You are on page 1of 22

เอกสารประกอบการสอน NUR3236 การรักษาโรคเบื้องต้น

อ.สุกัญญา บุญวรสถิต

โรคระบบทางเดินหายใจ ( กลุ่มอาการไข้ ไอ หอบ )

Respiratory tract

อาการหอบ : นอกจากความถี่ของการหายใจต้องสังเกตสิ่งต่อไปนีร้ ่วม


ด้วย

- สีผิวโดยเฉพาะริมฝี ปาก ( Cyanosis )


- ใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง ( Accessory muscle )
- เหงื่อออกมาก ( Sweating )
- Concious change
- นอนราบไม่ได้ ( Chest discomfort )

การซักประวัติ

- อาการสำคัญ ( CC ) : อาการ+ระยะเวลา
- ประวัติเจ็บป่ วยปั จจุบัน( PI )
- ประวัติเจ็บป่ วยในอดีต โดยเฉพาะประวัติที่เกี่ยวกับโรคระบบทาง
เดินหายใจ โรคปอด โรคหัวใจ
- ประวัติครอบครัว เช่น โรคภูมิแพ้ โรคระบบทางเดินหายใจ
- ประวัติการสูบบุหรี่ หรือมีคนใกล้ชิดสูบบุหรี่
- ประวัติการทำงานที่เสี่ยงต่อการเกิด Occupational lung disease
- ประวัติเสี่ยงต่อการเกิด Deep vein thrombosis เช่น
immobilization มะเร็ง
- ประวัติเสี่ยงต่อการเกิด Atherosclerosis เช่น เบาหวาน ไขมันใน
เลือดสูง ประวัติโรคหัวใจและหลอดเลือดในครอบครัว

การตรวจร่างกายระบบทางเดินหายใจ

- ดู : รูปร่างทรวงอก ( Shape ) ขนาดของทรวงอก ( Size ) การ


เคลื่อนไหวของทรวงอกแต่ละข้าง ( movmcment)
- ฟั ง : ฟั งเสียงหายใจ ฟั งเสียงผิดปกติ
- เคาะ : เสียงทึบ ( Flatness, Dullness ) เสียงโปร่ง
( Resonance )
- คลำ : ตำแหน่งของหลอดลม การเคลื่อนไหวของปอด คลำ tactile
fremitus ดูการแพร่กระจายของเสียง

การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ

- Chest X-ray
- ABG
- CBC
- BUN, Cr, E’lyte
- Brain natriuretic peptide ( BNP ) หรือ N-
teminalproBNP( NT-proBNP)
- Sputum exam, C/S
- EKG / Echo
- D-dimer
- Doppler ultrasound of venous system
- Pulmonary function test
- CT scan of chest
- Ventilation-perfusion scan

อาการและอาการแสดงปั ญหาระบบทางเดินหายใจ
มีตงั ้ แต่อาการและอาการแสดงที่ไม่รุนแรงหรือเร่งด่วนจนกระทั่งถึงภาวะ
ที่ฉุกเฉินและรุนแรงถึงชีวิต

- Fever
- อาการหวัด คัดจมูก น้ำมูกไหล
- Cough/Productive cough/ Hemoptysis
- Sore throat
- Abnormal lung sound
- Dyspnea หายใจลำบาก เหนื่อย หอบ นอนราบไม่ได้
- Chest pain
- Cyanosis
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
Respiratory tract

โรคหวัด ( Common cold )

เกิดจากเชื้อไวรัสโดยเฉพาะ Rhinovirus มักพบในฤดูหนาว


เนื่องจากอุณหภูมพ
ิ อเหมาะต่อการเจริญของไวรัส

อาการและอาการแสดง

- เริ่มจากเจ็บหรือระคายคอ คัดจมูก น้ำมูกไหล ตามมาด้วยอาการไอ


มีไข้ มีเสมหะในคอ อาการไข้และเจ็บคอมักเป็ นไม่เกิน 1-3 วัน
- ส่วนอาการคัดจมูกมีน้ำมูก มักเป็ นไม่เกิน 7-10 วัน

การตรวจร่างกาย

- พบน้ำมูกใสและขุ่น
- Turbinate บวมแดง
- Pharynx injected มี granular หรือ nodular แต่ไม่มี
exudative patch
- Tonsil enlarged แต่ไม่มี exudate

การวินิจฉัยแยกโรค

ทีสำ
่ คัญต้องแยกโรคหวัดออกจากโรคอื่นๆที่รุนแรงกว่า โรคที่สำคัญที่ต้อง
คิดถึงไว้เสมอเมื่อพบผู้ป่วยหวัด ได้แก่

- คออักเสบจากแบคทีเรีย มักมีไข้สูง คอแดงมาก ต่อมน้ำเหลืองที่คอ


โต
- ไซนัสอักเสบ มักมีไข้ น้ำมูกเหลือง เขียว มีเสมหะไหลลงคอ
- ภูมมิแพ้ มักมีประวัติผ่ น
ื ภูมิแพ้ คัดจมูก คันตา จาม น้ำมูก ใส เป็ นๆ
หายๆ
- สิ่งแปลกปลอม ( foreign body ) มักมีกลิ่นเหม็นจากรูจมูกข้าง
เดียว น้ำมูกมีเลือดปน

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ไม่จำเป็ นต้องส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ

การรักษา

การรักษาตามอาการได้แก่ การใช้ผ้าสะอาดเช็ดน้ำมูก ใช้น้ำเกลือหยอด


จมูก ใช้ลูกยางดูดน้ำมูก ถ้าเป็ นเด็กโตให้สั่งน้ำมูกออกเอง ให้พักผ่อนและ
ดื่มน้ำมากๆ

- การลดไข้ทำด้วยการเช็ดตัวและให้กินยาลดไข้
- Antlhstamine การให้ first-generation จะช่วยลดน้ำมูกได้บ้าง
แต่อาจทำให้ง่วงซึมและน้ำมูกหรือเสมหะข้นเหนียว จนจมูกตัน ไอ
ไม่ออก
- Decongestant มีทงั ้ ชนิดกินและหยอดหรือพ่นในจมูก แต่การใช้
nasal decongestant แบบพ่นจะทำให้เกิด rebound
congestant ได้ จึงไม่ควรใช้นานติดต่อกันนานเกิน 3 วัน แต่ไม่
แนะนำให้ใช้ในทารกอายุต่ำกว่า 6 เดือน ผลข้างเคียงของยากลุ่มนี ้
คือ หัวใจเต้นเร็ว กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ และ rebound
rminorrhea
- การบรรเทาอาการไอ แนะนำให้ด่ ม
ื น้ำมากๆ ไม่ควรใช้ยาระงับไอใน
เด็ก

ภาวะแทรกซ้อน : ที่พบบ่อยได้แก่ หูชน


ั ้ กลางอักเสบ ไซนัสอักเสบ และ
กระตุ้นโรคหืดกำเริบ

คออักเสบ (Pharyngitis )
สาเหตุเกิดจากเชื้อ 2 กลุ่มใหญ่ คือเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย ในผู้ใหญ่มัก
เกิดจากเชื้อไวรัส ส่วนในเด็กโตการติดเชื้อที่สำคัญที่สุดคือ group A  β-
hemolytic streptococci ( GABHS )

อาการและอาการแสดง

คออักเสบที่เกิดจากเชื้อ GABHS มักเป็ นเด็กโต มีอาการเจ็บคอ


อย่างรวดเร็ว มีไข้ ปวดศีรษะ

ตรวจร่างกาย

คอแดงมาก ทอนซิลโตแดง อาจมี จุดหนองสีเหลืองปนเลือดบน


ทอนซิล อาจพบว่ามีเลือดออกบนเพดานอ่อนและ posterior pharynx
ลิน
้ ไก่บวมแดง ต่อมน้ำเหลืองที่คอ ด้านหน้าคอ กดเจ็บ

การรักษาและภาวะแทรกซ้อน
การรักษาจำเพาะ :ถ้าเป็ นคออักเสบจากเชื้อ GABHS การให้ยาปฏิชีวนะ
ไม่ใช่เพื่อลดระยะเวลาหรือบรรเทาอาการแต่เพื่อลดและป้ องกันผล
แทรกซ้อน ยาปฏิชีวนะที่ควรให้ได้แก่ยาในกลุ่ม penicillin V หรือ
roxythromycin นาน 10 วัน ถ้าไม่มี penicillin V อนุโลมให้ใช้
amoxicillin ได้ และถ้าแพ้ยากลุ่ม penicillin ให้ erythyomycin ได้

การรักษาตามอาการ : ให้ยาแก้ไข้แก้ปวด กลัว้ คอด้วยน้ำเกลือหรือน้ำอุ่น


หรือยาอมแก้เจ็บคอ

ภาวะแทรกซ้อน : พบได้น้อย ถ้าเป็ นคอหอยอักเสบจากเชื้อไวรัส แต่ถ้า


เกิดจากเชื้อ streptococcus อาจทำให้เกิด peritonsillar abscess ไว
นัสอักเสบ หูชน
ั ้ กลางอักเสบ เยื้อหุ้มสมองอักเสบ ไตอักเสบเฉียบพลัน
และไข้รุมาติก ได้

ขนาดและวิธีให้ยาปฏิชีวนะ

Penicillin V (ควรรับประทานขณะท้องว่างนาน 10 วัน )

ผู้ใหญ่ 500mg วันละ 2-3 ครัง้

เด็ก 250mg ( หรือ 25-50 mg/kg/day ) แบ่งให้วัน


ละ 2-3 ครัง้

Amoxycillin( รับประทานได้ไม่ต้องคำนึงถึงมื้ออาหารนาน 10 วัน )

ผู้ใหญ่ 500mg วันละ 2-3 ครัง้

เด็ก 250mg ( หรือ 25-50 mg/kg/day ) แบ่งให้วันละ 2-3 ครัง้


Roxithromycin( ควรรับประทานขณะท้องว่าง นาน 10-14 วัน )

ผู้ใหญ่ 150mg วันละ 2 ครัง้ หรือ 300mg วันละ


ครัง้

เด็ก 100mg ( หรือ 5-8 mg/kg/day )แบ่งวันละ


2 ครัง้

Erythromycin ( ควรรับประทานขณะท้องว่าง นาน 10-14 วัน )

เด็ก 30-50 mg/kg/day แบ่งให้วันละ 2-4 ครัง้

ไซนัสอักเสบ ( Sinusitis )

ไซนัสอักเสบ ( Sinusitis )หมายถึง การอักเสบจาการติดเชื้อของเยื่อบุ


โพรงอากาศข้างจมูก (paranasal sinus )

อาการและอาการแสดง

- มักไอและมีน้ำมูกติดต่อกันเป็ นเวลานานมากกว่า 1-2 สัปดาห์ บาง


รายไอมากตอนนอน
- กรณีที่เป็ นแบบเฉียบพลันมักมีไข้
- บางรายหายใจมีกลิ่นเหม็น เสมหะลงในคอ
ตรวจร่างกาย : น้ำมูกเขียวหรือพบเสมหะที่ด้านหลังคอ sinus
tenderness

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : การถ่ายภาพรังสีไซนัส การทำ CT scan

การรักษา : การรักษาจำเพาะ

- ให้ยาปฏิชีวนะ Amoxycillin นาน 10-14 วัน

ผู้ใหญ่ 500mg วันละ 3 ครัง้ (หากเชื้อดื้อยาให้ 1g วันละ 4 ครัง้ )

เด็ก 80-90 mg/kg/day แบ่งให้รับประทาน วันละ 2-3 ครัง้ ขนาด


ยาสูงสุดไม่เกิน 2g/day

ถ้าแพ้ penicillin พิจารณาให้ erythromycin

- ถ้าไม่ตอบสนองต่อการรักษา หรือเป็ นเด็กที่มีโอกาสติดเชื้อดื้อยา


ได้แก่ มีประวัติได้รับยาปฏิชีวนะบ่อยๆ อายุต่ำกว่า 2 ปี อยู่ในสถาน
รับเลีย
้ งเด็กอ่อน ควรพิจารณาให้ amoxicillin clavulanate หรือ
ปรับขนาดของ amoxicillin ให้สูงขึน

- ถ้าแนเชื้อชนิดเรื้อรังให้ยานาน 21 หรือ 28 วัน หรือนับจากอาการ
เป็ นปกติแล้วให้ยาต่ออีก 7 วัน
- ในกรณีที่ให้การรักษา 3-5 วันแล้วไม่ดีขน
ึ ้ ให้สง่ ต่อแพทย์เฉพาะทาง

หูชน
ั ้ กลางอักเสบ ( Acute otitis madia : AOM )
โรคหูชน
ั ้ กลางอักเสบเฉียบพลัน หมายถึง ภาวะที่มีการอักเสบของ
หูชน
ั ้ กลางทำให้มีน้ำในช่องหูชน
ั ้ กลาง ร่วมกับมี

อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ ได้แก่

- ปวดหู มีไข้ มีน้ำในช่องหู หรือมีเยื่อแก้วหูทะลุ โดยอาการเกิดขึน


้ ใน
ระยะเวลาสัน
้ ไม่เกิน 3 สัปดาห์
- ช่วงอายุที่พบบ่อยคือ อายุ 6-12 เดือน สาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัส
หรือแบคทีเรีย และอาจพบทัง้ ไวรัส และ แบคทีเรียร่วมกันได้
- อาการของ AOM คล้ายกับโรคหวัด ได้แก่ ไข้ น้ำมุกใส ไอ หรือ
อาเจียน แต่อาการที่สำคัญที่สุด คือ อาการปวดหู ในเด็กเล็กที่ไม่
สามารถบอกอาการปวดหุได้ แต่อาจจะแสดงอาการด้วยการดึงหูตัว
เองบ่อยๆ แต่อาจจะไม่ได้บ่งบอกถึง AOM
- อาการแสดงที่สำคัญที่สุดคือ การตรวจพบน้ำในหูชน
ั ้ กลาง โดยการ
ทำ tympanocentesis ซึง่ ต้องทำโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
- การตรวจทั่วไปที่สามารถทำได้และควรตรวจเด็กทุกรายที่เป็ นหวัด,
เจ็บหู, ไข้ไม่ทราบสาเหตุ, เด็กที่ร้องกวนไม่ทราบสาเหตุ หรือดึงหู
บ่อยๆคือการส่องตรวจหูด้วย otoscope ลักษณะที่ผิดปกติซงึ่ บ่ง
บอกภาวการณ์มีน้ำในหูชน
ั ้ กลาง ได้แก่ เยื่อแก้วหูแดง ขุ่นหรือทึบ
แสง เยื่อแก้วหูโป่ งหรือทะลุ

การรักษา
- ให้ยาบรรเทาอาการปวด โดยยาเลือกใช้ acetaminophen หรือ
ibuprofen
- ให้ยาปฏิชีวนะ Amoxicillin นาน 10-14 วัน
ผู้ใหญ่ 500mg วันละ 3 ครัง้ ( หากเชื้อดื้อยาให้ 1g วันละ 4 ครัง้ )
เด็ก 80-90 mg/kg/day แบ่งให้รับประทาน วันละ 2-3 ครัง้ ขนาด
ยาสูงสุดไม่เกิน 2g/day
ถ้าแพ้ penicillin พิจารณาให้ erythromycin 40-50 mg/kg/day
นัดติดตามอาการใน 48-72 ชั่วโมง

Croup

อาการและอาการแสดง

- หวัด ไอ ไข้ต่ำๆ นำมาก่อน 1-3 วัน หลังจากนัน


้ จะเริ่มมีอาการของ
ภาวะอุดกัน
้ ทางเดินหายใจส่วนบน ได้แก่ ไอเสียงก้อง ( bacrking
cough ) ร้องเสียงแหบ เวลาหายใจเข้าได้ยินเสียง stridor อาการ
มักแย่ลงเวลากลางคืนและรุนแรงมากขึน
้ ในช่วงแรก หลังจากนัน
้ จะ
ค่อยๆ ดีขน
ึ ้ ภายใน 1 สัปดาห์ ถ้าเด้กร้องไห้มากอาการของภาวะอุด
กัน
้ ทางเดินหายใจจะมากขึน

- การตรวจร่างกายพบว่ามีเสียงแหบ คอหอยแดงเล็กน้อย หายใจเร็ว
ขึน
้ ไม่มากนัก ฟั งได้ยินเสียง stridor ในรายที่มีอาการรุนแรง ตรวจ
พบหอบหายใจลำบาก หายใจเร็ว จมูกบาน หายใจอกบุ๋ม ได้ยิน
เสียง stridor ทัง้ หายใจเข้าและออก และมีอาการเขียวได้

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

- โดยทั่วไปสามารถวินิจฉัยโรคนีไ้ ด้จากการซักประวัติ และตรวจ


ร่างกาย โดยไม่จำเป็ นต้องถ่ายภาพรังสี

การรักษา

- ดูแลตามหลัก ABCs แล้วส่งต่อให้แพทย์ดูแลรักษา ซึ่งแพทย์จะให้


ดูแลรักษาตามความรุนแรงของอาการ โดยให้ออกซิเจน,
Nebulizer epinephrine, ให้ dexamethasone หากอาการไม่ดี
ขึน
้ แพทย์อาจพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ

การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง
Respiratory tract

หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ( Acute bronchitis )


อาการและอาการแสดง
- อาจมีคล้ายหวัดนำมาก่อน 3-5 วันแรก
- อาจมีไข้หรือไม่ก็ได้
- มีอาการไอเป็ นอาการที่สำคัญที่สุด ระยะแรกจะไอแห้งๆ เสียงก้อง
ฟั งปอดได้ยินเสียง
Harsh sound
- ต่อมาไอมากขึน
้ เสมหะสีขาวหรือใสเหนียว แล้วเปลี่ยนเป็ นสีเหลือง
ขุ่นโดยไม่จำเป็ นต้องมีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน ระยะนีน
้ าน
ประมาณ 5-7 วัน
- ฟั งปอดได้ยินเสียง coarse crepitation หรือ rhonchi ไม่มีอาการ
หายใจเร็วหรือหายใจอกบุ๋ม ยกเว้นผู้ที่มีโรคหืดร่วมด้วยหรือเป็ น
เด็กเล็กที่มีเสมหะอุดกัน
้ ในหลอดลม ซึ่งอาจตรวจได้ยินเสียง
wheezing ร่วมด้วย
- ในรายที่มีสาเหตุจากเชื้อ myooplasma มักมีอาการไอมาก แต่
ตรวจพบเสียงผิดปกติที่ปอดน้อย
- โดยทั่วไปอาการไอจะค่อยๆ ลดลงและหายไปภายใน 2-3 สัปดาห์
ถ้านานกว่านีอ
้ าจเกิดจากสาเหตุอ่ น
ื เช่น ไซนัสอักเสบ วัณโรคปอด
GERD สิ่งแปลกปลอมในหลอดลม หลอดลมโป่ งพอง เป็ นต้น

หลอดลมฝอยอักเสบเฉียบพลัน ( Acute bronchiolitis )


- เป็ นการอักเสบของหลอดลมฝอย ( bronchiole )
- หากพบในเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงอายุ 2-6
เดือน
- ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส RSV

อาการและอาการแสดง

- มีประวัติน้ำมูกใสๆ และไอนำมาก่อน บางรายมีไข้ต่ำๆ จากนัน


้ 1-2
วันจะมีอาการหายใจลำบาก หายใจเร็ว หอบเหนื่อย จมูกบาน
หายใจอกบุ๋ม ถ้าเป็ นมากอาจมีภาวะเขียว บางรายมีอาเจียนปน
เสมหะ กินได้น้อยและอ่อนเพลีย กระสับกระส่าย มีภาวะขาดน้ำ
- การตรวจร่างกายพบว่า หายใจเร็ว ฟั งปอดได้ยินเสียงหายใจออก
นานกว่าปกติ
( prolonged expiratory phase ) เสียง wheezing เมื่อหายใจ
ออก ถ้าอาการรุนแรงอาจได้ยินเสียง crackle การอิ่มตัวของ
ออกซิเจน ( oxygen saturation )ต่ำลง ในเด็กเล็กอาจมีภาวะหยุด
หายใจ ( apnea ) ได้ ผู้ป่วยบางรายอาจตรวจพบหูอักเสบ เยื่อบุตา
อักเสบ หรือคอหอยอักเสบร่วมด้วย
ปอดอักเสบ ( ปอดบวม , Pneumonia )
เป็ นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อ ทำให้มีการอักเสบของเนื้อปอด
ส่วนที่ประกอบด้วยหลอดลมฝอยส่วนปลายและถุงลม เชื้อที่เป็ น
สาเหตุของโรคปอดบวมในเด็ก พบแตกต่างกันในแต่ละอายุ ได้แก่
ไวรัส แบคทีเรีย และกลุ่มของ atypical pathogens เช่น
Mycoplasma pneumonia, Chamydophila pneumonia
อาการและอาการแสดง
- อาการสำคัญคือ ไข้ ไอ หอบหายใจลำบาก อกบุ๋ม มีการใช้กล้าม
เนื้อส่วนอื่นช่วยหายใจ หายใจจมูกบาน อาจมี pleuritic chest
pain เวลาหายใจเข้าลึกๆ อาจมีซีด เขียว หรือหยุดหายใจร่วมด้วย
- การฟั งเสียงปอด ระยะแรกมักได้ยิน fine หรือ medium
crepitation หรือ rhonchi ในกรณีที่เนื้อปอดมีพยาธิสภาพแบบ
consolidation อาจได้เสียง bronchial breath sound ในกรณีที่
มีน้ำหรือหนองในเนื้อเยื่อหุ้มปอดหรือปอดแฟบ จะได้ยินเสียง
หายใจลดลง การฟั งปอดต้องกระตุ้นให้เด้กหายใจเข้าให้ลึกที่สุด
และฟั งปอด 2 ข้างเปรียบเทียบกัน หากหายใจไม่ลึกพอ อาจจะไม่
ได้ยินเสียง crepitation ทัง้ ๆที่เป็ นปอดบวม

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

- WBC สูงถึง 15,000-20,000 /ลบ.มม.


- X-ray พบ pulmonary infiltration

Asthma

Asthma เป็ นกลุ่มอาการของภาวะหายใจลำบาก


( breathlessness) มีเสียง wheezing แน่นหน้าอก ( chest
tightness ) และไอเป็ นๆหายๆ โดยเฉพาะในเวลากลางคืนและรุ่ง
เช้า สาเหตุ เกิดจากการอักเสบของหลอดลมเรื้อรังร่วมกับมีภาวะ
หลอดลมไว ทำให้มีการอุดกัน
้ ของอากาศ
การซักประวัติและตรวจร่างกายสำคัญ
ประวัติที่ทำให้คิดถึง asthma คือ อาการไอ โดยเฉพาะไอ
เวลากลางคืน หายใจมีเสียงหวีด หายใจลำบากเป็ นๆหายๆ แน่น
หน้าอดเป็ นๆหายๆ อาการเป็ นหรือแย่ลงตามช่วงฤดูกาล ประวัติที่
สนับสนุนคือ มีeczema, hay fever มีประวัติหอบหืดในครอบครัว
หรือ atopic disease
การตรวจร่างกาย : ฟั งปอดจะพบเสียง wheezing
Chronic Obstructive Pulmonary Disease ( COPD)
การซักประวัติตรวจร่างกาย
ประวัติ
- ส่วนใหญ่มักพบอายุมากกว่า 40 ปี
- มีประวัติเสี่ยง
- ไอ เสมหะเหนียว หรืออาจไม่มีเสมหะ
- หอบเหนื่อย
ตรวจร่างกาย
- Dyspnea, pursed lip, การใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ
- Barrel shape
- Prolong expiratory time
- Wheezing
- Clubbing finger
การรักษา
ระยะกำเริบ
- ประเมินความรุนแรง วิเคราะห์ ABG, Chest X-ray, Peak flow
- ให้ O2 ให้ Sao2>90% หรือ Pao2>60 มม.ปรอท
- ให้ยาขยายหลอดลม อาจให้ในรูป nebulizer
- ให้ aminophylline
- ให้ steroid รับประทาน
- ให้ยาปฏิชีวนะในรายที่เหมาะสมมากและเป็ นหนอง
- ถ้ามีการหายใจล้มเหลวหรือซึม แพทย์พิจารณาใช้เครื่องช่วยหายใจ
- Admit
TUBERCULOSIS ( TB)
- Progressive Fatigue
- Malaise
- Anorexia
- Wt.Loss
- CHhronic Cough ( Productive )
- Night Sweats
- Hemoptysis ( Advanced State )
- Pleurtic Chest Pain
- Low Grade Tem ( Late Afternoon )
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- Chest X-ray
- การตรวจ sputum AFB จะวินิจฉัยว่าเป็ น Pulmonary TB เมื่อ
1. Positive 3 วัน
2. Positive>2 วัน
3. Positive>1 วัน ร่วมกับมีรอยโรคในปอด
การรักษา
องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าการรักษาผู้ป่วยวัณโรคที่เสมหะ
เป็ นบวกนัน
้ ให้เริ่มด้วยสูตรระยะสัน
้ 6 เดือนคือ
- ใช้ยา Isoniacid Rifampicin Pyrazinamide และ
Ethambutol ในระยะ 2 เดือนแรก
- ส่วน 4 เดือนหลังใช้ยา Isoniacid กับ Rifampicin จนครบ 6 เดือน
-
Pulmonary embolim
ประวัติ : Deep vein thrombosis, หลังผ่าตัด, ไม่ค่อยเคลื่อนไหว,
รับประทานยาคุมกำเนิด
อาการ : เหนื่อยหอบ เจ็บหน้าอก ทันทีทันใดไม่ทราบตำแหน่งเจ็บ
ที่แน่นอน เจ็บแบบแปล๊บๆ เจ็บแบบ Pieuritic เจ็บมากขึน
้ เมื่อไอ
หรือหายใจเข้าลึกๆ
ตรวจร่างกาย : เหนื่อยหอบ หายใจเร็ว ชีพจรเร็ว ความดันโลหิตต่ำ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ABG, D-diner, computerixe
tomography ( CTA )
การรักษา : ดูแลภาวะฉุกเฉิน ABCs, พิจารณาให้ IV fluid, Refer

Pneumothorax
อาการ : เหนื่อยหอบ เจ็บหน้าอกแปล๊บๆ เกิดขึน
้ ทันทีทันใด มัก
เจ็บหน้าอกข้างเดียว
การตรวจร่างกาย : หอบเหนื่อย หายใจลำบาก เสียง breath
sound ลดลงข้างที่เป็ นโรค Tracheal shift
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : Chest X-ray
การรักษา : ดูแลภาวะฉุกเฉิน ABCs, พิจารณาให้สารน้ำทางหลอด
เลือดดำและรีบส่งต่อ

You might also like