/50 mmHg
วัตถุประสงค์ 3.ไม่พบอาการหายใจหอบ Retraction
เพื่อให้ร่างกายแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้ปกติ 4.O2 Sat อยู่ในเกณฑ์ที่ปกติ คือ 95 - 100 %
5.ผล Chest X-Ray ไม่พบความผิดปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1. สังเกตอาการและอาการแสดงของการแลกเปลี่ยนออกซิเจนไม่ดี ได้แก่ หายใจเร็ว อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน ใช้กล้ามเนื้อในการหายใจมากขึ้นหรือหายใจออกมีเสียงคราง
ชีพจรเต้นเร็ว เป็นต้น เพื่อติดตามและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นจากการสำลักขี้เทา
2. จัดท่านอนศีรษะสูง 15 - 30 องศา ใช้ม้วนผ้าเล็กหนุนใต้ไหล่ให้คอไม่งอหรือแหงนมากเกินไป เพื่อให้ปอดขยายได้มากที่สุดและให้ทารกหายใจได้อย่างสะดวก
3. ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมงหรือตามสภาพทารก เพื่อเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงในร่างกายของทารก
4. ดูแลให้ได้รับ Oxygen Cannular 3 LPM. ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อให้ทารกหายใจได้สะดวกและได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
5. ดูแลให้ทางเดินหายใจโล่งโดยการดูดเสมหะด้วยเทคนิคปราศจากเชื้อ เพื่อให้ทางเดินหายใจโล่งทารกหายใจได้สะดวก
6. ประเมินค่าออกซิเจนในเลือดอย่างต่อเนื่องโดยใช้ Pulse Oximeter ตามแผนการรักษา และรายงานเมื่อค่าผิดปกติ
7. ประเมินติดตามและบันทึกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจ ฟังเสียงลมที่เข้าปอดทั้งสองข้าง ทุก 2 ชั่วโมง เพราะการมีลมเข้าปอดลดลงอาจเกิดจากทางเดินหายใจ
อุดกลั้นจากเสมหะ
การประเมินผล
- มีภาวะพร่องออกซิเจนเช่น หายใจเร็ว อกบุ๋ม เป็นต้น
- สัญญาณชีพ T = 37.4 องศาเซลเซียส HR = 160 bpm RR = 64 bpm BP = 72/45 mmHg ( วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 )
- มีภาวะหายใจหอบ Subcostal Retraction
- O2 Sat อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้น 96-97 %
- ผล Chest X-Ray ไม่พบความผิดปกติ
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2 มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เนื่องจากทารกสูดสำลักขี้เทา

ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล
O: ทารกมีไข้สัญญาณชีพ 1.ไม่พบอาการติดเชื้อทางเดินหายใจ เช่น มีไข้ หายใจหอบ เจ็บคอ มีน้ำมูก
T = 37.5 c เขียว เป็นต้น
RR = 68 bpm 2. สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ
O2 Sat = 85-92 % T= 36.7-37.2 องศาเซลเซียส
(วันที่ 7 พฤศจิกายน 2565) HR = 120-160 bpm
O: ทารกมีภาวะ Meconium aspiration syndrome RR = 40-60 bpm
O: ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ BP = 60/40 – 80/50 mmHg
WBC = 19,900 cell / mm (สูงกว่าปกติ) 3. O2 Sat อยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ 95-100 %
วัตถุประสงค์ 4. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ
ไม่เกิดภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ค่า WBC = 4,000-10,000 cell / m
กิจกรรมการพยาบาล
1. สังเกตอาการและอาการแสดงที่อาจจะส่งผลต่อการติดเชื้อ เช่น ไข้ หายใจหอบ เจ็บคอ มีน้ำมูกเขียว เป็นต้น เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นกับทารก
2. ล้างมือทุกครั้งก่อนทำการพยาบาลเพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อ
3. ประเมินการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ การฟังเสียงปอด เป็นต้น เพื่อเฝ้าระวังอาการและอาการแสดงที่จะเกิดขึ้น
4. ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อทุก 1 ชั่วโมง
5. ดูแลได้รับยาปฏิชีวนะ
- Ampicillin 340 mg v q 12 hr.
- Gentamicin 13 mg v q 24 hr. เพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่จะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนแก่ทารกได้
6. ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลัก Aseptic technique เพื่อลดและป้องกันการติดเชื้อจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
7. ติดตามและบันทึกผลตรวจทางห้องห้องปฏิบัติการ เช่น WBC , H/C เมื่อพบความผิดปกติรายงานแพทย์ทันที

การประเมินผล
- ยังพบอาการของการติดเชื้อทางเดินหายใจ เช่น มีไข้ หายใจหอบ เป็นต้น
- สัญญาณชีพ T = 37.4 องศาเซลเซียส HR = 160 bpm RR = 64 bpm BP = 72/45 mmHg (วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565)
- ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ WBC = 19,900 cell/ml (สูงกว่าปกติ)
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 3 เสี่ยงต่อภาวะ Hypothermia / Hyperthermia
เนื่องจากศูนย์ควบคุมอุณหภูมิยังไม่สมบูรณ์

ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล
O: ทารกแรกเกิดสูญเสียความร้อนได้ง่าย 1.ไม่พบอาการของภาวะ Hypothermia เช่น ผิวหนังซีดและเย็น หายใจเร็ว
O: ทารกแรกเกิดมีผิวหนังบอบบาง เขียวตามปลายมือปลายเท้า เป็นต้น
2.ไม่พบอาการของภาวะ Hyperthermia เช่น มีไข้ ซึมลง ริมฝีปากแห้ง
ผิวหนังแห้ง กระสับกระส่ายร้องไห้กวน เป็นต้น
3.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ
T=36.8-37.2 องศาเซลเซียส
วัตถุประสงค์ HR=140-160 bpm.
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะ Hypothermia /Hyperthermia RR=40-60 bpm.
BP=60/40 -80/50 mmHg.
กิจกรรมการพยาบาล
1. สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะ Hypothermia เช่น ผิวหนังซีดและเย็น หายใจเร็ว เขียวตามปลายมือปลายเท้า เป็นต้น
เพื่อสังเกตอาการแสดงที่จะส่งผลทำให้เกิดความเสี่ยงของภาวะ Hypothermia
2. สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะHyperthermia เช่น มีไข้ ซึมลง ริมฝีปากแห้ง ผิวหนังแห้ง กระสับกระส่ายร้องไห้กวน เป็นต้น
เพื่อสังเกตอาการแสดงที่จะส่งผลทำให้เกิดความเสี่ยงของภาวะ Hyperthermia
3. ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพโดยเฉพาะ อุณหภูมิให้อยู่ในช่วงระหว่าง 36.8 – 37.2 C ประเมินทุก 1 ชั่วโมง เพื่อเฝ้าระวังภาวะ Hypothermia ที่จะเกิดขึ้น
4. ดูแลให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล หลีกเลี่ยงการเปิดตู้ (Incubator) โดยไม่จำเป็น เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อนและรักษาอุณหภูมิร่างกายของทารกให้คงที่
5. ดูแลความสะอาดร่างกายทั่วไป Hygiene care โดยเช็ดตัวทุกวันและเปลี่ยนผ้าอ้อมเมื่อปัสสาวะหรืออุจจาระและควรซับให้แห้งทุกครั้ง
เพื่อลดการสูญเสียความร้อนออกจากร่างกายผ่านทางผิวหนัง
6. ดูแลตู้ Incubator ให้ทำงานได้ปกติในโหมด air servo control set temp= 30.5 องศาเซลเซียล air=30.4 องศาเซลเซียลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
7. ดูแลป้องกันไม่ให้ทารกมีสูญเสียความร้อนจากร่างกายทารก มีดังนี้
- การนำความร้อน (Conduction)
คือ การสูญเสียความร้อนให้กับอากาศหรือวัตถุที่เย็นกว่าที่มาสัมผัสกับร่างกายของทารก เช่น ทำมือให้อุ่นเสมอก่อนสัมผัสทารกทุกครั้งหรือผ้าอ้อมต้องไม่เปียก เป็นต้น
กิจกรรมการพยาบาล
- การพาความร้อน (Convection)
คือ การถ่ายเทความร้อนจากผิวกายไปสู่สภาพแวดล้อมโดยมีกระแสลมเย็นพัดผ่านผิวกาย เช่น ดูแลไม่ให้ทารกนอนในที่มีลมพัดผ่าน รักษาอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมให้อบอุ่น เป็นต้น
- การระเหย (Evaporation) คือ ภาวะสูญเสียความร้อนไปกับน้ำ เช่น ดูแลเช็ดตัวร่างกายให้ทารกให้แห้งเสมอหลังจากการอาบน้ำทุกครั้งและดูแลเปลี่ยนผ้าอ้อมเสมอ
หากทารกมีการขับถ่ายปัสสาวะและอุจาจาระ
- การแผ่รังสี (Radiation) คือ การสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าผิวกายโดยไม่มีการสัมผัสผิวกาย เช่น ดูแลระยะห่าง
จากผนังห้องที่เย็นกับทารกประมาณ 1.5 เมตร หรือ การห่อตัวทารกให้มิดชิด เป็นต้น

การประเมินผล
ไม่พบอาการและอาการแสดงของภาวะ Hypothermia / Hyperthermia เช่น ตัวเขียวคล้ำ ตัวและปลายมือปลายเท้าเย็น มีไข้ ซึมลง ริมฝีปาก
แห้ง ผิวหนังแห้ง ผิวซีดกระสับกระส่าย ร้องไห้กวน เป็นต้น
สัญญาณชีพ T = 37.2 องศาเซลเซียส
HR = 160 bpm
RR = 60 bpm
BP = 72/45 mmHg (วันที่ 14 พฤศจิกายน 2565)
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 4 เสี่ยงต่อการได้รับสารน้ำและสารอาหารไม่เพียงพอ เนื่องจากทารกแรกเกิด
ระบบย่อยอาหารและระบบดูดซึมอาหารยังทำงานไม่สมบูรณ์

ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล
O : ทารกมีน้ำหนังลดลงจากแรกคลอด 1. ทารกไม่มีภาวะของการขาดน้ำหรือสารอาหาร เช่น น้ำหนักลด ผิวแห้ง ริม
O : จากการสังเกตพบว่าทารกมีผิวหนังบริเวณริมฝีปากแห้ง ฝีปากแห้ง ปัสสาวะลดลง เป็นต้น
2. ไม่พบอาการหายใจหอบสัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ เช่น
T = 36.8 -37.2 องศาเซลเซียส
HR = 120-100 bpm.
วัตถุประสงค์
RR = 40 - 60 bpm.
เพื่อให้ทารกได้รับสารน้ำและสารอาหารที่เพียงพอต่อ
BP = 60/90 - 80/50 mmHg
ความต้องการของร่างกาย
3. ทารกไม่มีน้ำหนักลดลงจากแรกคลอด และน้ำหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะขาดน้ำและขาดสารอาหาร เช่น เหนื่อย หายใจลำบาก ท้องอืด ริมปากแห้ง ผิวเหี่ยวย่น skin turgor เป็นต้น
เพื่อประเมินภาวะขาดน้ำและสารอาหารของทารก
2.ประเมินการดูดซึมของลำไส้ โดยการดูด content ในสายก่อนให้นมในครั้งต่อไป หากมี content เหลือ > 50 % ของปริมาณอาหารเดิม
อาจเกิดจากลำไส้ดูดซึมอาหารได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ เพื่อประเมินประสิทธิภาพในการดูดซึมและการรับสารอาหาร
3.สังเกตอาการของความสามารถในการรับนมของทารกลดลง (Feeding intolerance) เช่น Bowel sound ลดลง Gastric content มีมาก ท้องอืด สำรอกนมบ่อย
เพื่อรายงานให้แพทย์ทราบ เพื่อประเมินประสิทธิภาพในการได้รับสารอาหาร
4.จัดท่าตะแคงขวาหรือจัดท่ายกศีรษะสูง เพื่อให้หูรูดกระเพาะอาหารอยู่สูง
5.ดูแลให้อาหารทาง OG for feed คือ BM/IF ในปริมาณ 30 ml. x 8 feed by syringe pump เพื่อให้ได้รับสารอาหารที่เพียงพอ
6.ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา
- 10%D/N/5 250 ml. Rate 6.9 ml/hr. เพื่อให้ได้รับสารน้ำเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
กิจกรรมการพยาบาล
7.ชั่งน้ำหนักทุกวัน ในสัปดาห์แรกทารกจะมี Physiological weight loss ประมาณ 10 - 20% ของน้ำหนักแรกเกิด หลังจากนั้นถ้าได้รับสารอาหารเพียงพอหรือไม่มี
ความเจ็บป่วยรุนแรง น้ำหนักของทารกจะเพิ่มขึ้นวันละประมาณ 20 - 30 g. เพื่อประเมินการได้รับสารน้ำและสารอาหารต่อความต้องการของร่างกาย
8.ป้องกันหรือหลีกเลี่ยงภาวะที่จะทำให้ทารกมีการใช้พลังงานในร่างกายมากกว่าปกติ

การประเมินผล
ไม่พบอาการและอาการแสดง ริมฝีปากแห้ง เป็นต้น
ความตึงตัวของผิวหนังยืดหยุ่นดีไม่พบเหี่ยวหนังย่นของทารก ปัจจุบันน้ำหนัก 3,600 kg
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 5 บิดามารดามีความวิตกกังวลเนื่องจากการเจ็บป่วยของทารก

ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล
O: ขณะที่บิดามาสอบถามอาการของบุตร มีสีหน้าท่าทางที่วิตก 1.บิดาและมารดามีสีหน้าสดชื่นขึ้น และคลายความวิตกกังวลลดลง
กังวลและท่าทางกระวนกระวายคอยซักถามอาการของบุตรทุกวัน 2.บิดายอมรับในความเจ็บป่วยของทารก
O: มารดาบอกว่า บิดาต้องการให้ทารกออกจากโรงพยาบาล 3.บิดามารดามีการพูดคุย หัวเราะได้ กับบุตรและคนรอบข้างมากขึ้น
เร็วๆ

วัตถุประสงค์
เพื่อลดความวิตกกังวลของบิดาและมารดาในอาการเจ็บ
ป่วยของทารก
กิจกรรมการพยาบาล
1.อธิบายให้บิดามารดาทราบถึงอาการสุขภาพร่างกายของทารกและความจำเป็นถึงวิธีการรักษาพยาบาล พร้อมเหตุผลของการรักษาและบอกประโยชน์
ของเครื่องมือที่ใช้ในการรักษาทารกด้วยคำพูดที่เข้าใจง่าย
2.เปิดโอกาสให้บิดาและมารดาได้ซักถามปัญหาต่างๆเกี่ยวกับทารกพร้อมตอบคำถามข้อข้องใจ เพื่อให้บิดาและมารดาเข้าใจถึงปัญหาต่างๆที่กังวลใจ
3.อธิบายวิธีการรักษาพยาบาล พร้อมเหตุผลตามความเหมาะสมและความก้าวหน้าหรือความเปลี่ยนแปลงของการรักษาพยาบาลในแต่ละวันให้บิดา
มารดาได้รับรู้เพื่อให้บิดาและมารดามีความรู้ความเข้าใจในการรักษาของทารก
4.ให้กำลังใจและความมั่นใจว่าทารกจะได้รับการรักษาพยาบาลดูแลอย่างเต็มความสามารถ เพื่อให้บิดาและมารดาไว้วางใจและมั่นใจในประสิทธิภาพของ
การรักษา
5.ส่งเสริมให้บิดาและมารดามีความใส่ใจและสนใจดูแลทารก
6.เปิดโอกาสให้บิดาดูแลทารกได้ตามปกติ ถ้าไม่มีข้อห้ามหรือการรักษาที่ซับซ้อน เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดูแลทารกและสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
7.ส่งเสริมให้บิดาและมารดาได้ระบายความรู้สึกเศร้าโศกและความเครียด
8.ส่งเสริมให้บิดาและมารดาได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเลือกวิธีการรักษาทารก เพื่อส่งเสริมให้บิดามารดามีสิทธิในการตัดสินใจ
แผนการดูแลทารอย่างต่อเนื่อง
การวางแผนจำหน่าย D-METHOD

D (Disease) : อธิบายให้บิดามารดาทราบเกี่ยวกับโรคของทารก
อธิบายเกี่ยวกับภาวะสูดสำลักขี้เทาของทารกที่ทารกอยู่ในตู้อบว่าเป็นการรักษาทารกและอธิบายภาวะเสี่ยงที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทารก เช่น ความผิด
ปกติระบบทางเดินหายใจ การติดเชื้อได้ง่าย เสี่ยงต่อจอประสาทตาเสื่อม เป็นต้น
M (Medication) : ความรู้เกี่ยวกับยา
อธิบายเกี่ยวกับยาที่ทารกได้รับ ให้แก่บิดามารดาได้รับทราบและปฏิบัติได้ถูกตอง ยาที่ทารกได้ขณะอยู่โรงพยาบาล ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรียเพื่อลดการติด
เชื้อ,วิตามินป้องกันการขาดวิตามิน,ยาขับปัสสาวะ,เกลือแร่, แร่ธาตุ แนะนําเรื่องการฉีดวัคซีนให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีน
E ( Environment & Economic) : ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้านเพื่อการส่งเสริมสุขภาพมารดาทารกและภาวะเศรษฐกิจ
- ดูแลให้ทารกอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาดและปลอดโปร่ง
- การจัดบริเวณที่ทารกอยู่ให้มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก จัดสิ่งแวดล้อมให้เป็นระเบียบ
- ไม่มีเสียงรบกวนหรือกลิ่นเหม็น มีการกําจัดขยะอย่างถูกวิธี
แผนการดูแลทารอย่างต่อเนื่อง
การวางแผนจำหน่าย D-METHOD

T (Treatment) : รู้ปัญหาการรักษาและมีทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติตามแผนการรักษาสามารถเฝ้าระวังสังเกตอาการของทารกได้
- บิดามารดารับทราบแนวทางการรักษาของแพทย์ การปรับเปลี่ยนทางการรักษาเมื่อทารกมีอาการ แนะนําให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังและจัดการกับ
ภาวะฉุกเฉินอาการผิดปกติจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมกับ ภาวะสุขภาพ
H (Health) : เข้าใจภาวะสุขภาพของทารก และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้ตามคำแนะนําในอาการและความเข้าใจในการติดตามรักษาอย่าง
ต่อเนื่องเมื่อกลับไปอยู่บ้านได้อย่างถูกต้อง
- แนะนําบิดามารดาในการอาบน้ำให้ทารกเมื่อกลับไปอยู่บ้าน โดยใช้น้ำอุ่นและไม่ให้มีลมโกรกพร้อมเตรียมอุปกรณ์ใหพรอม และห่อตัวทารกด้วยผ้าที่อุ่น
และแห้งทันที
O (Outpatient Referral) : เขาใจความสำคัญของการมาตรวจตามนัดทั้งเวลาและสถานที่
ชี้แจงใหบิดาและมารดาเขาใจถึงความสำคัญของการตรวจตามนัดและอาการผิดปกติที่ตองมาวันกอนวันนัด เช่น หายใจหอบเหนื่อยมากขึ้น มีไข ตัว
เหลืองมาก ชัก ถ่ายอุจจาระเหลวเป็นน้ำ เป็นตน
D (Diet) : เข้าใจ และเห็นความสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารได้ถูกตองสงเสริมและสนับสนุนใหมารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างเดียว
6 เดือน ถามีปญหาเรื่องการดูดนมของบุตรแนะนําใหมาตรวจที่คลินิกแม่และเด็กในวันและเวลาราชการ
สรุปและวิเคราะห์กรณีศึกษา
ทารกเพศชาย Term 38 weeks แพทย์วินิจฉัยว่าเป็น Meconium Aspiration Syndrome น้ำหนัก แรกเกิด 3,400 กรัม
รอบอก 33 เซนติเมตร ส่วนสูง 47.2 เซนติเมตร รอบศีรษะ 35 เซนติเมตร สัญญาณชีพแรกเกิด T= 36.5 Co HR = 160 ครั้ง/นาที
RR = 60 ครั้ง/นาที O2 sat 85-92% ทารกสูดสำลักขี้เทา มีอาการหายใจลำบาก มี Retraction ที่ Subcostal Retraction มี
Secretion เยอะ จึงดูแล suction clear air way ต่อมาย้ายไป NICU ยังหายใจหอบเหนื่อย RR= 68-74 ครั้ง/นาที spaO2 88-94%
แพทย์เวรพิจารณาให้ on ETT with ventilator No. 3.5 ขีด 8.5 cm. ตั้งแต่วันที่ (31/10/2565-04/11/2564) เป็นเวลา 5 วัน ทารก
เริ่มมีอาการหายใจลำบากลดลง จึงเปลี่ยนให้ On O2 cannula 3 LPM

(05/11/2565) แพทย์สั่งเจาะสิ่งส่งตรวจ CBC, BUN, Cr, Elyte, Ca, Hct(51.9%), WBC=19,900 cell/mm, MCV=94fl,
MCH=31.3Pg ,Hb=17.3 g/dl RDW=18.6% ,Monocyte=12% พบว่า WBC=19,900 cell/mm (สูง) จึงได้รับยา Ampicillin INJ.
1gm. VIAL 163mg IV q 12hr. (100 MK dose) stat , Gentamicin INJ. 6.5Mg IV q 24 hr. ทารกได้รับสารน้ำ 10%D/W 250ml
Rate 15 ml/hr.เนื่องจากทารกดูดนมยังไม่มีประสิทธิภาพจึงได้ใส่ OG tube เริ่ม feed นม BM/PF 6 ml OG drip in 1hr.*8 feeds
by Syringe pump และเพิ่มขึ้นวันละ 3 ml รับ feed ได้ดี ไม่มีอาการท้องอืด ต่อมาทารกได้รับย้ายมาที่หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด
(วันที่06/11/2565) วัดสัญญาณชีพได้ T= 37.2 Co HR = 160 ครั้ง/นาที RR = 60 ครั้ง/นาที O2 sat 96-97% ทารกยังคงมีภาวะ
หายใจหอบ Subcostal Retraction มี Secretion เยอะ

(วันที่08/11/2565) เนื่องจากทารกหายใจหอบ Subcostal Retraction มี Secretion และเสี่ยงต่อภาวะอุณหภูมิกายต่ำ จึงได้นอนใน


Incubator mode air servo control set temp= 31.5 Co, air=31.4 Co ทารกมีอาการหายใจลำบากลดลงจึงปรับ O2 cannula ลง
เป็น 2.5 LPM. ได้รับสารน้ำ 10%D/W 250ml Rate 6.9 ml/hr. On OG tube BM/PF 30 ml OG drip in 1hr.*8 feeds by
Syringe pump (วันที่10/11/2565) ทารกมีน้ำหนักลดลงจากแรกคลอด เหลือ 3370 กรัม ได้เพิ่ม BM/PF เป็น 45 ml OG drip in
1hr.*8 feeds by Syringe pump มีอาการหายใจหอบลดลงจึงได้ปรับ O2 cannula ลงเป็น 1 LPM.

สรุปและวิเคราะห์กรณีศึกษา
Thank you
for
Attention

You might also like