You are on page 1of 4

แบบเฝ้าระวังการใช้ยา

ยา Norepinephrine Inj ติดชื่อที่นี่


ความแรง 1 mg./ml. (4 ml.) หรือ 4 mg/amp

การบริหารยา ข้อมูลทั่วไป
- การเตรียมยายา 1 vial ผสมกับ D5W 246 ml โดยจะได้ยาความเข้มข้น 4 mg/250 ml (16 mcg/ml) - สารละลายที่เจือจางมีความคงตัว 24 ชั่วโมงที่อุณหภูมิห้อง เก็บให้พ้นแสง
ห้ามผสมใน NSS เพื่อป้องกันการเกิดปฏิกิริยา oxidation - ห้ามใช้เมื่อสีของยาเปลี่ยนเป็นสีชมพู น้าตาล หรือ มีตะกอน
- ความเข้มข้นมาตรฐานเมื่อให้ทาง peripheral line คือ ≤ 4 mg/250 mL (16 mcg/mL) หรือ 1 amp - ห้ามให้ IV push ต้องเจือจางและให้แบบหยดเข้าเส้นเลือดเสมอ
ต่อ5DW หรือ 5DS 250 mL กรณีต้องการความเข้มข้นมากกว่านี้ แนะนาให้ทาง central venous line ผ่าน infusion pump
โดยสามารถให้ความเข้มข้นได้ถึง 64 mcg/mL -ห้ามให้ในสาย IV เดียวกันกับเลือดและพลาสมา หรือสารละลายที่เป็นด่าง

การติดตามการให้ยาผู้ป่ว ย (ตลอดระยะเวลาที่ให้ยา)
** ติดตามทุก 15 นาทีจนได้ระดับความดันโลหิตที่ต้องการ ว/ด/ป ผู้เริ่มติดตาม
จากนั้น ทุก 1 ชม
เวลา
BP (90/60 -160/100 mmHg) ระบุ
HR (60 - 120 ครั้ง/min) ระบุ
RR (16 - 20 ครั้ง/min) ระบุ
ผู้บันทึก

** ติดตามทุก 15 นาทีจนได้ระดับความดันโลหิตที่ต้องการ ว/ด/ป ผู้เริ่มติดตาม


จากนั้น ทุก 1 ชม
เวลา
BP (90/60 -160/100 mmHg) ระบุ
HR (60 - 120 ครั้ง/min) ระบุ
RR (16 - 20 ครั้ง/min) ระบุ
ผู้บันทึก

** รายงานแพทย์ เมื่อ BP < 80/50 mmHg, MAP < 60


ผู้ใหญ่: HR > 120 ครั้ง/นาที; เด็ก: HR > 180 ครั้ง/นาที
ผู้ใหญ่: BP > 160//100 mmHg ; เด็ก: BP >120//80 mmHg
o Monitor EKG เมื่อมีอาการใจสั่น เจ็บหน้าอก agitation (กระสับกระส่าย ผลุดลุกผลุดนั่ง) Restless (กระสับกระส่าย)
พบ ..............................................................................................................................................................................................

อาการไม่พึงประสงค์ (ตลอดระยะเวลาที่ให้ยา)
วันที่
เวลา เช้า บ่าย ดึก เช้า บ่าย ดึก
อาการไม่พึงประสงค์ YES NO YES NO YES NO YES NO YES NO YES NO
 ปวดศีรษะ กระวนกระวาย
 คลื่นไส้ อาเจียน
 เหงื่อออก
 หายใจหอบเหนื่อย
 ผิว มือเท้าเขียวคล่่า (gangrene) *
 Phlebitis *
 Extravasation *
ผู้บันทึก

หมายเหตุ: หากปกติ ใช้เครื่องหมาย ✓ กรณีมีอาการผิดปกติเขียน “พบ” จากนั้นรายงานแพทย์และเภสัชกร


* สงสัย กลุ่มอาการ Gangrene, Phlebitis ,Extravasation รายงานแพทย์และเภสัชกรทันที
o Notify เวลา ....................................... o ประเมินอาการไม่พึงประสงค์ เวลา .......................................

วิธีประเมิน การรั่วของยา(Extravasation) หลอดเลือดอักเสบ(Phlebitis)


Pain o ปวดบวม ปวดร้อน แสบอยู่นาน o ปวดไม่รุนแรงมาก ปวดไปตามแนวเส้นเลือด
Redness o แดงรอบๆที่แทงเข็ม o แดงไปตามแนวเส้นเลือด
Swelling o บวมรอบๆที่แทงเข็ม o ไม่บวมที่แทงเข็ม
Blood return o ดูดกลับไม่มีเลือด อัตตราหยดการให้ยาเปลี่ย นแปลง o ดูดกลับมีเลือด
ลงความเห็น
ผู้ประเมิน

Phlebitis Scale
Grade เกณฑท์ทางคลินิก Nursing Guideline
0 ไม่มีอาการใด ๆ สังเกตและติดตามตาแหน่งเข็มให้น้าเกลือ
1 ผิวหนังบริเวณที่ให้สารน้าแดงโดยอาจมีหรือไม่มี อาการปวด เปลี่ยนตาแหน่งเข็มให้น้าเกลือ และ เฝ้าติดตาม
2 ปวดบริเวณตาแหน่งที่แทงเข็มร่วมกับมีอาการแดง และ/หรือ บวม เปลี่ยนตาแหน่งเข็มให้ น้าเกลือ ประคบอุ่นเพื่อลดบวม และ
เฝ้าติดตาม
3 ปวดบริเวณตาแหน่งที่แทงเข็มรอวมกับมีอาการแดง 3,4 เปลี่ยนตาแหน่งเข็มให้น้าเกลือ ประคบอุ่นเพื่อลดบวม
เห็นหลอดเลือดเป็นแนวทางยาว (streak formation) รายงานแพทย์ รายงานอุบัติการณ์ และเฝ้าติดตาม
คลาแนวหลอดเลือดได้ (palpable venous cord)
4 ปวดบริเวณตาแหน่งที่แทงเข็มร่วมกับมีอาการแดง
เห็นหลอดเลือดเป็นแนวทางยาว
คลาแนวหลอดเลือดได้ยาวกว่า 1 นิ้ว หรือ มีหนอง

Extravasation Scale
Grade เกณฑท์ทางคลินิก Nursing Guideline
mild สีผิวซีด หรือชมพู ยังไม่พบ blister 1. หยุดการ infusion สารน้าและหามดึงเข็มออกทันที
อุณหภูมิผิวเย็น หรืออุ่น, บวมแบบกดไม่บุ๋ม, เคลื่อนไหว 2. ดูดสารละลายยาที่ทาใหเกิด extravasation ใหไดมากที่สุด
ได้จากัด 3.เอาเข็มออกและกดหยุดเลือด
มีอาการปวดเล็กน้อย ระดับคะแนนความปวด 1-3 3.ประคบร้อน 20 นาที ทุก 8 ชั่วโมง
คะแนน และ 5.ยกบริเวณที่ยารั่วหรือบวมสูงกว่าระดับหัวใจใน 24 ชั่วโมงแรก
อุณหภูมิกายปกติคือ 36.5-37.5 องศาเซลเซียส 5.ติดตามทุก 8 ชั่งโมงเป็นเวลา 2 วัน
moderate สีผิวแดงมากขึ้น หรือเริ่มเปลี่ยนแปลงเป็นสีม่วงคล้า, มี 1.ประเมินอาการแสดงทางผิวหนัง ให้การพยาบาลข้อ 1-5
blister เล็กน้อย, อุณหภูมิผิวร้อน, มีการบวมกดบุ๋ม, ตามลาดับ
เคลื่อนไหวได้จากัดมาก, มีความปวดคะแนน 3-5 อาจมี *ติดตามทุก 8 ชั่งโมงเป็นเวลา 2 วัน หากแผลยังไม่ดีขึ้น ติดตาม
ไข้มากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส ต่อวันละ 1 ครั้งเป็นเวลา 1 สัปดาห์
severe ลักษณะกลางแผลมีรอยดา, ผิวหนังรอบรอยดาซีด หรือ 1.ประเมินอาการแสดงทางผิวหนังให้การพยาบาล 1- 5 ตามลาดับ
แดง, มี blister ผิวหนังหลุดลอกลึกจนถึงชั้นไขมันใต้ *ติดตามทุก 8 ชั่วโมงเป็นเวลา 2 วัน หากแผลยังไม่ดีขึ้น ติดตาม
ผิวหนัง, มีเนื้อตาย และอาจลึกถึงกระดูก , อุณหภูมิ ผิว ต่อวันละ 1 ครั้งเป็นเวลา 1 สัปดาห์
ร้อนมาก, บวมมากหรือไม่มีความรู้สึกเคลื่อนไหวลาบาก, **อาการไม่ดีขึ้นใน 1 สัปดาห์ส่งต่อศัลยกรรม
มีอาการปวดระดับคะแนน 5-10 มีไข้อุณหภูมิร่างกา
มากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส

Pharmacist Note Nursing Notes


………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………

You might also like