You are on page 1of 13

Adrenaline คือ Epinephrine ใช้ในกรณีแพ้ยา หลอดลมตีบ หัวใจหยุดเต้น และสามารถใช้

ห้ามเลือดเฉพาะที่ได้ แต่ไม่สามารถใช้ในกรณี internal hemorrhage

** ให้ได้ทั้งแบบ SC IM IV IO หรือ intracardiac injection / Rate ที่แนะนำในกำรให้แบบ I.V. infusion = 1-10 mcg/min **

 ผู้ใหญ่ : กรณี Life-threatening anaphylaxis ขนาดเริ่มต้น 0.1-0.5 mg (0.1-0.5 mL) ฉีดเข้าใต้ผิวหนังหรือเข้ากล้าม ให้ซ้าได้ทุก 5-15 นาที
กรณีมี hypotension ให้ 0.1 mg I.V. อย่างช้าๆ ภายใน 5 -10 นาที ตามด้วย continuous infusion 1-10 mcg/min
 ทารกและเด็ก (ยกเว้น ทารกคลอดก่อนก้าหนด และ full-term infant) : กรณี bronchodilator 0.01 mg/kg ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ห้ามฉีดแบบ
single dose เกินครังละ 0.5 mg ให้ซ้าได้ทุก 20 นาที จ้านวน 3 ครัง
 ขนาดยาที่ทาให้เกิดพิษ : การเสียชีวิตจากการได้ยาเกินขนาด ขึนอยู่กับหลายปัจจัย มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิตจากขนาดยาที่ต่้ากว่า 10 mg I.V.
ในขณะที่มีผู้รอดชีวิตจากการใช้ยาขนาดสูงถึง 30 mg I.V. หรือ 110 mg S.C.

 I.V. infusion: เตรียมโดยผสม adrenaline 1 mg (1 amp.) ใน D5W หรือ NSS 250 mL จะได้ความเข้มข้น 4 mcg/mL
(dosage range 1-4 mcg/mL)
 I.V. direct injection: เตรียมโดยผสม adrenaline 1 mg (1 amp.) ใน NSS หรือ SWFI 9 mL จะได้ความเข้มข้น 100 mcg/mL
(dosage range 100–1000 mcg ฉีดทุก 5 -15 นาที ตามข้อบ่งใช้)
 ยาที่สามารถผสมเข้ากันได้ : dopamine, dobutamine, verapamil, amikacin และ furosemide
 ยาที่ไม่สามารถผสมเข้ากันได้ : aminophylline, sodium bicarbonate, alkaline solutions และ hyaluronidase
 ความคงตัว : ยานีเมื่อผสมในสารละลายใดๆ จะคงตัวได้ 24 ชั่วโมง ทังที่อุณหภูมิห้อง หรือในตู้เย็น
 การเก็บยา : เก็บแบบป้องกันแสง ที่อุณหภูมิไม่เกิน 25 องศาเซลเซียส ห้ามเก็บในช่องแช่แข็ง ไม่ควรใช้ยานีในกรณีที่ยาเปลี่ยนสีหรือตกตะกอน

 การบริหารยาแบบ I.V. infusion ต้องบริหารผ่านหลอดเลือดด้าใหญ่ โดยใช้ infusion pump


 หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้าหลอดเลือดแดงโดยตรงและการฉีดเข้ากล้ามเนือบริเวณสะโพก เนื่องจากอาจท้าให้หลอดเลือดตีบจนกล้ามเนือตายได้
 เริ่มให้ยาช้าๆ และปรับเพิ่มตามความจ้าเป็น โดยต้องติดตามการตอบสนองของผู้ป่วย เช่น ระดับ BP และ cardiovascular parameter ฯลฯ
 การหยุดยา ต้องค่อยๆ ปรับลดลง การหยุดยาแบบทันทีทันใด อาจท้าให้เกิด rebound hypotension
 เฝ้าดูอัตราการไหลของน้ายา และระวังอย่าให้น้ายารั่วจากหลอดเลือด อาจท้าให้เกิด tissue necrosis
 ตรวจวัด BP และชีพจรสม่้าเสมอ หรืออย่างน้อยทุก 15 นาที ในระยะ acute shock และขณะปรับยาอยู่ ซึ่งอาจต้องใช้ intra-arterial
monitoring

ภาวะที่ต้องติดตาม กรณีเกิดขึน ต้องปรึกษาแพทย์เพื่อพิจารณาหยุดยา หรือปรับขนาดยาลง


แล้วติดตาม vital sign (BP, HR) และ EKG อย่างใกล้ชิด
 ระดับ serum potassium ต่้า (potassium < 3.5 mEq/L หรือ 3.5 mmol/L)
 อัตราชีพจร > 100 ครัง/นาที หรือมีภาวะใจสั่น เจ็บหน้าอก restless, agitation
 บริเวณที่ฉีดยา เพื่อดู extravasation

 ควรรักษาภาวะ hypovolemia ก่อนให้ยา


 หากผู้ป่วยเกิดปวดศีรษะ ผู้ป่วยอาจมีความดันเลือดสูง เนื่องจากได้รับยามากเกินไป
Dexamethasone เป็น corticosteroids ใช้เป็นยาต้านการอักเสบและแก้แพ้ รักษาอาการ
แพ้ชนิดรุนแรงหรือเรื้อรัง เช่น หอบหืด แพ้ยา โรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง หรือกลุ่มโรค
autoimmune

 เด็ก 0.08 –0.3 mg/kg/day ฉีดเข้ากล้าม หรือเข้าหลอดเลือดด้า แบ่งให้ทุก 6 –12 ชั่วโมง


 ผู้ใหญ่ ฉีดวันละ 4 –20 mg เข้ากล้าม หรือเข้าหลอดเลือดด้า แบ่งให้ทุก 6 –12 ชั่วโมง

 ห้ามใช้ในคนที่เป็นแผล โรคติดเชือรา โรคติดเชือไวรัสบางชนิด ต้อหิน หรือคนที่แพ้ยากลุ่มนี


 ควรใช้เท่าที่จ้าเป็น อย่าพร่้าเพรื่อ อย่าใช้เป็นยาลดไข้ แก้ปวด หรือแก้อักเสบ โดยที่ยังไม่ทราบสาเหตุ
 ควรพิจารณาให้ยาลดกรดร่วมด้วย ในรายที่เสี่ยงต่อภาวะ peptic ulcer
 พิษในระยะสัน อาจท้าให้แผลก้าเริบ น้าตาลในเลือดสูง (อาจเป็นเบาหวานได้) ลดภูมติ ้านทานของร่างกาย ท้าให้ติดเชือ (เช่น วัณโรค ปอด
อักเสบ) ได้ง่าย
 พิษในระยะยาว ท้าให้บวม กระดูกผุหักง่าย แผลหายช้า มีจ้าเขียวขึนตามผิวหนัง เกลือแร่ในร่างกายเสียความสมดุล เป็นต้อกระจก ต้อหิน
ความดันโลหิตสูง หน้าบวม มีหนวดขึน เป็นโรคสิว โรคจิตประสาท
 ผูป้ ่วยที่ใช้สเตียรอยด์ติดต่อกันนานๆ เมื่ออาการดีขึนต้องค่อยๆ ลดขนาดของยาลงทีละน้อย เพื่อให้ต่อมหมวกไตค่อยๆ ฟื้นตัวขึน หากหยุดยา
ทันทีโดยที่ต่อมหมวกไตยังฟื้นตัวไม่ดี ก็อาจเกิดอันตรายถึงตายได้ เนื่องจากภาวะวิกฤติจากต่อมหมวกไตฝ่อ
 ควรระมัดระวังในการใช้ในผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ไตวาย ความดันโลหิตสูง เบาหวาน กระดูกผุ แผลหายช้า ติดเชือง่าย

 อาจท้าให้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
 โรค peptic ulcer peptic ulcer peptic ulcer peptic ulcer peptic ulcer peptic ulcer peptic ulcer peptic ulcer ก้าเริบ
 บวม
 กระดูกผุ
 แผลหายช้า
 ติดเชือง่าย
การบรรเทาอาการแพ้ทันที (ที่ไม่ใช่ Anaphylactic shock)

ให้ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง (I.V.) เข้ากล้ามเนือ (I.M.) หรือ เข้าหลอดเลือดด้าอย่างช้าๆ (I.V. infusion) ขนาด 10-20 มิลลิกรัม โดยให้ผู้ป่วย
อยู่ในท่านอนราบ ถ้าจ้าเป็นอาจให้ได้สูงสุดไม่เกิน 40 มิลลิกรัม ใน 24 ชั่วโมง

 ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ยา หรือส่วนประกอบของยานี
 ยานีอาจท้าให้เกิดอาการง่วงซึม ไม่ควรขับขี่ยานยนต์ หรือท้างานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล
 ไม่ควรใช้ในเด็กแรกเกิด หรือหญิงในระยะให้นมบุตร เพราะยาถูกขับออกทางน้านม นอกจากนีฤทธิ์ของยาอาจยับยังการหลั่งน้านมด้วย
 ไม่ควรใช้ในการรักษาโรคทางเดินหายใจส่วนล่างและโรคหืด เพราะฤทธิย์ าท้าให้น้าคัดหลั่งเหนียวหนืด ท้าให้เสมหะขับยาออกมา
 เก็บยานีไว้ที่อุณหภูมิ 8-15 องศาเซลเซียส และอย่าให้ยาถูกแสงสว่าง

 อาการสงบระงับ ท้าให้ง่วงจนถึงหลับ
 อาจท้าให้ มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ท้องผูก ปวดศีรษะ สายตาพร่า หูอือ กระวนกระวาย ฝันร้าย
ใช้ในกรณีที่ต้องการพลังงานอย่างรวดเร็ว ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีภาวะ Severe hypoglycemia
และภาวะ Acute alcoholic intoxication เป็นต้น

Intravenous (IV) :
 Bolus : Peripheral venous access (PVA) : Up to 12.5%
Central venous access (CVA) : Up to 25%
 Intermittent Infusion : Peripheral venous access (PVA) : Up to 12.5%
Central venous access (CVA) : Up to 25%
 Continuous Infusion : Peripheral venous access (PVA) : Up to 12.5%
Central venous access (CVA) : Up to 25%
 Rate : ไม่แน่นอน

 ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะ Diabetic Coma ผู้ป่วยที่ไม่ถ่ายปัสสาวะ (Anuria) ผู้ป่วยที่มีเลือดออกในสมอง (Intracranial hemorrhage) และ


ผู้ป่วยที่มี เลือดออกในไขสันหลัง (Intraspinal hemorrhage)
 การให้แบบ IV Infusion ต้องให้ช้าๆ ผ่านทางเส้นเลือดด้าขนาดใหญ่ (Central Vein)
 Rate of infusion < 0.5 g/kg/hr เพื่อหลีกเลี่ยงภาวะ glycosuria (ปัสสาวะมีน้าตาลมากผิดปกติ)
 อาการข้างเคียง : อาจเกิดอาการเจ็บปวด ระคายเคืองเส้นเลือด หลอดเลือดด้าอักเสบตรงบริเวณที่ให้ยา เกิดอาการไม่สมดุลของน้าและเกลือแร่
ในร่างกาย บวม และโพแทสเซียมในเลือดต่้า

 ไม่ควรผสมร่วมกับ Whole blood


 อาจท้าให้รู้สึกร้อนในตัว ระคายเคือง เกิดภาวะน้าตาลในเลือดสูง และปัสสาวะมีสีน้าตาลมากกว่าปกติ
 ถ้าเครื่องมือฉีดยาไม่สะอาด อาจท้าให้มีอาการหนาวสั่น หรือหลอดเลือดด้าอักเสบ (Thrombophlebitis) ได้
Isosorbide dinitrate 5 mg sublingual tablets เป็นยาชนิดอมใต้ลิ้น จะช่วยให้การดูดซึมและการออกฤทธิ์ของยาเร็วขึน โดยเมื่ออมใต้ลิน
(วางยาใต้ลินระหว่างริมฝีปากล่างและเหงือก) ยาจะถูกดูดซึมผ่านเยื่อบุผนังใต้ลินและจะเริ่มออกฤทธิ์ใน 3 นาที (ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ อาจอยู่
ระหว่าง 2 – 5 นาที) และมีฤทธิ์อยู่ได้นานประมาณ 2 ชม. (ช่วงเวลาอาจอยู่ระหว่าง 1 – 3 ชั่วโมง)

เมื่อมีอาการปวดเค้นหน้าอกอย่างเฉียบพลัน [ angina pectoris ]


 ส้าหรับยาอมใต้ลิน ควรนั่งลงระหว่างอมยา เนื่องจากยาอาจท้าให้ความดันโลหิตต่้า เกิดอาการเวียนศีรษะ หน้ามืดเมือ่ เปลี่ยนอิริยาบถได
ให้อมใต้ลิน และปล่อยให้ยาละลายอย่างช้าๆ
 ไม่ควร เคียวขบ หรือ กลืนยา
 หลีกเลี่ยง การกิน ดื่ม หรือสูบบุหรี่ ี่ระหว่างอมยา
 หากอมยาไป 5 นาทีแล้วอาการไม่ดีขึน ให้อมยาอีก 1 เม็ด และให้ซ้าได้อีกครังใน 5 นาที แต่ถ้าหากอมยาครบแล้ว 3 ครัง อาการปวดหน้าอกยัง
ไมทุเลา ต้องรีบไปโรงพยาบาล เพื่อพบแพทย์ (รวมทั้งหมดไม่เกิน 3 เม็ด)

** ทังนีพบว่าการใช้ยา Isosorbide dinitrate ในรูปแบบอมใต้ลินอาจมีการดูดซึมยาเข้าสูก่ ระแสเลือด [Bioavailability] ลดลง เนือ่ งจากผู้ป่วย


กลืนยาบางส่วนที่ละลายออกมาจากเม็ดยาขณะที่อมใต้ลิน **
Atropine sulfate เป็น Cardiac stimulant excluding cardiac glycosides ใช้รักษา
ภาวะหัวใจเต้นช้าผิดจังหวะ ความดันโลหิตลดลงจากการกระตุ้นระบบประสาท
parasympathetic

** ให้ได้ทั้งแบบ S.C. I.M. และ I.V. **

 1 mg ฉีดเข้าทางเส้นเลือดด้าช้าๆ และให้ซ้าได้ 3 –5 นาที หากยังไม่ตอบสนอง แต่ไม่เกิน 3 mg


 กรณีหัวใจเต้นช้า อาจให้ขนาด 0.5 –1 mg ซ้าได้ทุก 3 –5 นาที ขนาดโดยรวมไม่เกิน 3 mg
 หรือ 0.04 mg ต่อน้าหนักตัว 1 kg

 I.V. bolus: undiluted or dilute 1-10 mL, rate : over 15-30 sec.
 I.V. continuous infusion: 0.1-1.2 mg/1 mL
 สารละลายที่ใช้ได้ Sterile water for Injection (SWFI)

 ติดตาม vital sign, pulse rate, BP, mental status


 ไม่ควรให้ถ้า HR > 60 BPM
 รายงานแพทย์เมื่อ HR > 120 BPM โดย monitor HR ทุก 5 min

 ปากแห้ง ตาพร่ามัว
 ปัสสาวะคั่ง
 หัวใจเต้นช้า
 ชีพจรเต้นเร็ว
 รูม่านตาขยาย และการปรับภาพเสีย
Furosemide เป็น diuretic ใช้ขับปัสสาวะเพื่อลดอาการบวม เพิ่มการขับแคลเซียมออกทาง
ไต เพื่อรักษาภาวะแคลเซียมในเลือดสูง

 ฉีดเข้า I.V. หรือ I.M. ขนาดเริ่มต้น 20 –40 mg เพิ่มขนาดยาได้ครังละ 20 mg


 ห้ามให้ยานีในผู้ป่วยที่แพ้ยา Sulfonamide
 มักให้ทางหลอดเลือดด้ามากกว่าฉีดเข้ากล้าม โดยต้องฉีดช้าๆ ในเวลาไม่ต่้ากว่า 1 –2 นาที กรณีให้ในขนาดสูงควรหยดเข้าหลอดเลือดด้าใน
อัตราเร็ว ไม่เกิน 4 mg/นาที

 blood pressure
 electrolyte
 blood sugar
 BUN
 ระดับ calcium

 เบื่ออาหาร
 ตาพร่า
 ท้องเสีย
 มึนงง
 ความดันโลหิตต่้า
 blood volume ลดลง

You might also like