You are on page 1of 76

วิชาการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ 2

บทที่ 5 กระบวนการพยาบาลแบบองค์รวมบนพื้นฐานการดูแลและ
ฟื้นฟูสภาพ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ความปลอดภัยและความเอื้อ
อาทรในการพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
ในระยะตั้งครรภ์
หัวข้อ : การเตรียมและการช่วยเหลือมารดาและทารกที่ได้รับการ
ตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
20 กรกฎาคม 2565
โดย
อาจารย์กมลวิภา พางาม
- 5.1 Biochemical assessment
- 5.2 Biophysical assessment
- 5.3 Electronic fetal monitoring
- 5.4 การพยาบาลมารดาและทารกที่
ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
วัตถุประสงค์ทั่วไป
- สามารถอธิบาย ความหมาย ข้อบ่งชี้ และวิธีการตรวจ
การแปลผลได้ถูกต้อง
- สามารถอธิบาย การรักษาและการพยาบาลแบบองค์รวม
ในมารดาและทารกทีม่ ีปัญหาสุขภาพขณะได้รับการตรวจด้วย
เครื่องมือพิเศษได้ถูกต้อง
การวัดและประเมิน
- สอบปรนัย 15 ข้อ 15 คะแนน
5.1 Biochemical assessment
Biochemical assessment
ประกอบด้ วย
1. Amniocentesis ไป
การตรวจ มอง

2. Amniotic fluid analysis เคราะ ว า

3. Alpha fetoprotein (AFP) กแปล



นะ d Protein
ความหมาย า อ างไร

4. Fetoscopy ง ใน
ทา
วิ
ว่
ขำถู
น่
ตั
ดู
ส่
ย่
ห์
1. Amniocentesis
ความหมาย
คือ การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโดยการเจาะถุงนา้ คร่า
เพื่อตรวจโครโมโซมทารกในครรภ์ ทผี่ ดิ ปกติ เช่ น ตั้งครรภ์
อายุ 35 ปี ขึน้ ไป มีประวัติเป็ นโรคโลหิตจางธาลัสซี เมีย เป็ น
โคม

ต้ น ดาว
ป็
การทา Amniocentesis
วิธีการ
- ใช้ เข็มขนาดเล็ก เจาะผ่ านหน้ าท้ อง และผนังมดลูก เข้ าสู่ ถุง
น้า คร่ า โดยวิธี ก ารปราศจากเชื้ อ หลัง จากนั้ น น ามาส่ งตรวจทาง
ห้ องปฏิบัตกิ าร
- อายุครรภ์ ที่เหมาะสมในการทา คือ อายุครรภ์ ระหว่ าง 16-18
สั ปดาห์
ภาวะแทรกซ้ อน
- มีอาการปวดเกร็ งท้ องน้ อย อาจมีเลื อดหรื อน้าคร่ าไหลออกมา
ทางช่ องคลอด และมีโอกาสแท้ ง ทารกเสี ยชี วิต และมีอัตราการเจ็บ
ครรภ์ คลอดก่ อนกาหนด
- มีการติดเชื้ อในถุงน้าคร่ า การติดเชื้ อในกระแสเลือดขั้นรุ นแรง
แต่ พบในปริมาณน้ อย
- กลุ่มเลือด Rh negative มารดาสร้ างภูมิต้านทานต่ อเม็ดเลือด
แดงของทารกในครรภ์ ซึ่งทาโดยการฉีด Anti-D immunoglobulin
หลังตรวจ
คาแนะนา ภายหลังการเจาะ
สั งเกตอาการ หากพบให้ รีบมาพบแพทย์ ทันที
- ปวดเกร็งหน้ าท้ องมาก
- มีไข้ ภายใน 2 สั ปดาห์
- มีนา้ หรื อเลือดไหลออกทางช่ องคลอด
หลังเจาะน้าคร่ า ควรพักอย่ างน้ อย 1 วัน และงดออกแรงหนักๆ
เช่ น การยกของหนัก ออกกาลังกาย และควรงดการมีเพศสั มพันธุ์
4-5 วัน หลีกเลีย่ งการเดินทางไกล ภายใน 7 วันหลังเจาะ
การพยาบาล
บทบาทพยาบาล
- ก่ อนทาการเจาะ ควรปัสสาวะ เพื่อให้ กระเพาะปัสสาวะว่ าง
- ดูแลจัดท่ า วัดความดันโลหิต ฟังเสี ยงหัวใจทารก
- จัดเตรียมอุปกรณ์ ปราศจากเชื้อ
- หลังเจาะ ให้ หญิงตั้งครรภ์ นอนหงาย กดแผลบริ เวณที่ดึ งเข็ม
ออก นานประมาณ 1 นาที และปิ ดแผลด้ วยพลาสเตอร์ สะอาด
- ประเมินเสี ยงหัวใจทารก ทุก 15 นาที จนครบ 1 ชั่วโมง
- วัด V/S 2 ครั้ง ห่ างกัน 15 นาที หากพบผิดปกติให้ รายงานแพทย์
2. Amniotic fluid analysis
เป็ นการตรวจดูความสมบูรณ์ ของปอด ซึ่งวิธีทนี่ ิยม มี 3 วิธี

1. การดูสีของนา้ คร่า ว่ ามีลกั ษณะเลือดปนใส หรื อลักษณะ


สี ข่ นุ มีสีของขีเ้ ทาปนหรื อไม่
2. การตรวจหาค่ า L/S ration (Lecithin Sphingomyelin
Ratio)
3. Shake Test
Lecithin Sphingomyelin Ratio
เป็ นการตรวจหาอัตราส่ วนระหว่ าง สาร Lecithin ต่ อ
สาร Sphingomyelin ในนา้ คร่าของทารก ไ ไหม ปอด
มา มาก
เ ก ไหม
นาย

- 26 wk. แรกของการตั้งครรภ์ ค่ า S>L


- 26-34 wk ค่ า L/S ratio = 1:1
- 34-36 wk ค่ า L จะเพิม่ ขึน้ มาก ทาให้ ratio สู งขึน้
- L/S ratio > 2 แสดงว่ าปอดทารกสมบูรณ์ เต็มที่ ไม่
ค่ อยเกิดภาวะ RDS
ทำ
ดี
ด็
ด้
Shake Test
เป็ นการทดสอบความสมบูรณ์ ของปอดทารกในครรภ์
โดยใช้ หลักการของความสามารถในการคงสภาพของฟอง
อากาศของสารลดแรงตึงผิวของปอด (Surfactant)
Shake Test
วิธีการ
ใช้ หลอด 5 หลอด ใส่ นา้ คร่าจานวน 1 CC, 0.75 CC, 0.5
CC, 0.25 CC และ 0.2 CC ตามลาดับ จากนั้นเติม normal
Saline solution ในหลอดที่ 2, 3, 4 และ 5 ทาให้ ส่วนผสม เป็ น
1 CC ทุกหลอด แล้ วเติมด้ วย Ethanol 95% ทุกหลอด จากนั้น
ให้ เขย่ านาน 15 วินาที ทิง้ ไว้ นาน 15 นาที
Shake Test
การแปลผล
- ถ้ าพบฟองอากาศเกิดขึน้ 3 หลอดแรก แสดงว่ าได้ ผลบวก
ปอดทารกมีการเจริญเติบโตเต็มที่
- ถ้ าพบฟองอากาศ 2 หลอด แสดงว่ าปอดทารกยังไม่ เจริญ
เต็มที่
- ถ้ าพบฟองอากาศเพียงหลอดเดียวหรื อไม่ พบเลย แสดง
ว่ า การทดสอบได้ ผลเป็ น ปอดทารกยังเจริ ญเติบโตไม่
เต็มที่
3. Alpha fetoprotein (AFP)
เป็ นค่ าโปรตีนที่สร้ า งมาจากรก ใช้ คานี้ในการตรวจสอบ
ความผิดปกติของรกและเนื้อเยื่อทีเ่ กีย่ วข้ องกับรกได้
ค่ าปกติ AFP 2.0-2.5 MOM (Multiple of median)
ค่ า AFP สู งขึน้ หลังจากสั ปดาห์ ที่ 15 ของการตั้งครรภ์
แสดงว่ าทารกมีความผิดปกติของ open neural tube เช่ น
anencephaly meningomyelocle, Spinabifida
3. Alpha fetoprotein (AFP)
4. Fetoscopy

เป็ นการส่ องกล้ อ งดู ท ารกในครรภ์ หรื อ เรี ย กว่ า


laparo amnioscope สอดเข้ าไปในถุงน้าคร่าโดยผ่ านผนัง
หน้ า ท้ อ งของหญิ ง ตั้ ง ครรภ์ เ พื่ อ ดู ค วามผิ ด ปกติ ข องทารก
ในครรภ์
4. Fetoscopy (ต่ อ)
ขั้นตอนการทา
- NPO 6-8 ชม.ก่ อนและหลังทา
- ฟัง FHS ก่ อนและหลังทา
- ใช้ ultrasound เป็ นตัวช่ วยในการทา
- งดการทางานหนัก 1-2 wk เนื่องจากอาจมีอาการปวดท้ อง
- ภาวะแทรกซ้ อนที่อาจพบ คือ แท้ งบุตร เลือดออกทางช่ อง
คลอด ติดเชื้อน้าคร่าอย่ างรุ นแรง และมีภาวะเลือดมารดาและ
ทารกปนกัน
5.2 Biophysical assessment
Biophysical assessment
ประกอบด้ วย
1. Ultrasound กาย ภาพ ของ
ทท .

2. Fetal Biophysical profile (BPP)


ดู
การตรวจ Ultrasound
ความหมาย
คือ การใช้ คลื่นเสียงความถี่สูง ผ่านผิวหนังเข้ าไปในเนื้อเยื่อที่ต้องการ
ตรวจ เพื่อดูขนาด ขอบเขต รูปร่ าง การเคลื่อนไหวของอวัยวะ กษณะ ของ ทารก .
ดูลั
การตรวจ Ultrasound (ต่ อ)
ข้ อบ่ งชี้ ด้ านมารดา
- ใช้ วนิ ิจฉัยการตั้งครรภ์ ระยะเริ่มแรก ↑
tks
ตรวจ การ เกาะat %
- ใช้ วนิ ิจฉัยการตั้งครรภ์ ที่มีความผิดปกติ
- ตรวจดูตาแหน่ งรกเกาะ า Abwmdii

- ตรวจดูภาวะแฝดนา้ /นา้ คร่าน้ อย


- ตรวจในรายทีส่ งสั ยครรภ์ ไข่ ปลาอุก
- ใช้ วนิ ิจฉัยการตั้งครรภ์ นอกมดลูก
- การตั้งครรภ์ ทมี่ ีห่วงอนามัยอยู่ด้วย
-เพื่อดูความผิดปกติ เช่ น ก้ อนเนื้องอกทีอ่ ้ งุ เชิงกราน
- ตรวจดูตาแหน่ งทีเ่ หมาะสมก่ อนทา amniocentesis
ว่
การตรวจ Ultrasound (ต่ อ)
ข้ อบ่ งชี้ ด้ านทารก
- ดูการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ หรื อคาดคะเนอายุครรภ์
- ตรวจดูความผิดปกติของทารกในครรภ์
- เพื่อวินิจฉัยทารกตายในครรภ์
- เพื่อดู line position และส่ วนนาของทารกในครรภ์
- เพื่อตรวจดูการหายใจของทารกในครรภ์ IUGR
- ตรวจดูจานวนของทารกในครรภ์
การตรวจ Ultrasound (ต่ อ)
การแปลผล
- Gestational Sac (GS) ง า ค ว
ของ ความ ก
,

-Crown-rump lerght (CRL) รษะ ไป ง


ยา การ

น ขา ดลาม ยาว

- Biparietal diameter (BPD) าง


ความ

- Femur length (FL) กากหาก เ น


- Head cicumference (Hc)
- Abdominal circumference (Ac) ความหมาย s
น้
ดูถุ
ว่
วั
ต้
ทุ
ถึ
ศี
ดู
ท่
ป็
รั
ขนาดของถุงการตั้งครรภ์
(Gestational : GS)

อายุครรภ์ 5-7 wk ถุงที่ห้ ุมทารกไว้ ซึ่งเห็นได้ ในระยะแรก


ของการตั้งครรภ์ ใช้ ยืนยันการตั้งครรภ์ ใช้ ในการหาอายุครรภ์ โดย
การวัดเส้ นผ่ าศู นย์ กลางของถุงการตั้งครรภ์ ทั้ง 3 แนว คือ ความ
กว้ าง ความยาว และความสู ง
ความยาวของทารก
(Crown-rump lenght : CRL)

อายุครรภ์ 7-14 wk คือความยาวตั้งแต่ ศีรษะถึงส่ วนล่ างสุ ด


ของกระดูกไขสั นหลัง ซึ่งมีความแม่ นยามาก คลาดเคลื่อนเพียง 3-7
วัน
(Biparietal diameter : BPD)

เส้ นผ่ าศูนย์ กลางของ ส่ วนทีย่ าวทีส่ ุ ดของศีรษะทารก เป็ นตัว


วัดที่นิยมมากที่สุด อาศัยจุดสั มพัทธ์ คือ เป็ นระดับ BPD ที่กว้ าง
ที่สุด การคานวณจะแม่ นยาสุ ด คือ ช่ วงอายุครรภ์ 14-26 สั ปดาห์
คานวณอายุครรภ์ โดยประมาณ คือ BPD (ซม.) x 4 สั ปดาห์
(Biparietal diameter : BPD)
ความยาวของกระดูกต้ นขา
(Femur lenght : FL)

วัดจากส่ วนหั ว ของกระดู ก -ปลายแหลมของปลายกระดู ก


ควรวัด ก่ อนอายุครรภ์ 24 สั ปดาห์
เส้ นรอบท้ อง
(Abdominal circumference : Ac)

การวัดค่ อนข้ างยาก จึงไม่ นิยม เนื่ องจากมีการเปลี่ ยนแปลง


ของหน้ าท้ องจากสาเหตุบางอย่ าง เช่ น ทารกโตกว่ าอายุครรภ์ หรื อ
เล็กกว่ าอายุครรภ์ , ทารกมีตับ และม้ ามโต
การตรวจ biophysical profile (BPP)
ความหมาย
คือ การศึกษา biophysical activity ต่างๆ ของทารกแล้วนามาคิด
คะแนนเป็ น fetal biophysical scoring ซึ่งใช้ ประเมินสุ ขภาพของทารกได้
ละเอียด แม่ นยากว่ าการตรวจด้ วย NST หรื อ CST ซึ่งเป็ นการดูตัวแปรได้ แก่
- การหายใจของทารก (fetal breathing movement : FBM)
- การเคลื่อนไหวของทารก (gross body movement : FM)
- การตึงตัวของกล้ามเนื้อทารก (fetal tone : FT)
- หัวใจมีการตอบสนองเมื่อมีการเคลื่อนไหว(reactive fetal heart rate)
- ปริมาณนา้ คร่า (amniotic fluid volume)
การตรวจ biophysical profile (BPP)

การศึกษา กระทาโดยการตรวจด้ วยคลื่นเสี ยงความถี่สูงร่ วมกับการ


บันทึกอัตราการเต้ นของหัวใจทารก วิธีการเช่ นเดียวกับ การตรวจ NST
ข้ อมูลจึงละเอียดกว่ า มีอตั ราบวกลวงและอัตราลบลวงตา่
อีกทั้งยังสามารถวินิจฉัยความพิการแต่ กาเนิดของทารกในครรภ์ ได้
และบางรายงาน ยังรวมการดูลกั ษณะของรก ไว้ ด้วย
การตรวจ biophysical profile (BPP)
การตรวจ biophysical activity หรื อการเคลื่อนไหวอวัยวะต่ างๆ ของ
ทารกในครรภ์ ถูกกระตุ้นและควบคุมโดยกลไกของระบบประสาทส่ วนกลาง
ที่ซับซ้ อนมาก ถ้ าผลปกติ แสดงว่ าระบบประสาทส่ วนกลางยังอยู่ครบและ
ทางานตามปกติ
แต่ ถ้าอย่ างใดอย่ างหนึ่งผิดปกติ จะแปลผลยาก เพราะระบบประสาท
ส่ วนกลางอาจด้ วยกดด้ วยยาทีม่ ารดาได้ รับ หรื อมีพยาธิสภาพต่ างๆ หรื อปกติ
แต่ ทางานเป็ นจังหวะ คือ มี periodicity
การตรวจ biophysical profile (BPP)
การควบคุม biophysical activity โดยระบบประสาทส่ วนกลางของ
ทารกในครรภ์ นี้มาจากตาแหน่ งต่ างๆ ของสมอง ที่มีความไวต่ อภาวะพร่ อง
หรื อขาดออกซิเจนต่ างกัน ดังนี้
การตรวจ biophysical profile (BPP)
วิธีการ
- เตรียมหญิงตั้งครรภ์ ในท่ านอน Semi-fowler ตะแคงซ้ ายเล็กน้ อย
- ใช้ Ultrasound ตรวจวัดข้ อมูล 5 ตัวแปรทีต่ ้ องการ
- กาหนดค่ าคะแนนของแต่ ละข้ อมูล ข้ อละ 2 คะแนน
- เมื่อพบว่ าปกติให้ 2 คะแนน และให้ 0 คะแนนเมื่อพบว่ าผิดปกติ
การตรวจ biophysical profile (BPP)
เกณฑ์ ปกติ คะแนน = 2 คะแนน (สั งเกตนาน 30 นาที)
- การหายใจของทารก : หายใจอย่ างน้ อย 1 ครั้ง นาน 30 วินาที
- การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ : ขยับตัวหรื อเคลื่อนไหวแขนขาอย่ าง
น้ อย 3 ครั้ง
- แรงตึงตัวของกล้ ามเนื้อ : เหยียดตัว กางแขนขา และหดกลับอย่ างรวดเร็ว
หรื อกาและคลายมือ อย่ างน้ อย 1 ครั้ง
- การเต้ นของหัวใจทารกในครรภ์ : อัตราการเต้ นของหัวใจทารกในครรภ์
เพิม่ ขึน้ ไม่ มากกว่ า 15 ครั้ง/นาที ภายหลังการเคลื่อนไหว
- ปริ มาณน้าคร่ า : ตรวจพบโพรงน้าคร่ าอย่ างน้ อย 1 แห่ ง ขนาด
เส้ นผ่ าศูนย์ กลางมากกว่ า 1 เซนติเมตร
การตรวจ biophysical profile (BPP)
เกณฑ์ ปกติ คะแนน = 2 คะแนน (สั งเกตนาน 30 นาที)
การตรวจ biophysical profile (BPP)
การแปลผล
- คะแนน 8-10 คะแนน แสดงว่ า ปกติ ไม่ มีภาวะเสี่ ยงควรตรวจซ้า
ใน 1 สั ปดาห์
- คะแนน 6 คะแนน แสดงว่ า มีภาวะเสี่ ยงต่ อการขาดภาวะ
ออกซิเจนเรื้อรังของทารก ควรตรวจซ้าใน 4-6 ชั่วโมง
- คะแนน 4 คะแนน แสดงว่ า มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
- คะแนน 0-2 คะแนน แสดงว่ า มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรังอย่ าง
รุ นแรง ควรให้ มีการคลอดโดยเร็ว
การตรวจ biophysical profile (BPP)
การนับลูกดิน้
วิธีทไี่ ด้ รับการนิยมอย่ างกว้ างขวาง คือ Count to ten

คือ การนับการดิน้ ของทารกในครรภ์ ให้ ครบ 10 ครั้ง


ในช่ วงเวลา 2 ชั่วโมงต่ อกัน ในท่ านอนตะแคง
มารดาสามารถเลือกเวลาที่สะดวกตอนไหนก็ได้ หรื อเวลาที่
ทารกดิน้ เยอะในช่ วงเย็นก็ได้ โดยไม่ จาเป็ นทาหลังรับประทาน
อาหาร ถ้ านับลูกดิน้ ไม่ ถงึ 10 ครั้ง แปลผลว่ า ผิดปกติ
การประยุกต์ วธิ ีการนับลูกดิน้
Cardiff Count to ten
คือ นับจานวนเด็กดิน้ จนครบ 10 ครั้ ง ในเวลา 4 ชั่ วโมง ซึ่ ง
นิยมให้ นับในช่ วงเช้ า 8.00-12.00 น. ถ้ ามีความผิดปกติ ในตอนบ่ าย
ให้ มาพบแพทย์ ทันที
ข้ อดี คือถ้ ามีปัญหาจะสามารถให้ การดูแลได้ ทันท่ วงที เพราะ
ถ้ านับช่ วงใดก็ได้ ของวัน ถ้ านับตอนกลางคืน ถ้ าผิดปกติ บางรายกว่ า
จะมาพบแพทย์ ก็ เ ช้ าวั น รุ่ งขึ้น ทารกในครรภ์ จ ะยิ่ ง อยู่ ใ นภาวะ
อันตรายสู ง
การให้ คาแนะนาการนับลูกดิน้
“daily fetal movement record (DFMR)” ☆ นอนให
มหาราช แล

คือ การนับลูกดิน้ 3 เวลาหลังมื้ออาหาร ครั้ งละ 1 ชั่ วโมง ถ้ า
น้ อยกว่ า 3 ครั้งต่ อชั่วโมง แปลผลว่ าผิดปกติ
ถ้ านับต่ ออีก 6-12 ชั่ วโมงต่ อวัน รวมจานวนครั้ งที่ดิน้ ใน 12
ชั่วโมงต่ อวัน ถ้ าน้ อยกว่ า 10 ครั้ง ถือว่ าผิดปกติ ทารกมีความเสี่ ยงที่
จะเสี ยชีวติ ในครรภ์
วิ
น้
ธี
ช้
ญ่
การทีล่ ูกดิน้ น้ อยลง
หมายถึ ง ทารกอยู่ ใ นภาวะอั น ตราย มี ค วามเสี่ ย งที่ จ ะ
เสี ยชีวิต ดังนั้นถ้ ามารดาพบว่ า ทารกดิน้ น้ อยลง หรื อหยุดดิน้ ให้ มา
พบแพทย์ ทันที และควรมีการบันทึกการดิน้ ของทารกในแต่ ละวัน
5.3 Electronic fetal monitoring
Electronic fetal monitoring
เป็ นเครื่ องมือทาง Electronic ทีไ่ ด้ นามาใช้ เพื่อตรวจดูสุขภาพทารกในครรภ์
Electronic fetal monitoring (ต่ อ)
เครื่ องมือ
มี หัวตรวจ 2 แบบ คือ
① Tocodynamometer หรื อ tocometer จะเป็ นส่ วนที่วางอยู่บนหน้ า
ท้ องมารดาบริเวณยอดมดลูกเพื่อประเมินความรุ นแรงของการหดรัดตัว
ของมดลูก
② ultrasonic transducer สาหรับฟังอัตราการเต้ นของหัวใจทารกจะ
เป็ นส่ วนที่วางอยู่บนหน้ าท้ องบริ เวณหัวใจทารก เพื่ อประเมินการเต้ น
ของหัวใจและการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ เมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูก
Electronic fetal monitoring (ต่ อ)
มี หัวตรวจ 2 แบบ คือ
① Tocodynamometer หรื อ tocometer
② ultrasonic transducer
Electronic fetal monitoring (ต่ อ)
การเต้ นของหัวใจทารกและคาต่ างๆ ที่เป็ นสากล
Baseline features (ในช่ วงทีม่ ดลูกไม่ หดรัดตัว)
อัตราการเต้ นของหัวใจทารก
- Baseline fetal heart rate ปกติ 110-160 ครั้ง/นาที
- Tachycardia > 160 ครั้ง/นาที
- Bradycardia < 110 ครั้ง/นาที
ตัวอย่ าง Baseline 140 ครั้ง/นาที

ใ ณแ กด
ม เ าแดน
0 ฒื๊
นะ

0 C
คุ
ปุ๋
ดี
ม่
ม่
ห้
Variability

คือ อัตราการเต้ นของหัวใจทารกทีม่ ีการเปลีย่ นแปลง


- Absent : ไม่ เห็นการเปลีย่ นแปลง
- Minimal : มีการเปลีย่ นแปลง 0-5 beat/min
- Moderate : มีการเปลีย่ นแปลง 6-25 beat/min
- Marked : มีการเปลีย่ นแปลงมากกว่ า 25 beat/min
ตัวอย่ าง
ตัวอย่ าง
ตัวอย่ าง Variability
Variability
การที่ variability ลดลงหรื อหายไปแสดงถึง บางส่ วนของ
สมองหยุดส่ งกะแสไฟฟ้ากระตุ้นการทางานของหัวใจทารกพบใน
- ทารกได้ รับยากดประสาทเช่ น Pethidine, Morphine, Phenobarb
- ทารกหลับ คลอดก่ อนกาหนด
- ความพิการของหัวใจ หรื อศรีษะ เช่ น anencephaly
- มีภาวะ brain hypoxia
Periodic change (เมื่อมดลูกหดรัดตัว) มี 2 แบบ

acceleration การเพิม่ ขึน้ ของ FHR


- อายุครรภ์ > 32 สัปดาห์ มากกว่าหรื อเท่ ากับ 15 bpm นานกว่า 15
วินาที
-อายุครรภ์ < 32 สั ปดาห์ เพิม่ ขึน้ 10 bpm นานกว่ า 10 วินาที
acceleration
deceleration

deceleration แบ่ งเป็ น 4 แบบ คือ


- Early deceleration
- Late deceleration
- Variable deceleration
- Prolonged deceleration
Early deceleration
การลดลงของ FHR สั มพันธ์ กบั การหดรัดตัวของมดลูก พบได้ ตอนท้ ายของ
การเจ็บครรภ์ คลอด เชื่ อว่ าเป็ น reflex เกิดจากการทีศ่ ีรษะทารกถูกกด
Late deceleration
การลดลงของ FHR สัมพันธ์ กบั การหดรัดตัวของมดลูกการลดลง ถือเป็ น
ความผิดปกติ เชื่ อว่ าเกิดจากทารก hypoxia
Variable deceleration
การลดลงของ FHR โดยอาจจะสั มพันธ์ กบั การหดรัดตัวของมดลูกหรื อไม่ กไ็ ด้ ไม่
นานเกิน 2 นาที เกิดจากสายสะดือถูกกด พบใน prolapse cordหรื อ นา้ คร่าน้ อย
Prolonged deceleration
การลดลงของ FHR นานอย่ างน้ อย 2 นาที แต่ ไม่ ถึง 10 นาที
การแก้ไข : ตรวจสอบหาการพลัดต่าของสายสะดือ
หลักการดูแลทารก
ที่มีการเต้ นของหัวใจผิดปกติ
- เพิม่ uterine blood flow โดยการจัดท่ ามารดา ให้ สารนา้ ทาง
เส้ นเลือด ช่ วยลดความกังวลใจให้ กบั มารดา
- เพิ่ม umbilical circulationโดยการจัดท่ ามารดา การตรวจ
ภายในดันส่ วนนาของทารกเพื่อลดการกดสายสะดือถ้ าเกิด ภาวะ
สายสะดือย้ อย
- เพิม่ oxygen saturation โดยการจัดท่ ามารดา ให้ ออกซิเจน
แก่ มารดา และสอนวิธีการหายใจที่ถูกต้ องในระหว่ างเจ็บครรภ์
คลอด
- ลด uterine activity โดยปรับเปลีย่ นการให้ ยาที่เหมาะสม จัด
ท่ ามารดาให้ สารน้าทางเส้ นเลือด และสอนวิธีการการเบ่ งคลอดที่
ถูกต้ อง
แนวทางการดูแลรักษา

ทารกมีปัญหาการเต้ นของหัวใจทีผ่ ดิ ปกติในระหว่ างเจ็บครรภ์


- จัดท่ ามารดา โดยทั่วไปนิยมให้ มารดานอนในท่ าตะแคงซ้ าย
- แก้ไขเมื่อมีภาวะ uterine hyperstimulation หยุดการให้ ยา oxytocin
- ให้ ออกซิเจนแก่มารดาผ่ านทางหน้ ากากในอัตรา 8-10 ลิตร/นาที
- ทาการประเมินการเต้ นของหัวใจทารกตลอดเวลา
- ลักษณะผิดปกติอย่ างต่ อเนื่องอยู่ควรทาการคลอดทารกภายใน 30 นาที
Non-Stress Test (NST)
- ตั้งครรภ์ เกินกาหนด( post term)
- ทารกเติบโตช้ าในครรภ์ (intra uterine growth retardation)
- มารดาเป็ นเบาหวาน
- มารดามีประวัตคิ วามดันโลหิตสู ง
- มารดาเป็ นโรคโลหิตจางหรื อมีฮีโมโกลบินผิดปกติ
- มารดามีอายุมากกว่ า 35 ปี
- ทารกในครรภ์ ดนิ้ น้ อยลง
Non-Stress Test (NST) (ต่อ)
การแปลผล
- Reactive หมายถึง มีการเพิ่มขึน้ ของอัตราการเต้ นของหัวใจมากกว่ า 15
ครั้ ง/นาที และคงอยู่นานอย่ างน้ อย 15 วินาทีเมื่ อทารกเคลื่อนไหวโดยบันทึก
การตอบสนองดังกล่าวได้ อย่ างน้ อย 2 ครั้งภายใน 20 วินาทีโดยมี baseline 120-
160 ครั้ง/นาที
- Non-reactive หมายถึง ผลที่ได้ จากการทดสอบไม่ ครบตามข้ อกาหนดของ
reactive NST หรื อไม่ พบทารกเคลื่อนไหว
- Suspicious หมายถึง มีการเพิม่ ของอัตราการเต้ นของหัวใจน้ อยกว่ า 2 ครั้ง
หรื ออัตราการเพิม่ ขึน้ น้ อยกว่ า 15 ครั้ง/นาที และอยู่ส้ั นกว่ า 15 วินาที
การพยาบาล หลังตรวจ NST

- รายงานผลการตรวจให้ แพทย์ และผู้รับบริการทราบในกรณีทไี่ ม่ แน่ ใจผลการ


ตรวจควรปรึกษาแพทย์ ทุกครั้ง
- ผล reactive ควรนัดหญิงตั้งครรภ์ มาตรวจซ้าอีกสั ปดาห์ ละ 1 ครั้ง แต่ ถ้าผล
เป็ น non- reactive ก็ควรทาซ้า
เ ยส
- ถ้ าผลการตรวจเป็ น suspicious ควรตรวจซ้าภายใน 24 ชั่ วโมงหลังตรวจ

หรื อแนะนาการตรวจ (contraction stress test : CST ) ติดตามสภาพทารกใน


ครรภ์ NST ด นเ ยว ด ยอดท
พี
อั
ติ
ผู้
ติ
ซี
ดี
Contraction-Stress Test (CST)
การทดสอบดูการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้ นของหัวใจทารก ใน
ครรภ์ ขณะทีม่ ดลูกหดรัดตัว
เพื่อคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะเสี่ ยงสู งว่ ามีเลือดไปเลีย้ ง
มดลูกและรกพอหรื อไม่ ก่ อนจะเจ็บครรภ์ คลอด และถ้ าให้ ต้ั งครรภ์
ต่ อ ไปทารกจะทนต่ อ การหดตัวของมดลู ก เมื่ อ เจ็บ ครรภ์ คลอดได้
หรื อไม่
Contraction-Stress Test (CST) (ต่อ)
Uteroplacental insufficiency
ทารกจะสามารถปรับตัวได้ แสดงออกโดยมีการเปลีย่ นแปลง FHR pattern
ไม่ เกิด late deceleration

ถ้ ามีภาวะ Uteroplacental insufficiency ทารกอยู่ในภาวะไม่ ปลอดภัย


FHR pattern เกิด late deceleration ขึน้
Contraction-Stress Test (CST) (ต่อ)
การแปลผล
- Negative : ไม่ มี late deceleration และมี UC 3 ครั้งใน10 นาที
- Positive : พบ late deceleration
- Unsatisfactory : เส้ นกราฟไม่ มีคุณภาพเพียงพอ หรื อ UC ไม่ ดีพอ
Contraction-Stress Test (CST) (ต่อ)
การติดตามผล
- Negative : ทารกอยู่ในสภาพปกติ แนะนานับลูกดิน้ และตรวจซ้า
ใน 1 สั ปดาห์

- Positive : ทารกอยู่ในสภาพพร่ องออกซิ เจน ช่ วยเหลือโดย


Intrauterine resuscitation และหยุด Oxytocin ทันที หลังจากนั้น 15-
30 นาทีให้ ทา CST ซ้า ถ้ าผล Positive อีกครั้งควรสิ้นสุ ดการตั้งครรภ์
ขอขอบคุณทีต่ ้งั ใจเรียนนะคะ
Q&A

You might also like