You are on page 1of 45

๑-๑

ภาคที่ ๑
ภารกิจ การจัด ขีดความสามารถ และข้อจากัด
ทาความเข้าใจ : ในภาคที่ ๑ ของสรุปหลักพื้นฐานทางวิชาการชุดที่ ๑ เรื่องทหารราบนี้จะกล่าวถึง
ภารกิจ การจัด ขีดความสามารถ และข้อจากัดของกองพลทหารราบชนิดต่างๆ ใน ทบ.ไทย
ทั้งที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และแนวความคิดในการปรับปรุงกองพลทหารราบของกองทัพบก ซึ่ง
จะปรับปรุงโครงสร้างการจัด พล.ร.ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในการรบ โดยจะปรับปรุง
โครงสร้างการจัดออกเป็นสาม รูปแบบ คือ พล.ร.ยานเกราะ พล.ร.ยานยนต์ และ พล.ร.เบา
และเพื่อมิให้เกิดการสับสนในการศึกษาทาความเข้าใจ จึงแบ่งภาคที่ ๑ นี้ออกเป็น ๕ ตอน คือ
ตอนที่ ๑ : กล่าวทั่วไป
ตอนที่ ๒ : กองพลทหารราบ
ในตอนนี้จะกล่าวถึงกองพลทหารราบมาตรฐานทั่ว ๆ ไปซึ่งมีรูปแบบการจัดตามที่มีใช้อยู่ใน
ปัจจุบัน เช่น กองพลที่ ๑ รักษาพระองค์, กองพลทหารราบที่ ๓, ๔, ๕, ๖,๑๑ เป็นต้น คาย่อ
ที่ใช้ในเอกสารเล่มนี้จะใช้คาว่า "พล.ร."
ตอนที่ ๓ : กองพลทหารราบยานเกราะ
เป็นรูปแบบการจัดกองพลทหารราบ เพื่อให้มีความทันสมัยพร้อมที่จะรับสถานการณ์ได้ทุก
รูปแบบ สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็ว ปฏิบัติการรุกได้อย่างทันที สอดคล้องกับรูปแบบ
ของสงครามในอนาคต รวมทั้งสงครามนิวเคลียร์ ชีวะ เคมีด้วย ปัจจุบันหน่วยที่มีรูปแบบการ
จัดคือ พล.ร.๒ รอ. คาย่อที่ใช้ในเอกสารเล่มนี้จะใช้คาว่า "พล.ร.ยก."
ตอนที่ ๔ : กองพลทหารราบยานยนต์
เป็นรูปแบบการจัดกองพลทหารราบในอนาคต มุ่งหมายที่จะจัดให้เป็น พล.ร.มาตรฐาน ที่มีขีด
ความสามารถในการ เข้าตี ตั้งรับ และร่นถอยได้อย่างมีประสิทธิภาพ คาย่อที่ใช้ในเอกสาร
เล่มนี้จะใช้คาว่า "พล.ร.ยย."
ตอนที่ ๕ : กองพลทหารราบเบา
เป็นรูปแบบการจัดกองพลทหารราบ โดยมีความมุ่งหมายที่จะใช้ตอบสนอง ในการรักษา
ผลประโยชน์ของชาติในด้านการรักษาความมั่นคงภายใน การป้องกันประเทศ และภารกิจ
อืน่ ๆ ตามความเหมาะสม ปัจจุบันหน่วยที่มีการจัดรูปแบบนี้ ได้แก่ พล.ร.๗,๙และ ๑๕ คาย่อ
ที่ใช้ในเอกสารเล่มนี้ จะใช้คาว่า "พล.ร.เบา"
๑-๒

ตอนที่ ๑
กล่าวทั่วไป

ทหารราบเป็นหน่วยที่ปฏิบัติการโดยการเข้าประชิด ใช้อานาจการยิง และการดาเนิน กลยุทธ์ เข้า


ทาลายกาลังข้าศึก หรือเข้ายึดภูมิประเทศ ควบคุมประชาชนและทรัพยากรในพื้นที่ที่ยึดได้ ในการป้องกันและ
รักษาภูมิประเทศที่ยึดได้ ทหารราบจะใช้การผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วย การยิง การรบประชิด และการ
ตีโต้ตอบ
ภารกิจโดยทั่วไปของทหารราบ คือ การเข้าประชิดข้าศึกโดยใช้อานาจการยิงและการดาเนินกลยุทธ์
เพื่อทาลายและจับข้าศึก ผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิง การรบประชิด และการตีโต้ตอบ
ในหน่ ว ยระดั บ กรมทหารราบขึ้ น ไป นอกจากภารกิ จ ในการท าลายก าลั ง ข้ า ศึ ก แล้ ว จะมี ขี ด
ความสามารถในการควบคุมพื้นที่ ประชาชน และทรัพยากรในพื้นที่ด้วย ทหารราบมีขีดความสามารถปฏิบัติการ
รบได้ทุกสภาพภูมิประเทศและลมฟ้าอากาศ สามารถใช้อานาจการทาลายและข่มขวัญได้เมื่อใช้ทหารราบยาน
เกราะ และ/หรือ ร่วมกับรถถัง
หน่วยทหารราบ นอกจากมีภารกิจในการรบซึ่งเป็นภารกิจหลักแล้ว ยังมีบทบาทในการปฏิบัติภารกิจ
อื่น ๆ อี ก เช่ น การป้ อ งกั น และการปราบปรามการก่ อ ความไม่ ส งบ การรักษาความสงบเรี ยบร้อ ยภายใน
ตลอดจนภารกิจในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการเพื่อเสถียรภาพ
การจัดหน่วยทหารราบโดยทั่วไปจะมีการจัดเป็นส่วนบังคับบัญ ชา, ส่วนกาลังรบ และส่วนสนับสนุน
การรบ ในหน่ วยที่ มีขนาดใหญ่ ตั้ งแต่ก องพั น ขึ้น ไปจะมีการจัด ครบทั้ง ๕ ส่ วน คือ ส่วนบัง คับ บัญ ชา, ส่ว น
ลาดตระเวนและข่าวกรอง, ส่วนกาลังรบ, ส่วนสนับสนุนการรบ และส่วนสนับสนุนการช่วยรบ
ในปัจจุบันกองพลทหารราบของ ทบ.ไทย มีจานวนทั้งสิ้น ๑๐ พล.ร. ได้แก่
๑. พล.๑ รอ.
๒. พล.ร.๒ รอ.
๓. พล.ร.๓
๔. พล.ร.๔
๕. พล.ร.๕
๖. พล.ร.๖
๗. พล.ร.๗
๘. พล.ร.๙
๙. พล.ร.๑๑
๑๐. พล.ร.๑๕

ตอนที่ ๒
กองพลทหารราบ
การจัด พล.ร.(อจย.๗-๒ ลง๕ ม.ค.๓๓) ประกอบด้วย
- กองบัญชาการ และกองร้อยกองบัญชาการกองพล (บก.และ ร้อย บก.พล.)
- ๑ กองพันทหารสื่อสารกองพล (พัน.ส.พล.)
๑-๓

- ๑ กองพันทหารช่างสนามกองพล (พัน.ช.พล.)
- ๑ กองร้อยทหารสารวัตรกองพล (ร้อย.สห.พล.) (ปัจจุบันปรับโครงสร้างหน่วยจัดพัน.สห.ทภ.)
- ๑ กองทหารพลาธิการกองพล ( กอง พธ.พล.)
- ๑ กองสรรพาวุธเบากองพล (กอง สพบ.พล.)
- ๑ กองพันเสนารักษ์กองพล (พัน.สร.พล.)
- ๑ กองร้อยบินกองพล (ร้อย.บ.พล.) (ปัจจุบันปรับโครงสร้างหน่วยจัดตั้งพัน.บ.)
- ๑ กองร้อยลาดตระเวนระยะไกล (ร้อย.ลว.ไกล)
- ๑ กองร้อยทหารม้าลาดตระเวน (ร้อย.ม.ลว.) (พล.๑ รอ., พล.ร.๓, พล.ร.๔, พล.ร.๕
- และ พล.ร.๖) หรือ ๑ กองพันทหารม้าลาดตระเวน (พัน.ม.ลว.) (พล.ร.๒ รอ. พล.ร.๙ และ
พล.ร.๑๕)
- ๑ กองพันรถถัง (พัน.ถ.)
- ๑ กรมทหารปืนใหญ่ (กรม ป.)
- ๓ กรมทหารราบ (กรม ร.)
หน่วยที่เป็นส่วนกาลังรบของกองพล ได้แก่
- ๓ กรม ร.
- พัน.ถ.
- ร้อย.ม.ลว. หรือ พัน.ม.ลว.
- ร้อย.ลว.ไกล. (ใช้ในการลาดตระเวนหาข่าวเป็นหลัก)
หน่วยที่เป็นส่วนสนับสนุนการรบของกองพล ได้แก่
- กรม ป.
- พัน.ช.พล.
- พัน.ส.พล.
- ร้อย.บ.พล.
หน่วยที่เป็นส่วนสนับสนุนการช่วยรบของกองพล ได้แก่
- กอง พธ.พล.
- กอง สพบ.พล.
- พัน.สร.พล.
- ร้อย.สห.พล.
- ร้อย.บ.พล.
- พัน.ช.พล.
- พัน.ส.พล.
หน่วยในอัตราการจัดของ พล.ร. ที่เป็นทั้งส่วนสนับสนุนการรบ และสนับสนุนทางการช่วยรบ ได้แก่
- พัน.ช.
- พัน.ส.
- ร้อย.บ.
ภารกิจของกองพลทหารราบ คือ ทาลายกาลังข้าศึก ควบคุมพื้นที่ทางบก รวมทั้งประชาชน และ
ทรัพยากร
๑-๔

การแบ่งมอบ : เป็นหน่วยของ ทบ. ซึ่งทบ.สามารถแบ่งมอบให้ขึ้นการบังคับบัญชากับหน่วย ใด ๆ ก็ได้


ตามความเหมาะสม
ขีดความสามารถ
ก. ปฏิบตั ิการรบต่อกาลังทางพื้นดินของข้าศึกที่มียุทโธปกรณ์คล้ายคลึงกัน หรือ
ด้อยกว่า อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน
ข. ปฏิบัติการได้ในสภาพอากาศและภูมิประเทศที่ยากลาบาก
ค. ปฏิบัติการได้ด้วยการสนับสนุนทางการส่งกาลังบารุงอันจากัด
ง. ควบคุมประชาชนฝ่ายข้าศึกได้
จ. ปฏิบัติการฟื้นฟูและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยในพื้นที่
ฉ. สามารถควบคุมหน่วยดาเนินกลยุทธ์ขนาดกองพันได้ ๑๐ กองพัน
ขีดจากัด
ก. ไม่มีขีดความสามารถของการขนส่งทางอากาศด้วยเครื่องมือในอัตรา
ข. มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่จากัด
ค. มีขีดความสามารถในการป้องกันและต่อสู้ยานเกราะจากัด
กองบัญชาการกองพล มีภารกิจในการบังคับบัญชา ควบคุม และดาเนินการทางธุรการของกองพล
และหน่วยที่มาขึน้ สมทบ
ภายในกองบัญชาการกองพล ประกอบด้วยฝ่ายต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ คือ ฝ่ายกาลังพล, ฝ่ายการข่าว,
ฝ่ายยุทธการ, ฝ่ายส่งกาลังบารุง, ฝ่ายกิจการพลเรือน, ฝ่ายสารบรรณ, ฝ่ายการบิน, ฝ่ายการแพทย์, ฝ่าย
อนุศาสนาจารย์, ฝ่ายการเงิน, ฝ่ายสวัสดิการ, ฝ่ายการจเร, กองบังคับการ, ฝ่ายสรรพาวุธ, ฝ่ายพลาธิการ,ฝ่าย
การสารวัตร, ฝ่ายพระธรรมนูญ, ศาลทหาร, อัยการทหาร, ผู้บังคับทหารปืนใหญ่, ผู้บังคับทหารช่าง และผู้
บังคับทหารสื่อสาร
สาหรับผู้บังคับทหารปืนใหญ่, ผู้บังคับทหารช่าง และผู้บังคับทหารสื่อสาร จัดจากหน่วยขึ้น
ตรงของกองพล คือ ผบ.กรม ป., ผบ.พัน.ช. และ ผบ.พัน.ส ตามลาดับ

กองร้อยกองบัญชาการกองพล มีภารกิจในการสนับสนุนทางธุรการและการบริการแก่กองบัญชาการ
กองพล หน่วยขึ้นตรงของกองร้อยกองบัญชาการกองพล จะประกอบด้วย
- กองบังคับการกองร้อย
- มว.สูทกรรม
- มว.ขนส่ง
- มว.ป้องกัน
- มว.เสนารักษ์

กรมทหารราบ ตาม อจย.๗ – ๑๑(ลง ๒๕ มิ.ย.๒๕) ของ ทบ.ไทย ประกอบด้วย


- กองบังคับการ และกองร้อยกองบังคับการ (บก.และ ร้อย.บก.)
- ๑ กองร้อยเครื่องยิงหนัก (ร้อย.ค.หนัก)
- ๑ กองร้อยรถสายพานลาเลียงพล (ร้อย.รสพ.)
- ๑ หมวดต่อสู้รถถัง (มว.ตถ.)
- ๓ กองพันทหารราบ (พัน.ร.)
๑-๕

ภารกิจ ของกรมทหารราบตาม อจย. คือ ทาลายกาลังรบของข้าศึก เข้ายึดและควบคุมภูมิประเทศ


รวมทั้งประชาชนและทรัพยากรในพื้นที่
การแบ่งมอบ เป็นหน่วยในอัตราของกองพลทหารราบ
ขีดความสามารถ
ก. ควบคุม บังคับบัญชา และดาเนินการทางธุรการ ต่อกองพันทหารราบ และ หน่วยทหารใน
อัตรา ในการปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุก และการรบด้วยวิธีรับ รวมทั้งการปราบปรามการก่อความไม่สงบ
ข. ปฏิบัติการรบอย่างต่อเนื่อง ต่อกาลังรบของข้าศึกที่มีอาวุธยุทโธปกรณ์อย่าง
เดียวกั น หรือต่ ากว่า ภายในกรอบของกองพล หรือปฏิ บั ติการเป็ นอิ สระเมื่ อได้ รับการเพิ่ม เติม กาลัง อย่ าง
เหมาะสม
ค. ปฏิบัติการในพื้นที่ที่มีภูมิประเทศ หรือสภาพอากาศยากลาบาก
ง. เข้าควบคุมประชากรในดินแดนที่ยึดได้
จ. ฟื้นฟูความเป็นระเบียบเรียบร้อยในพื้นที่ที่ยึดได้
การจัดกองบังคับการและกองร้อยกองบังคับการ (บก.และร้อย.บก.) ตาม อจย.๗-๑๒(ลง ๒๕ มิ.ย.๒๕)
ประกอบด้วย
ก. กองบังคับการกรม ประกอบด้วย ผู้บังคับบัญชา, ฝ่ายอานวยการ และฝ่ายกิจการพิเศษ
จานวน ๒๔ นาย ดังนี้
- ผู้บังคับการกรม (พ.อ.(พ)) ๑ นาย
- รองผู้บังคับการกรม (พ.อ.) ๒ นาย
- เสนาธิการกรม (พ.อ.) ๑ นาย (เหล่า สธ.)
- รองเสนาธิการกรม (พ.ท.) ๑ นาย (เหล่า สธ.)
- นายทหารฝ่ายธุรการและกาลังพล (พ.ต.) ๑ นาย
- ผู้ช่วยนายทหารฝ่ายธุรการและกาลังพล (ร.อ.) ๑ นาย
- นายทหารฝ่ายการข่าว (พ.ต.) ๑ นาย
- ผู้ช่วยนายทหารฝ่ายการข่าว (ร.อ.) ๑ นาย
- นายทหารฝ่ายยุทธการ (พ.ต.) ๑ นาย (ถ้าบรรจุผู้สาเร็จจาก
รร.สธ.ทบ. หลักสูตรหลัก ประจา ให้ถือ
เป็นอัตรา ฝสธ.)
- ผู้ช่วยนายทหารฝ่ายยุทธการ (ร.อ.) ๒ นาย
- ผู้ช่วยนายทหารฝ่ายยุทธการฝ่ายอากาศ (ร.อ.) ๑ นาย
- นายทหารฝ่ายส่งกาลังบารุง (พ.ต.) ๑ นาย
- ผู้ช่วยนายทหารฝ่ายส่งกาลังบารุง (ร.อ.) ๑ นาย
- นายทหารฝ่ายการสื่อสาร (ร.อ.) ๑ นาย
- อนุศาสนาจารย์ (ร.อ.) ๑ นาย (เหล่า สบ.)
- นายทหารกระสุน (ร.อ.) ๑ นาย
- นายทหารฝ่ายการเงิน (พ.ต.) ๑ นาย (เหล่า กง.)
- นายทหารพระธรรมนูญ (ร.อ.) ๑ นาย (เหล่า ธน.)
- นายทหารพระธรรมนูญผู้ช่วย (ร.ท.) ๑ นาย (เหล่า ธน.)
- นายทหารแผนที่ (ร.อ.) ๑ นาย (เหล่า ผท.)
- ผู้ช่วยนายทหารแผนที่ (ร.ท.) ๑ นาย (เหล่า ผท.)
๑-๖

- นายแพทย์ (พ.ต.) ๑ นาย (เหล่า พ.)


หมายเหตุ ผช.ฝกพ. ทาหน้าที่นายทหารฝ่ายการทะเบียนศพด้วย ผช.ฝยก. ทาหน้าที่นายทหาร
ปจว. และนายทหารประชาสัมพันธ์ด้วย นายแพทย์ จะทาหน้าที่ ผบ.มว.สร.ด้วย
ข. กองร้อยกองบังคับการ ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
- บก.ร้อย
- ตอน บก.กรม
- ตอน นตต.
- มว.สื่อสาร ประกอบด้วย บก.มว., ตอนวิทยุ, ตอนทางสาย
- มว.ระวังป้องกัน ประกอบด้วย บก.มว., หมู่อาวุธ, ๓ หมู่ ปล.
- มว.ยานยนต์
- มว.เสนารักษ์ ประกอบด้วย ตอนที่พยาบาล, ตอนเปล, ตอนรถพยาบาล, ตอน ทันตกรรม
กองร้อยเครื่องยิงหนัก มีภารกิจในการจัดเครื่องยิงหนักช่วยหน่วยต่าง ๆ ของ กรม ร. โดยใกล้ชิด
ร้อย.ค.หนัก มีขีดความสามารถตามที่ระบุไว้ใน อจย. ดังนี้
ก. สามารถเคลื่อนย้ายบนเส้นทางถนนได้รวดเร็ว แต่มีความคล่องแคล่วจากัด ใน
ขณะเคลื่อนที่นอกเส้นทาง
ข. สามารถเข้าที่ตั้งยิงและเปลี่ยนที่ตั้งยิงได้อย่างรวดเร็ว
ค. การระวังป้องกันที่ตั้งตนเอง ทาได้อย่างจากัด
ง. สามารถยิงสนับสนุนอย่างรุนแรงได้ในระยะเวลาสั้นเนื่องจากจากัดในเรื่องการ
ลาเลียง กระสุน
การจัด ร้อย.ค.หนัก กรม ร. (ตาม อจย.๗ - ๑๔) ประกอบด้วย
- บก.ร้อย แบ่งออกเป็น ๓ ตอน คือ ตอน บก.ร้อย มี ผบ.ร้อย, รอง ผบ.ร้อย
และเจ้าหน้าที่
- ธุรการต่าง ๆ โดยที่ รอง ผบ.ร้อย จะทาหน้าที่นายทหารลาดตระเวนด้วย, ตอน
ยุทธการและอานวยการยิง มีนายทหารอานวยการยิงรับผิดชอบในการจัดตัง้ ศูนย์อานวยการยิง, ตอนสื่อสาร
- ๓ มว.ค.หนัก แต่ละมว.จะมี ผบ.มว., ผู้ตรวจการณ์หน้า และนายสิบติดต่อ ซึ่ง
จะไปประจาตาม พัน.ร.ต่าง ๆ ในการทาแผนการยิงสนับสนุน นอกจากนี้ แต่ละมว.จะมี ๔ หมู่ ค.หนัก (การ
จัดกาลังในยามปกติจะจัดเพียง มว.ละ ๓ หมู)่ แต่ละหมู่ ค.หนัก จะมีกาลังพล ดังนี้ คือ ผบ.หมู,่ พลยิง, พล
ยิงผู้ช่วย, พลขับ และพลกระสุน ๔ นาย
เครื่องยิงลูกระเบิดที่ใช้ในร้อย ค.หนัก คือ เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๔.๒ นิ้ว หรือ ค.
ขนาด ๑๒๐ มม. จานวน ๑๒ กระบอก ใช้ลาเลียงบน รยบ. ๑ ๑/๔ ตัน พร้อมรถพ่วง
สาหรับ ค. ๑๒๐ มม. สามารถใช้การลากจูงได้

กองร้อยรถสายพาน (ร้อย.รสพ.) มีภารกิจ คือ ปฏิบัติการในภารกิจรบ และเตรียมการในด้านการ


ลาเลียงพล ร้อย.รสพ. มีขีดความสามารถ ดังนี้
ก. สามารถทาการรบเป็นส่วนหนึ่งของชุดทหารราบยานเกราะ
ข. สามารถทาการลาเลียงพลหนึ่งกองร้อยอาวุธเบาได้
การจัด ร้อย.รสพ. ตาม อจย.๗ - ๑๙ ประกอบด้วย
- บก.ร้อย
- ตอนซ่อมบารุง
๑-๗

- ๓ มว.รสพ. แต่ละ มว. จะมี รสพ. จานวน ๕ คัน รสพ. ๑ คัน สามารถบรรทุก
ทหารราบได้ ๑ หมู่ ปล. ดังนั้น ๑ มว.รสพ. จะบรรทุกทหารราบได้ ๑ มว.ปล.
ยุทโธปกรณ์ที่สาคัญ ในร้อย รสพ.กรม ร. จะมี รสพ.จานวน ๑๖ คัน เท่ากับจานวนรถถัง ใน ๑
กองร้อยรถถัง เพื่อให้สามารถปฏิบัติการรบร่วมกันได้ รสพ.แต่ละคันจะติดตั้ง ปก.๙๓ (ขนาด .๕๐ นิ้ว) จานวน
๑ กระบอก และ ปก.เอ็ม.๖๐ จานวน ๒ กระบอก ในแต่ละมว. รสพ.จะติดตั้งชุดเปลพยาบาล ๑ ชุด
หมวดต่อสู้รถถัง (มว.ตถ.) มีภารกิจ คือ ทาการต่อสู้และป้องกันรถถังให้กับหน่วยในระดับกรมทหาร
ราบ มว.ตถ. มีขีดความสามารถ ดังนี้
ก. สามารถทาลายรถถังข้าศึก
ข. ป้องกันรถถังของข้าศึกด้วยการใช้ทุ่นระเบิดดักรถถัง
ค. มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่ได้ ๑๐๐ %
การจัด มว.ตถ. ประกอบด้วย
- บก.มว.
- ๑ ตอนต่อสู้รถถัง (ตอน ตถ.) ซึ่งประกอบด้วย บก.ตอน และ ๓ หมู่ ตถ.
- ๑ ตอนวางระเบิดดักรถถัง ประกอบด้วย บก.ตอน และ๓ หมู่วางระเบิดดักรถถัง
อาวุธหลักของ หมู่ ตถ. คือ ปรส. ขนาด ๑๐๖ มม. ติดตั้งบน รยบ.๑/๔ ตัน สาหรับหมู่วางระเบิดดัก
รถถัง นอกจากจะมีขีดความสามารถวางระเบิดดักรถถังแล้ว ยังมีขีดความสามารถในการตรวจค้นทุ่นระเบิดได้
อีกด้วย เพราะแต่ละหมู่มีเครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิดทั้งชนิดโลหะและ อโลหะ อย่างละ ๑ เครื่อง

กรมทหารราบ ตาม อจย.๗ – ๑๑(ลง ๒๕ ก.พ.๕๒) ของ ทบ.ไทย ประกอบด้วย


- กองบังคับการ และกองร้อยกองบังคับการ (บก.และ ร้อย.บก.)
- ๑ กองร้อยเครื่องยิงหนัก (ร้อย.ค.หนัก)
- ๑ กองร้อยรถสายพานลาเลียงพล (ร้อย.รสพ.)
- ๑ หมวดต่อสู้รถถัง (มว.ตถ.)
- ๓ กองพันทหารราบ (พัน.ร.)
ภารกิจ ของกรมทหารราบตาม อจย. คือ ทาลายกาลังรบของข้าศึก เข้ายึดและควบคุมภูมิประเทศ
รวมทั้งประชาชนและทรัพยากรในพื้นที่
การแบ่งมอบ เป็นหน่วยในอัตราของกองพลทหารราบ
ขีดความสามารถ
ก. ควบคุม บังคับบัญชา และดาเนินการทางธุรการ ต่อกองพันทหารราบ และ หน่วยทหารใน
อัตรา ในการปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุก และการรบด้วยวิธีรับ รวมทั้งการปราบปรามการก่อความไม่สงบ
ข. ปฏิบัติการรบอย่างต่อเนื่อง ต่อกาลังรบของข้าศึกที่มีอาวุธยุทโธปกรณ์อย่าง
เดียวกัน หรือต่ากว่า ภายในกรอบของกองพล หรือปฏิบัติการเป็นอิสระเมื่อได้รับการเพิ่มเติมกาลังอย่าง
เหมาะสม
ค. ปฏิบัติการในพื้นที่ที่มีภูมิประเทศ หรือสภาพอากาศยากลาบาก
ง. เข้าควบคุมประชากรในดินแดนที่ยึดได้
จ. ฟื้นฟูความเป็นระเบียบเรียบร้อยในพื้นที่ที่ยึดได้
การจัดกองบังคับการและกองร้อยกองบังคับการ (บก.และ ร้อย.บก.) ตามอจย.๗-๑๒
ประกอบด้วย
๑-๘

ก. กองบังคับการกรม ประกอบด้วย ผู้บังคับบัญชา, ฝ่ายอานวยการ และฝ่ายกิจการพิเศษ


จานวน ๒๔ นาย ดังนี้
- ผู้บังคับการกรม (พ.อ.(พ)) ๑ นาย
- รองผู้บังคับการกรม (พ.อ.) ๒ นาย
- เสนาธิการกรม (พ.อ.) ๑ นาย (เหล่า สธ.)
- รองเสนาธิการกรม (พ.ท.) ๑ นาย (เหล่า สธ.)
- นายทหารฝ่ายธุรการและกาลังพล (พ.ต.) ๑ นาย
- ผู้ช่วยนายทหารฝ่ายธุรการและกาลังพล (ร.อ.) ๑ นาย
- นายทหารฝ่ายการข่าว (พ.ต.) ๑ นาย
- ผู้ช่วยนายทหารฝ่ายการข่าว (ร.อ.) ๑ นาย
- นายทหารฝ่ายยุทธการ (พ.ต.) ๑ นาย (ถ้าบรรจุผู้สาเร็จจาก
รร.สธ.ทบ. หลักสูตรหลัก
ประจา ให้ถือเป็นอัตรา ฝสธ.)
- ผู้ช่วยนายทหารฝ่ายยุทธการ (ร.อ.) ๒ นาย
- ผู้ช่วยนายทหารฝ่ายยุทธการฝ่ายอากาศ (ร.อ.) ๑ นาย
- นายทหารฝ่ายส่งกาลังบารุง (พ.ต.) ๑ นาย
- ผู้ช่วยนายทหารฝ่ายส่งกาลังบารุง (ร.อ.) ๑ นาย
- นายทหารฝ่ายกิจการพลเรือน ๑ นาย
- นายทหารฝ่ายการสื่อสาร (ร.อ.) ๑ นาย
- อนุศาสนาจารย์ (ร.อ.) ๑ นาย (เหล่า สบ.)
- นายทหารกระสุน (ร.อ.) ๑ นาย
- นายทหารฝ่ายการเงิน (พ.ต.) ๑ นาย (เหล่า กง.)
- นายทหารพระธรรมนูญ (ร.อ.) ๑ นาย (เหล่า ธน.)
- นายทหารพระธรรมนูญผู้ช่วย (ร.ท.) ๑ นาย (เหล่า ธน.)
- นายทหารแผนที่ (ร.อ.) ๑ นาย (เหล่า ผท.)
- ผู้ช่วยนายทหารแผนที่ (ร.ท.) ๑ นาย (เหล่า ผท.)
- นายแพทย์ (พ.ต.) ๑ นาย (เหล่า พ.)
หมายเหตุ ผช.ฝกพ. ทาหน้าที่นายทหารฝ่ายการทะเบียนศพด้วย ผช.ฝยก. ทาหน้าที่นายทหาร
ปจว. และนายทหารประชาสัมพันธ์ด้วย นายแพทย์ จะทาหน้าที่ ผบ.มว.สร.ด้วย
ข. กองร้อยกองบังคับการ ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
- บก.ร้อย
- ตอน บก.กรม
- ตอน นตต.
- มว.สื่อสาร ประกอบด้วย บก.มว., ตอนวิทยุ, ตอนทางสาย
- มว.ระวังป้องกัน ประกอบด้วย บก.มว., หมู่อาวุธ, ๓ หมู่ ปล.
- มว.ยานยนต์
- มว.เสนารักษ์ ประกอบด้วย ตอนที่พยาบาล, ตอนเปล, ตอนรถพยาบาล, ตอน ทันตกรรม
กองร้อยเครื่องยิงหนัก มีภารกิจในการจัดเครื่องยิงหนักช่วยหน่วยต่าง ๆ ของ กรม ร. โดยใกล้ชิด
ร้อย.ค.หนัก มีขีดความสามารถตามที่ระบุไว้ใน อจย. ดังนี้
๑-๙

ก. สามารถเคลื่อนย้ายบนเส้นทางถนนได้รวดเร็ว แต่มีความคล่องแคล่วจากัด ใน
ขณะเคลื่อนที่นอกเส้นทาง
ข. สามารถเข้าที่ตั้งยิงและเปลี่ยนที่ตั้งยิงได้อย่างรวดเร็ว
ค. การระวังป้องกันที่ตั้งตนเอง ทาได้อย่างจากัด
ง. สามารถยิงสนับสนุนอย่างรุนแรงได้ในระยะเวลาสั้นเนื่องจากจากัดในเรื่องการ
ลาเลียง กระสุน
การจัด ร้อย.ค.หนัก กรม ร. (ตาม อจย.๗ - ๑๔) ประกอบด้วย
- บก.ร้อย แบ่งออกเป็น ๓ ตอน คือ ตอน บก.ร้อย มี ผบ.ร้อย, รอง ผบ.ร้อย
และเจ้าหน้าที่
- ธุรการต่าง ๆ โดยที่ รอง ผบ.ร้อย จะทาหน้าที่นายทหารลาดตระเวนด้วย, ตอน
ยุทธการและอานวยการยิง มีนายทหารอานวยการยิงรับผิดชอบในการจัดตั้งศูนย์อานวยการยิง, ตอนสื่อสาร
- ๓ มว.ค.หนัก แต่ละมว.จะมี ผบ.มว., ผู้ตรวจการณ์หน้า และนายสิบติดต่อ ซึ่ง
จะไปประจาตาม พัน.ร.ต่าง ๆ ในการทาแผนการยิงสนับสนุน นอกจากนี้ แต่ละมว.จะมี ๔ หมู่ ค.หนัก (การ
จัดกาลังในยามปกติจะจัดเพียง มว.ละ ๓ หมู)่ แต่ละหมู่ ค.หนัก จะมีกาลังพล ดังนี้ คือ ผบ.หมู,่ พลยิง, พล
ยิงผู้ช่วย, พลขับ และพลกระสุน ๔ นาย
เครื่องยิงลูกระเบิดที่ใช้ในร้อย ค.หนัก คือ เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๔.๒ นิ้ว หรือ ค.
ขนาด ๑๒๐ มม. จานวน ๑๒ กระบอก ใช้ลาเลียงบน รยบ. ๑ ๑/๔ ตัน พร้อมรถพ่วง
สาหรับ ค. ๑๒๐ มม. สามารถใช้การลากจูงได้
กองร้อยยานเกราะ (ร้อย.ยก.) มีภารกิจ คือ ปฏิบัติการในภารกิจรบ และเตรียมการในด้านการลาเลียง
พล ร้อย.รสพ. มีขีดความสามารถ ดังนี้
ก. สามารถทาการรบเป็นส่วนหนึ่งของชุดทหารราบยานเกราะ
ข. สามารถทาการลาเลียงพลหนึ่งกองร้อยอาวุธเบาได้
การจัด ร้อย.ยก. ตาม อจย.๗ - ๑๙ ประกอบด้วย
- บก.ร้อย
- ตอนซ่อมบารุง
- ๓ มว.ยก แต่ละ มว. จะมี รสพ. จานวน ๕ คัน รสพ. ๑ คัน สามารถบรรทุก
ทหารราบได้ ๑ หมู่ ปล. ดังนั้น ๑ มว.รสพ. จะบรรทุกทหารราบได้ ๑ มว.ปล.
ยุทโธปกรณ์ที่สาคัญ ในร้อย รสพ.กรม ร. จะมี รสพ.จานวน ๑๖ คัน เท่ากับจานวนรถถัง ใน ๑
กองร้อยรถถัง เพื่อให้สามารถปฏิบัติการรบร่วมกันได้ รสพ.แต่ละคันจะติดตั้ง ปก.๙๓ (ขนาด .๕๐ นิ้ว) จานวน
๑ กระบอก และ ปก.เอ็ม.๖๐ จานวน ๒ กระบอก ในแต่ละมว. รสพ.จะติดตั้งชุดเปลพยาบาล ๑ ชุด

กองร้อยลาดตระเวนและเฝ้าตรวจ (ร้อย.ลว/ฝต.) มีภารกิจ คือ ลาดตระเวนและเฝ้าตรวจให้กรม


ทหารราบ มีขีดความสามารถ ดังนี้
ก. สามารถทาลายรถถังข้าศึก
ข. ป้องกันรถถังของข้าศึกด้วยการใช้ทุ่นระเบิดดักรถถัง
ค. มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่ได้ ๑๐๐ %
การจัด ร้อย.ลว/ฝต. ประกอบด้วย
- บก.ร้อย
- ๑ มว.ลว.
๑ - ๑๐

- ๑ มว.ลว.ทางอากาศ
- ๑ มว.ตถ.

กองพันทหารราบ (พัน.ร.) มีภารกิจตามที่ระบุไว้ใน อจย. ๗ – ๑๕(ลง ๒๕ มิ.ย.๒๒) คือ


ก. เข้าประชิดข้าศึกโดยใช้อานาจการยิง และการดาเนินกลยุทธ์ เพื่อจับหรือทาลายข้าศึก
ข. ผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิงและการรบประชิด
พัน.ร. มีขดี ความสามารถ ดังนี้
ก. จัดให้มีฐานยิงและดาเนินกลยุทธ์ได้
ข. สามารถใช้การยิงและการเคลื่อนที่เข้าประชิดและทาลายข้าศึกได้
ค. สามารถยึดและรักษาภูมิประเทศได้
ง. สามารถผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิง การรบประชิด หรือการตีโต้ตอบ
จ. สามารถทาการป้องกันต่อสู้รถถังได้ในลักษณะจากัด
การจัด พัน.ร. ประกอบด้วย
- กองบังคับการและกองร้อยสนับสนุนการรบ (บก.และ ร้อย.สสก.) (อจย.๗ - ๑๖)
- กองร้อยสนับสนุนการช่วยรบ (ร้อย.สสช.) (อจย.๗ - ๑๘)
- ๓ กองร้อยอาวุธเบา (ร้อย.อวบ.) (อจย.๗ - ๑๗)
การจัด กองบังคับการกองพันทหารราบ (บก.พัน.ร.) ประกอบด้วย ผบ.พัน. (พ.ท.), รอง ผบ.พัน.
(พ.ต.), นายทหารฝ่ายธุรการและกาลังพล (ฝอ.๑) (ร.อ.),นายทหารฝ่ายการข่าว (ฝอ.๒) (ร.อ.), ผู้ช่วยนายทหาร
ฝ่ายการข่าว (ผช.ฝอ.๒)(ร.ท.), นายทหารฝ่ายยุทธการและการฝึก (ฝอ.๓) (พ.ต.), ผู้ช่วยนายทหารยุทธการและ
การฝึก (ผช.ฝอ.๓) (ร.อ.), นายทหารฝ่ายส่งกาลังบารุง (ฝอ.๔) (ร.อ.), นายทหารการเงิน (ร.อ.- เหล่า กง.)
กองร้อยสนับสนุนการรบ (ร้อย.สสก.) ประกอบด้วย
- บก.ร้อย. มี ผบ.ร้อย (ร.อ.), รอง ผบ.ร้อย.(ร.ท.) และเจ้าหน้าที่ธุรการต่าง ๆ
- ตอน บก.พัน. มี จ่ากองพัน (จ.) และเจ้าหน้าที่ลูกมือของ ฝอ.๒-๓ เช่น เสมียน
พิมพ์ดีด, เสมียนข่าวกรอง, นายสิบยุทธการ, ช่างเขียน ฯลฯ
- มว.ลาดตระเวน ประกอบด้วย บก.มว. และ ๓ หมู่ ลว. มียุทโธปกรณ์ที่สาคัญ
คือ รยบ. ๑/๔ ตัน ติดตั้ง ปก.เอ็ม.๖๐ จานวน ๓ คัน (หมูล่ ะ ๑ คัน)
- มว.สื่อสาร ประกอบด้วย บก.มว., ๑ ตอนวิทยุ และ ๑ ตอนทางสาย
- มว.อาวุธหนัก ประกอบด้วย
* บก.มว.
* ๑ ตอน ปรส. ประกอบด้วย บก.ตอน และ ๓ หมู่ ปรส. มียุทโธปกรณ์ที่สาคัญ
คือ ปรส.ขนาด ๑๐๖ มม. ติดตั้งบน รยบ.๑/๔ ตัน จานวน ๓ กระบอก (หมู่ละ ๑ กระบอก )
* ๑ ตอน ค. ประกอบด้วย บก.ตอน และ ๓ หมู่ ค. มียุทโธปกรณ์ที่สาคัญ คือ
เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๘๑ มม. จานวน ๓ กระบอก (หมู่ละ ๑ กระบอก)
- มว.ช่างโยธา ประกอบด้วย บก.มว. และ ๓ หมู่ช่างโยธา มียุทโธปกรณ์ที่สาคัญ
คือ
* เครื่องมือชุดทาลาย จุดระเบิดด้วยไฟฟ้าและฝักแค จานวน ๓ ชุด อยู่ที่ บก.มว.
* เครื่องมือชุดทาลาย จุดระเบิดด้วยฝักแค จานวน ๙ ชุด (หมู่ละ ๓ ชุด)
* เครื่องฉีดไฟ เอ็ม.๒ เอ.๑-๗ จานวน ๖ เครื่องอยู่ที่ บก.มว.
* จรวด ๗๓ มม. จานวน ๓ เครื่อง อยู่ที่หมู่ช่างฯ(หมู่ละ ๑ เครื่อง)
* เครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิด จานวน ๑๐ ชุด ที่ บก.มว.
๑ - ๑๑

กองพันทหารราบ (พัน.ร.) มีภารกิจตามที่ระบุไว้ใน อจย. ๗ – ๑๕ (ลง ๒๕ ก.พ.๕๒) คือ


ก. เข้าประชิดข้าศึกโดยใช้อานาจการยิง และการดาเนินกลยุทธ์ เพื่อจับหรือทาลายข้าศึก
ข. ผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิงและการรบประชิด
พัน.ร. มีขีดความสามารถ ดังนี้
ก. จัดให้มีฐานยิงและดาเนินกลยุทธ์ได้
ข. สามารถใช้การยิงและการเคลื่อนที่เข้าประชิดและทาลายข้าศึกได้
ค. สามารถยึดและรักษาภูมิประเทศได้
ง. สามารถผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิง การรบประชิด หรือการตีโต้ตอบ
จ. สามารถทาการป้องกันต่อสู้รถถังได้ในลักษณะจากัด
การจัด พัน.ร. ประกอบด้วย
- กองบังคับการและกองร้อยสนับสนุนการรบ (บก.และ ร้อย.สสก.) (อจย.๗ - ๑๖)
- กองร้อยสนับสนุนการช่วยรบ (ร้อย.สสช.) (อจย.๗ - ๑๘)
- ๓ กองร้อยอาวุธเบา (ร้อย.อวบ.) (อจย.๗ - ๑๗)
การจัด กองบังคับการกองพันทหารราบ (บก.พัน.ร.) ประกอบด้วย ผบ.พัน. (พ.ท.), รอง ผบ.พัน.
(พ.ต.), นายทหารฝ่ายธุรการและกาลังพล (ฝอ.๑) (ร.อ.),นายทหารฝ่ายการข่าว (ฝอ.๒) (ร.อ.), ผู้ช่วยนายทหาร
ฝ่ายการข่าว (ผช.ฝอ.๒)(ร.ท.), นายทหารฝ่ายยุทธการและการฝึก (ฝอ.๓) (พ.ต.), ผู้ช่วยนายทหารยุทธการและ
การฝึก (ผช.ฝอ.๓) (ร.อ.), นายทหารฝ่ายส่งกาลังบารุง (ฝอ.๔) (ร.อ.),นายทหารฝ่ายกิจการพลเรือน (ฝอ.๕)
(ร.อ.) นายทหารการเงิน (ร.อ.- เหล่า กง.)
กองร้อยสนับสนุนการรบ (ร้อย.สสก.) ประกอบด้วย
- บก.ร้อย. มี ผบ.ร้อย (ร.อ.), รอง ผบ.ร้อย.(ร.ท.) และเจ้าหน้าที่ธุรการต่าง ๆ
- ตอน บก.พัน. มี จ่ากองพัน (จ.) และเจ้าหน้าที่ลูกมือของ ฝอ.๒-๓ เช่น เสมียน
พิมพ์ดีด, เสมียนข่าวกรอง, นายสิบยุทธการ, ช่างเขียน ฯลฯ
- มว.ลาดตระเวน ประกอบด้วย บก.มว. และ ๓ หมู่ ลว. มียุทโธปกรณ์ที่สาคัญ
คือ รยบ. ๑/๔ ตัน ติดตั้ง ปก.เอ็ม.๖๐ จานวน ๓ คัน (หมู่ละ ๑ คัน)
- มว.สื่อสาร ประกอบด้วย บก.มว., ๑ ตอนวิทยุ และ ๑ ตอนทางสาย
- มว.ค.๘๑ ประกอบด้วย
- บก.มว.
- ๓ หมู่ ค. มียุทโธปกรณ์ที่สาคัญ คือ เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๘๑ มม. จานวน ๓
กระบอก (หมู่ละ ๑ กระบอก)

- มว.ปืนโจมตีประกอบด้วย
- บก.มว.
- ๓ หมู่ ปรส. มียุทโธปกรณ์ที่สาคัญ คือ ปรส.ขนาด ๗๕ มม. (หมู่ละ ๑ กระบอก )
- มว.ช่างโจมตี ประกอบด้วย บก.มว. และ ๓ หมู่ช่างโยธา มียุทโธปกรณ์ที่สาคัญ คือ
- เครื่องมือชุดทาลาย จุดระเบิดด้วยไฟฟ้าและฝักแค จานวน ๓ ชุด อยู่ที่ บก.มว.
- เครื่องมือชุดทาลาย จุดระเบิดด้วยฝักแค จานวน ๙ ชุด (หมู่ละ ๓ ชุด)
- เครื่องฉีดไฟ เอ็ม.๒ เอ.๑-๗ จานวน ๖ เครื่องอยู่ที่ บก.มว.
- จรวด ๗๓ มม. จานวน ๓ เครื่อง อยู่ที่หมู่ช่างฯ(หมู่ละ ๑ เครื่อง)
๑ - ๑๒

- เครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิด จานวน ๑๐ ชุด ที่ บก.มว.

ตอนที่ ๓
กองพลทหารราบยานเกราะ
การจัด พล.ร.ยานเกราะ มีความมุ่งหมายที่จะให้มีความทันสมัย พร้อมที่จะรับสถานการณ์
ได้ทุกรูปแบบ สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็ว พร้อมที่จะปฏิบัติการรุกได้ทันที สอดคล้องกับสภาวะสงคราม
ในอนาคต รวมทั้งรูปแบบของสงครามเคมี ชีวะ นิวเคลียร์ ด้วยภารกิจของพล.ร. ยานเกราะ คงเช่นเดียวกับกอง
พลทหารราบทั่ว ๆ ไป คือ การทาลายกาลังข้าศึก และควบคุมพื้นที่ รวมทั้งประชาชนและทรัพยากร โดยที่
พล.ร.ยานเกราะ มีขีดความสามารถ ดังนี้
ก. สามารถปฏิบัติการรบด้วยวิธีรับ, วิธีรุก และการร่นถอย
ข. สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยความรวดเร็วในการเคลื่อนที่เข้าปะทะ, การเข้าตีเร่งด่วน
และประณีต, การขยายผลและการไล่ติดตาม
ค. สามารถกระจายกาลังได้เป็นบริเวณกว้าง และรวมกาลังได้อย่างรวดเร็ว
ง. สามารถต่อสู้รถถังได้
จ. สามารถปฏิบัติการรบเป็นหน่วยกาบัง ในการรุก รับ และร่นถอย
ฉ. ดาเนินการต่อสู้ป้องกันภัยทางอากาศต่ออากาศยานร่อนต่าได้
ช. ควบคุมบังคับบัญชาหน่วยดาเนินกลยุทธ์ได้ ๑๕ กองพัน

ข้อจากัดของ พล.ร.ยานเกราะ คือ การเคลื่อนที่จะถูกจากัดด้วยป่าที่ทึบ, ที่สูงชัน,


ภูมิประเทศที่ยากลาบาก และ ทางน้า
พล.ร.ยานเกราะ มีการจัด ดังนี้
- บก.และ ร้อย.บก.พล.
- พัน.ลว.
- ร้อย.ลว.ไกล
- ร้อย.ตถ.
- ร้อย.บ.
- ร้อย.สห.
- พัน.ช.
- พัน.ส.
- พัน.ถ.
- กรม สน.
- บก.และ ร้อย.บก.
๑ - ๑๓

- พัน.สบร.
- พัน.ซบร.
- พัน.สร.
- กรม ป.
- บก.และ ร้อย.บก.
- ๑ พัน.ปตอ.
- ๔ พัน.ป.๑๕๕ มม.(อจ.)

- ๓ กรม ร.ยก.
- บก.และ ร้อย.บก.
- ๓ พัน.ร.ยก.

พล.ร.ยก. มีการจัดที่แตกต่างจาก พล.ร. คือ


๑. เปลี่ยนจาก กอง ลว. เป็น พัน.ลว.
๒. เพิ่ม ร้อย.ตถ. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการต่อสู้รถถังข้าศึก
๓. เปลี่ยนระบบการส่งกาลังบารุงจากเดิมที่ใช้การส่งกาลังบารุงแบบสายยุทธบริการ
โดย กอง พธ., กอง สพบ. และ พัน.สร. เป็นแบบพันธกิจ โดย กรม สน. ซึ่งประกอบด้วย บก. และ ร้อย.บก.,
พัน.สบร., พัน.ซบร. และ พัน.สร.
๔. การจัด กรม ป. ซึ่งเดิมประกอบด้วย ๓ พัน.ป.๑๐๕ มม.(ลจ.) และ ๑ พัน.ป.๑๕๕ มม.
(ลจ.) เปลี่ยนเป็น ๔ พัน.ป.๑๕๕ มม.(อจ.)
๕. การจัด กรม ร. ซึ่งเดิมประกอบด้วย บก.และร้อย.บก.,ร้อย.ค.หนัก, ร้อย.รสพ. และ ๓ พัน.ร.
เปลี่ยนเป็น บก.และ ร้อย.บก. กับอีก ๓ พัน.ร.ยก.
๖. ความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่และมีเกราะป้องกันตนเอง
กรมทหารราบยานเกราะ (กรม ร.ยก.)() มีภารกิจ บังคับบัญชา ควบคุมหน่วยรบและหน่วยสนับสนุน
ในอัตราและหน่วยที่มาขึ้นสมทบ มีขีดความสามารถดังนี้
ก. บังคับบัญชา วางแผน ควบคุม และกากับดูแล กองพันทหารราบยานเกราะ ได้ตั้งแต่ ๒ – ๕
กองพัน
ข. จัดให้มีการสนับสนุนการติดต่อสื่อสาร
ค. วางการติดต่อกับกองบังคับการหน่วยเหนือและหน่วยข้างเคียง
ง. ดาเนินการให้ กรมทหารราบยานเกราะปฏิบัติการอย่างต่อเนื่องได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง
จ. ดาเนินการทางธุรการ การเลี้ยงดู การส่งกาลังซ่อมบารุงขั้นหน่วย การขนส่ง และการบริการ
ทางการแพทย์ ( เว้นกองพันทหารราบยานเกราะ )
ฉ. จัดการระวังป้องกันที่บังคับการกรม
ช. มีความคล่องแคล่วและเคลื่อนที่ด้วยยานพาหนะในอัตราได้ ๑๐๐%
กองบังคับการและกองร้อยกองบังคับการกรมทหารราบยานเกราะ (บก.และร้อย.บก.) มี
การจัดตาม อจย.๓๗ - ๔๒ ดังนี้ คือ
บก.กรม คงเช่นเดียวกับการจัด บก.กรม ร. ตาม อจย.๗-๑๒
ร้อย.บก.กรม ร.ยก. ประกอบด้วย
- ตอน บก.กรม
๑ - ๑๔

- ตอนนายทหารติดต่อ (ตอน นตต.)


- มว.สื่อสาร (มว.ส.) ซึ่งประกอบด้วย บก.มว., ตอนศูนย์ข่าว, ตอนวิทยุ, ตอน ทางสาย
- มว.สนับสนุนและบริการ (มว.สน./บร.) ซึ่งประกอบด้วย บก.มว. ซึ่งมี ผบ.มว.
ทาหน้าที่นายทหารยานยนต์ของกรม, ตอนรถผู้บังคับบัญชา, ตอนขนส่ง, ตอนซ่อมบารุง
- มว.ระวังป้องกัน (มว.รวป.) ประกอบด้วย บก.มว. และ ๓ หมู่ ปล.
- มว.เสนารักษ์ (มว.สร.) ประกอบด้วย บก.มว., ตอนพยาบาล, ตอนส่งกลับ,
ตอนทันตกรรม

การต่อสู้รถถังระดับกรม ร.ยก. ไม่มีหน่วยต่อสู้รถถัง แต่อาจได้รับการสนับสนุนจาก ร้อย.ตถ. พล.ร.ยก.


ให้ขึ้นมาสมทบได้ ภารกิจ ของร้อย.ตถ. คือ ทาการต่อสู้ป้องกันรถถังให้กับ พล.ร. และมีการประกอบกาลัง ดังนี้
- บก.ร้อย
- ๑ มว.สนับสนุน
- ๓ มว.ตถ. ซึ่งแต่ละ มว. ประกอบด้วย บก.มว. และ ๓ ตอน ตถ. ยุทโธปกรณ์
หลักที่ใช้ คือ อาวุธนาวิถีต่อสู้รถถังโทว์ (TOW) จานวนตอนละ ๒ กระบอก (รวมทั้งกองร้อยมี ๑๘ กระบอก)
พัน.ร.ยก. มีการจัดกาลัง ตาม อจย.หมายเลข ๗ – ๔๕(ลง ๒๓ ต.ค.๓๐) ซึ่งกาหนดภารกิจไว้ ดังนี้
ก. เข้าประชิดข้าศึกโดยใช้อานาจการยิงและการดาเนินกลยุทธ์ เพื่อทาลายและจับข้าศึก
ข. ผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิง การรบประชิด และการตีโต้ตอบ
พัน.ร.ยก. มีขีดความสามารถ ดังนี้
ก. จัดให้มีฐานยิงและส่วนดาเนินกลยุทธ์
ข. ยึดและรักษาภูมิประเทศได้
ค. ให้การยิงสนับสนุนกับหน่วยในอัตราและหน่วยขึ้นสมทบ
ง. ปฏิบัติการเป็นอิสระในห้วงระยะเวลาจากัด
จ. ทาการป้องกันต่อสู้รถถังได้
ฉ. ทาการลาดตระเวนระยะไกลเมื่อได้รับการเพิ่มเติมยุทโธปกรณ์อย่างเหมาะสม
ช. เพิ่มขีดความสามารถให้สูงขึ้นได้เมื่อเข้าปฏิบัติการด้วยการจัดกาลังรบเป็นชุดรบ ร.- ถ.
ซ. มีความคล่องแคล่วในภูมิประเทศ และสามารถเคลื่อนย้ายด้วยยานพาหนะในอัตราได้ ๑๐๐ %
ด.ปฏิบัติการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศได้เมื่อได้รับการสนับสนุนการขนส่งทางอากาศอย่างเพียงพอ
ต. เข้าร่วมปฏิบัติการยุทธ์สะเทินน้าสะเทินบกได้
ถ. ทาการต่อสู้อากาศยานได้อย่างจากัด
๑ - ๑๕

พัน.ร.ยก. มีการจัดกาลัง ดังนี้


- กองบังคับการและกองร้อยกองบังคับการ (บก.และร้อย.บก.)
- ๑ กองร้อยสนับสนุนการรบ (ร้อย.สสก.)
- ๓ กองร้อยทหารราบยานเกราะ (ร้อย.ร.ยก.)
บก.พัน. จะประกอบด้วย ผบ.พัน., รอง ผบ.พัน., ฝอ.๑, ฝอ.๒, ผช.ฝอ.๒, ฝอ.๓, ผช.ฝอ.๓, ฝอ.๔,
นายทหารฝ่ายการเงิน, นายแพทย์ และ นายทหารยานยนต์
ร้อย.บก. ประกอบด้วย
- บก.ร้อย
- ตอน บก.พัน
- มว.สื่อสาร (มว.ส.) ประกอบด้วย บก.มว., ตอนวิทยุ, ตอนทางสาย
- มว.สนับสนุนและบริการ (มว.สน./บร.)
- บก.มว.
- ตอนรถผู้บังคับบัญชา
- ตอนส่งกาลัง
- ตอนขนส่ง
- ตอนสูทกรรม ประกอบด้วย บก.ตอน และ ๕ ชุดสูทกรรมกองร้อย
- มว.ซ่อมบารุง (มว.ซบร.) ประกอบด้วย บก.มว. และ ๒ ตอน ซบร.
- มว.เสนารักษ์ (มว.สร.) ประกอบด้วย บก.มว., ตอนที่พยาบาล, ตอนส่งกลับ
ร้อย.สสก.พัน.ร.ยก. มีภารกิจ คือ ให้การสนับสนุนด้วยการลาดตระเวน การยิงจาลอง
และการป้องกันต่อสู้รถถัง โดยร้อย.สสก.พัน.ร.ยก.มีขีดความสามารถ ดังนี้
ก. ทาการลาดตระเวนทางพื้นดิน
ข. จัดให้มีการสนับสนุนด้วยการยิงของเครื่องยิงลูกระเบิด และการป้องกันต่อสู้รถถัง
ค. ต่อสู้ป้องกันภัยทางอากาศได้อย่างจากัด
ง. ซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ในอัตราได้ในขั้นหน่วย
จ. ดาเนินกลยุทธ์ได้ในทุกสภาพภูมิประเทศและทุกสภาพภูมิอากาศ
ฉ. มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนย้ายด้วยยานพาหนะในอัตรา ๑๐๐ %
ร้อย.สสก.พัน.ร.ยก. มีการจัดตาม อจย.๗ – ๔๘ ซึ่งประกอบกาลังดังนี้
- บก.ร้อย.
- ตอนซ่อมบารุง
- มว.ลาดตระเวน (มว.ลว.) ประกอบด้วย บก.มว. และ ๓ หมู่ ลว.
- มว.ค.หนัก ประกอบด้วย บก.มว., ตอนยุทธการและอานวยการยิง, ๔ หมู่ ค.หนัก
- มว.ตถ. ประกอบด้วย บก.มว. และ ๓ หมู่ ตถ.
กองร้อยทหารราบยานเกราะ (ร้อย.ร.ยก.) มีภารกิจดังนี้ คือ
ก. เข้าประชิดข้าศึก โดยใช้อานาจการยิงและการดาเนินกลยุทธ์ เพื่อทาลายและจับข้าศึก
ข. ผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิง การรบประชิด และ การตีโต้ตอบ
ร้อย.ร.ยก. มีขีดความสามารถตามที่ระบุไว้ใน อจย. คือ
ก. ใช้การยิงและการดาเนินกลยุทธ์เข้าประชิดเพื่อทาลายและจับข้าศึก
ข. จัดให้มีฐานยิงและการดาเนินกลยุทธ์
ค. ผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิง การรบประชิด หรือด้วยการตีโต้ตอบ
๑ - ๑๖

ง. ยึดและรักษาภูมิประเทศได้
จ. ดาเนินกลยุทธ์ได้ทุกภูมิประเทศและทุกสภาพภูมิอากาศ
ฉ. ป้องกันต่อสู้รถถังได้อย่างจากัด
ช. มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนย้ายด้วยยานพาหนะในอัตรา ๑๐๐ %
ร้อย.ร.ยก. มีการจัดตาม อจย.๗ - ๔๗ ดังนี้
- บก.ร้อย.
- ๑ ตอนซ่อมบารุง
- ๑ มว.อาวุธ ประกอบด้วย
- บก.มว.
- ตอน ค.๘๑ ประกอบด้วย ๓ หมู่ ค.๘๑
- ตอน ตถ.
- ๓ มว.ปล. แต่ละ มว. ประกอบด้วย บก.มว. และ ๓ หมู่ ปล. โดยที่ มว.ปล. มี ปก.เอ็ม.๖๐
จานวน ๒ กระบอก พร้อมเจ้าหน้าที่ประจาอยู่ที่ บก.มว.
๑ - ๑๗

ตอนที่ ๔
กองพลทหารราบยานยนต์
การจัด กองพลทหารราบยานยนต์ (พล.ร.ยย.) ในรูปแบบนี้ มีความมุ่งหมายที่จะจัดให้เป็นแบบ
พล.ร.มาตรฐาน ที่มีขีดความสามารถในการ เข้าตี ตั้งรับ และร่นถอย อย่างมี ประสิทธิภาพ ภารกิจ
ของกองพลทหารราบยานยนต์ คงเป็นเช่นเดียวกับ พล.ร.ยก.ตามที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว คือ การทาลายกาลัง
ข้าศึกและการยึดครองพื้นที่ โดยที่ พล.ร.ยย. มีขีดความสามารถ ดังนี้
ก. ทาการรบเป็นอิสระ
ข. สามารถปฏิบัติการรบด้วยวิธีรับและวิธีรุก
ค. ปฏิบัติการรบในภูมิประเทศและลมฟ้าอากาศที่ยากลาบาก
ง. สามารถต่อสู้รถถังได้
จ. สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยยานพาหนะในอัตรา ๑๐๐ %
ฉ. ควบคุมบังคับบัญชาหน่วยดาเนินกลยุทธ์ได้ ๑๕ กองพัน
พล.ร.ยย. มีโครงสร้างการจัดดังนี้ คือ
- บก.และ ร้อย.บก.
- พัน.ลว.
- ร้อย.ลว.ไกล
- ร้อย.ตถ.
- ร้อย.บ.
- ร้อย.สห.
- พัน.ช.
- พัน.ส.
- พัน.ถ.
- กรม สน. ประกอบด้วย
- บก.และ ร้อย.บก.
- สานักงานส่งกาลัง
- พัน.ขส.
- พัน.ซบร.
- พัน.สร.
- กรม ป. ประกอบด้วย
- บก.และ ร้อย.บก./บร.
- ๑ พัน.ปตอ.
- ๑ พัน.ปกค.๑๕๕ มม. (ลจ.)
- ๓ พัน.ป.๑๐๕ มม.(ลจ.)
- ๓ กรม ร.ยย. ประกอบด้วย
- บก.และ ร้อย.บก.
- ๓ พัน.ร.ยย.

กรม.ร.ยย. คงมีภารกิจเช่นเดียวกับ กรม ร.ยก. คือ ทาลายกาลังรบของข้าศึก เข้ายึดและ


ควบคุมพื้นที่ รวมทั้งประชาชนและทรัพยากรในพื้นที่ที่ยึดได้ โดยที่ กรม ร.ยย. มีขีดความสามารถ ดังนี้ คือ
ก. ควบคุมบังคับบัญชา และดาเนินงานทางธุรการ ต่อกองพันทหารราบ และหน่วยใน
๑ - ๑๘

อัตราในการรบด้วยวิธีรุก การรบด้วยวิธีรับ รวมทั้งการป้องกันและการปราบปรามการก่อความไม่สงบ


ข. ปฏิบัติการรบอย่างต่อเนื่องต่อกาลังรบของข้าศึกที่มียุทโธปกรณ์อย่างเดียวกัน หรือ
ต่ากว่า ภายในกรอบของกองพล หรือ ปฏิบัติการเป็นอิสระเมื่อได้รับการเพิ่มเติมกาลังอย่างเหมาะสม
ค. ปฏิบัติการในพื้นที่ที่มีภูมิประเทศหรือสภาพอากาศยากลาบาก
ง. เข้าควบคุมประชากรในดินแดนที่ยึดได้
การจัด กรม ร.ยย. ประกอบด้วยหน่วยต่าง ๆ ดังนี้ คือ
- บก. และ ร้อย.บก (ตาม อจย.๗-๑๒ พ.)
- ๓ พัน.ร.ยย. (ตาม อจย.๗- ๑๕ พ.)
กองบังคับการและกองร้อยกองบังคับการ (บก.และ ร้อย.บก.)กรม ร.ยย. มีภารกิจในการบังคับบัญชา
ควบคุมหน่วยรบ และหน่วยสนับสนุนการรบในอัตรา และหน่วยที่ขึ้นสมทบ
บก.และร้อย.บก. มีขีดความสามารถดังนี้ คือ
ก. บังคับบัญชา วางแผน ควบคุม กากับดูแลการปฏิบัติ กองพันทหารราบ ได้ตั้งแต่ ๒ ถึง ๕
กองพัน และหน่วยที่ขึ้นสมทบ
ข. จัดให้มีการสนับสนุนการติดต่อสื่อสาร
ค. วางการติดต่อกับกองบังคับการหน่วยเหนือและหน่วยข้างเคียง
ง. ดาเนินการให้กรมทหารราบปฏิบัติการอย่างต่อเนื่องได้ตลอด ๒๔ ชม.
จ. ดาเนินการทางธุรการ การเลี้ยงดู การส่งกาลังและซ่อมบารุงขั้นหน่วย การขนส่งและการบริการ
ทางการแพทย์ (เว้น กองพันทหารราบ)
ฉ. จัดการระวังป้องกันที่บังคับการกรม
ช. เคลื่อนย้ายด้วยยานพาหนะในอัตราได้ ๑๐๐ %
การจัด บก.กรม คงเช่นเดียวกับการจัด บก.กรม ร. อื่น ๆ ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว
การจัด ร้อย.บก.กรม ร.ยย. ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้
- บก.ร้อย.
- ตอน บก.กรม
- ตอนนายทหารติดต่อ
- มว.สื่อสาร (มว.ส.) ประกอบด้วย บก.มว., ตอนศูนย์ข่าว, ตอนวิทยุ, ตอนทางสาย
- มว.สนับสนุนและบริการ (มว.สน./บร.) ประกอบด้วย บก.มว., ตอนขนส่ง, ตอนซ่อมบารุง
- มว.ระวังป้องกัน (มว.รวป.) ประกอบด้วย บก.มว. และ ๓ หมู่ ปล.
- มว.เสนารักษ์ (มว.สร.) ประกอบด้วย บก.มว., ตอนที่พยาบาล, ตอนส่งกลับ, ตอนทันตกรรม
พัน.ร.ยย. คงมีภารกิจเช่นเดียวกับ พัน.ร.ยก. หรือ พัน.ร. และมีขีดความสามารถดังนี้ คือ
ก. จัดให้มีฐานยิงและส่วนดาเนินกลยุทธ์
ข. ยึดและรักษาภูมิประเทศได้
ค. ให้การยิงสนับสนุนแก่หน่วยในอัตราและหน่วยที่ขึ้นสมทบ
การจัด บก.กรม คงเช่นเดียวกับการจัด บก.กรม ร. อื่น ๆ ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว
ง. ดาเนินกลยุทธ์ได้ทุกสภาพภูมิประเทศและทุกสภาพภูมิอากาศ
จ. ทาการป้องกันต่อสู้รถถัง และอากาศยานได้อย่างจากัด
ฉ. ปฏิบัติการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศได้ เมื่อได้รับการสนับสนุนการขนส่งทางอากาศ
อย่างเพียงพอ
ช. เข้าปฏิบัติการยุทธ์สะเทินน้าสะเทินบกได้
๑ - ๑๙

ซ. เคลื่อนย้ายด้วยยานพาหนะในอัตราได้ ๑๐๐ % เว้น ๖ มว.ปล.

พัน.ร.ยย. มีการจัดตาม อจย. ๗ - ๑๕ พ. ซึ่งประกอบด้วยหน่วยต่าง ๆ ดังนี้


- บก.และร้อย.บก. (อจย.๗-๑๖ พ.)
- ร้อย.สสก.(อจย.๗-๑๘ พ.)
- ๓ ร้อย.อวบ.(อจย.๗-๑๗ พ.)
บก.และ ร้อย.บก. พัน.ร.ยย. มีภารกิจ คือ บังคับบัญชา ควบคุม และกากับดูแลการปฏิบัติของกองพัน
ทหารราบและหน่วยขึ้นสมทบ มีขีดความสามารถดังนี้
ก. บังคับบัญชา ควบคุม วางแผน และกากับดูแลการปฏิบัติการของหน่วยในอัตรา
และหน่วยที่ขึ้นสมทบ
ข. จัดให้มีการสนับสนุนการติดต่อสื่อสาร
ค. รับและจ่ายสิ่งอุปกรณ์ของกองพัน
ง. ซ่อมบารุงขั้นหน่วยให้แก่หน่วยในอัตราของกองพัน
จ. จัดประกอบเลี้ยงให้กับหน่วยในอัตราของกองพันได้ทั้งแบบรวมการและแยกการ
ฉ. ให้บริการทางการแพทย์กับหน่วยในอัตราของกองพัน
ช. จัดให้มีการสนับสนุนการขนส่งแก่กองร้อยอาวุธเบาได้ ๑ กองร้อย
การจัด บก.พัน. คงเช่นเดียวกับ บก.พัน.ร.ยก
การจัด ร้อย บก. ประกอบด้วยหน่วยต่าง ๆ ดังนี้
- บก.ร้อย.
- ตอน บก.พัน.
- มว.ส. ประกอบด้วย บก.มว., ตอนวิทยุ, ตอนทางสาย
- มว.สน./บร. ประกอบด้วย บก.มว., ตอนส่งกาลัง, ตอนขนส่ง, ตอนสูทกรรม
- มว.ซบร. ประกอบด้วย บก.มว. และ ๒ ตอนซ่อมบารุง
- มว.สร. ประกอบด้วย บก.มว., ตอนที่พยาบาล, ตอนส่งกลับ
ร้อย.สสก.พันร.ยย. มีภารกิจให้การสนับสนุนด้วยการลาดตระเวน การยิงเล็งจาลอง และการป้องกัน
ต่อสู้รถถัง มีการประกอบกาลัง ดังนี้
- บก.ร้อย.
- มว.ลว. ประกอบด้วย บก.มว.และ ๓ หมู่ ลว.
- มว.ค.หนัก ประกอบด้วย บก.มว., ตอนยุทธการและอานวยการยิง, ๓ หมู่ ค.หนัก
- มว.ตถ. ประกอบด้วย บก.มว. และ ๓ หมู่ ตถ.

ร้อย.อวบ. มีภารกิจ คือ เข้าประชิดข้าศึก โดยใช้อานาจการยิง และการดาเนินกลยุทธ์ เพื่อทาลายและ


จับข้าศึก และผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิง การรบประชิดและการตีโต้ตอบ ร้อย.อวบ.สามารถเคลื่อนที่
ได้ ๑๐๐ % เว้น ๒ มว.ปล.
ร้อย.อวบ.มีการประกอบกาลังดังนี้ คือ
- บก.ร้อย.
- มว.อาวุธ ประกอบด้วย บก.มว., ตอน ค.๘๑ มม.ซึ่งมี บก.ตอน และ ๓ หมู่ ค.
- ๘๑ มม., ตอน ตถ. ซึ่งมี บก.ตอน. และ ๒ หมู่ ตถ.
- มว.ปล. ประกอบด้วย บก.มว.และ ๓ หมู่ ปล.
๑ - ๒๐

ร้อย.อวบ.พัน.ร.ยย. ต่างจาก ร้อย.ร.ยก.พัน.ร.ยก. ดังนี้ คือ


- ร้อย.ร.ยก.พัน.ร.ยก. มี ตอน ซบร. แต่ ร้อย.อวบ.พัน.ร.ยย. ไม่มี
- ร้อย.ร.ยก.พัน.ร.ยก. เคลื่อนที่ได้ ๑๐๐ %
- ร้อย.ร.ยก.พัน.ร.ยก. สามารถตั้งยิงอาวุธยิงสนับสนุนบน รสพ.ได้

ตอนที่ ๕
กองพลทหารราบเบา
การจัดกองพลทหารราบเบาของ ทบ.ไทย จัดตามความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของ ทบ.โดยเฉพาะ
สาหรับใช้ในภารกิจสนองตอบผลประโยชน์ของชาติอย่างแท้จริงในด้านการรักษาความมั่นคงภายใน ซึ่งหมาย
รวมถึงการ ปปส. และภารกิจอื่น ๆ ปัจจุบันมี พล.ร.๗ , ๙ , ๑๕ มีการจัดหน่วยตาม อจย. ๗-๒ ประสิทธิภาพ
ภารกิจของกองพลทหารราบเบา คงเป็นเช่นเดียวกับ พล.ร.ตามที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว คือ การทาลายกาลัง
ข้าศึกและการยึดครองพื้นที่ โดยที่ พล.ร.เบา. มีขีดความสามารถ ดังนี้
ก. ทาการรบเป็นอิสระ
ข. สามารถปฏิบัติการรบด้วยวิธีรับและวิธีรุก
ค. ปฏิบัติการรบในภูมิประเทศและลมฟ้าอากาศที่ยากลาบาก
ง. สามารถต่อสู้รถถังได้
จ. สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยยานพาหนะในอัตรา ๑๐๐ %
ฉ. ควบคุมบังคับบัญชาหน่วยดาเนินกลยุทธ์ได้ ๑๕ กองพัน
พล.ร.เบา. มีโครงสร้างการจัดดังนี้ คือ
- บก.และ ร้อย.บก.
- พัน.ม.ลว.
- ร้อย.ลว.ไกล
- ร้อย.บ.
- ร้อย.สห.
- พัน.ช.
- พัน.ส.
- กรม สน. ประกอบด้วย
- บก.และ ร้อย.บก.
- สานักงานส่งกาลัง
- พัน.ขส.
- พัน.ซบร.
- พัน.สร.
๑ - ๒๑
- กรม ป. ประกอบด้วย
- บก.และ ร้อย.บก./บร.
- ๑ พัน.ปตอ.
- ๑ พัน.ปกค.๑๕๕ มม. (ลจ.)
- ๓ พัน.ป.๑๐๕ มม.(ลจ.)
- ๓ กรม ร. ประกอบด้วย
- บก.และ ร้อย.บก.
- ๓ พัน.ร.
๓-๑

ภาคที่ ๓
การปฏิบัติการรบด้วยวิธีรับ
วัตถุประสงค์หลัก
วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติการรบด้วยวิธีรับ เพื่อให้ได้มาซึ่งการบรรลุภารกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ
หลายอย่างดังต่อไปนี้
- ทาลายการเข้าตีของข้าศึก หรือทาให้การเข้าตีของข้าศึกไม่ประสบผลสาเร็จ
- ทาให้ข้าศึกอ่อนกาลัง เพื่อที่จะเปลี่ยนไปสู่การรุก
- ให้ได้เวลา
- รวมกาลัง ณ ตาบลอื่น
- ควบคุมภูมิประเทศสาคัญ หรือภูมิประเทศสาคัญยิ่ง
- ยึดรักษาที่หมาย

คุณลักษณะของการปฏิบัติการรบด้วยวิธีรับ
คุณลักษณะของการรบด้วยวิธีรับมี ๕ ประการ คือ การเตรียมการ การแบ่งแยกและ ทาลาย การรวม
กาลัง ความอ่อนตัว และการระวังป้องกัน (รายละเอียด ดู สรุปหลักพื้นฐาน ชุดที่ ๘)
กรมจะทาการตั้งรับโดย ผสมผสานการยิง, การใช้เครื่องกีดขวาง และการดาเนินกลยุทธ์ เพื่อก่อให้เกิด
ปีกเปิด หรือช่องว่างทางด้านหลังของข้าศึก และทาการขยายผล
การยิงเล็งจาลอง จะหน่วงเหนี่ยวและตัดรอนกาลังข้าศึก ทาให้ข้าศึกต้องปิดป้อมหรือเปลี่ยนแนวทาง
เคลื่อนที่ และจากัดขีดความสามารถในการส่งกาลัง และเพิ่มเติมกาลัง
กรมจะใช้เครื่องกีดขวาง ทั้งที่มีอยู่และที่สร้างขึ้น เพื่อรบกวน ชักจูง และกาหนดรูป ขบวนการเข้าตีของ
ข้าศึกโดยการบีบบังคับข้าศึกให้เข้าไปในพื้นที่ที่ไม่เกื้อกูล ที่ซึ่งกาลังเฉพาะกิจ ผสมเหล่าจะสามารถรวมการยิง
ตรงหน้าและทางปีกได้จากที่มั่นรบที่มีการสนับสนุนซึ่งกันและกัน ในขณะที่กาลังเฉพาะกิจอื่นๆ ทาการโจมตี
ข้าศึกในทางลึก
ในบางภารกิจหรือบางสถานการณ์ กรมอาจได้รับการสนับสนุน หน่วยหรืออาวุธยุทโธปกรณ์พิเศษ
ดังต่อไปนี้
- ฮ.โจมตี จะใช้ทาการคุ้มกัน กาลังขณะตีโต้ตอบหรือกาลังที่ปฏิบัติการ รบหน่วงเวลา โจมตีต่อกาลัง
ข้าศึกในระลอกที่ตามมาในทางลึก
- สงครามอิเล็ก ทรอนิ กส์ จะใช้ในการท าลายขีดความสามารถของข้ าศึ กในการบัง คับ บัญ ชาและ
ควบคุมหน่วย รวมทั้งทาลายความประสานสอดคล้องของ ป.สนาม และการสนับสนุนทางอากาศของข้าศึก
- ควัน จะใช้ในการกาบังที่ตั้งของฝ่ายเรา ตัดแยกกาลังระลอกต่างๆของข้าศึก ลดขีดความสามารถใน
การค้นหาเป้าหมายของข้าศึกและหน่วงเหนี่ยวการดาเนินกลยุทธ์ของข้าศึก
เมื่อแรงหนุนเนื่องในการรุกของข้าศึกเริ่มช้าลง ฝ่ายตั้งรับจะฉวยโอกาสในการเข้าตีด้วยกาลังจานวน
น้อย หรือกาลังที่ยังไม่ได้ใช้ (โดยจะต้องอยู่ในเจตนารมณ์ของหน่วยเหนือ) ฝ่าย ตั้งรับจะได้มาซึ่งความริเริ่มใน
การปฏิ บัติ การทางยุท ธวิธี ด้วยการผสมผสานการทาลายอ านาจก าลั งรบของข้ าศึ กร่วมกั บการปฏิบั ติก าร
จิตวิทยา เพื่อทาลายกาลังใจในการสู้รบของข้าศึก ความมีเสรีในการปฏิบัติการรุกในขณะตั้งรับ จะขึ้นอยู่กับ
เจตนารมณ์ของ ผบ.หน่วยเหนือ ซึ่งบางครั้งกรมอาจได้รับคาสั่งให้ควบคุมภูมิประเทศสาคัญถ้าภูมิประเทศนั้น
เกื้ อ กู ล หรือ ก่ อ ให้ เกิ ด โอกาสส าหรับ หน่ วยเหนื อ ที่ จ ะเปลี่ ย นไปสู่ ก ารรุก การตั้ ง รั บ ของกรมจะต้ อ งด ารง
จุดมุ่งหมายในการให้ได้มาซึ่งความริเริ่ม หรือก่อให้เกิดโอกาสสาหรับหน่วยเหนือที่จะเปลี่ยนไปสู่ การรุก
๓-๒

หลักพื้นฐานการตั้งรับ
การปฏิบัติการตั้งรับที่เหมาะสมจะใช้โอกาสทุกอย่างที่มีอยู่เพื่อครองความริเริ่ม เมื่อข้าศึกที่เข้าตีได้เริ่ม
ปฏิบัติการและเคลื่อนที่เข้าสู่พื้ นที่ตั้งรับ ผบ.กรมจะทาการโจมตีข้าศึกด้วยการยิงและการตีโต้ตอบที่ รุนแรง
ภายในพื้นที่ที่ได้เตรียมไว้ โดยขึ้นอยู่กับการประมาณสถานการณ์ ของ ผบ.กรมเอง และแนวทางในการปฏิบัติ
ของ ผบ.หน่วยเหนือ, ผบ.กรมจะตกลงใจว่าจะรวมกาลังตั้งรับหลัก ณ ที่ใด และจะออมกาลัง ณ ที่ใด จากนั้นก็
จะกาหนดภารกิจ จัดวางกาลัง การยิง และการสนับสนุนอื่นๆ และจัดลาดับความเร่งด่วนของหน่วยต่าง ๆ ใน
การรบ
ผบ.กรมอาจเลือกที่จะทาการตั้งรับหน้าแนวหรือในทางลึกโดยขึ้นอยู่กับปัจจัย METT-TC
สาหรับการตั้งรับด้านหน้าเขตรับผิดชอบ สามารถทาได้ ทั้งโดยการใช้กาลังในแนวหน้าในขั้นต้น หรือ
โดยการวางแผนตีโต้ตอบค่อนไปข้างหน้าของพื้นที่ตั้งรับหลัก หรือข้างหน้าพื้นที่ตั้งรับหลักก็ตาม การตั้งรับ
ในทางลึก อาจใช้เมื่อภารกิจมีข้อจากัดน้อย, เขตการตั้งรับมีความลึก และมีภูมิประเทศสาคัญกระจายอยู่ในทาง
ลึกของเขตปฏิบัติการ การตั้งรับในทางลึกจะขึ้นอยู่กับกาลังส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่ระวังป้องกัน และกาลังส่วน
หน้าในพื้นที่ตั้งรับหลักที่จะค้นหา ที่ตั้งของส่วนปฏิบัติการหลักของข้าศึก ปีกของส่วนปฏิบัติการหลักของข้าศึก
จะถูกตีโต้ตอบ เพื่อให้โดดเดี่ยวและถูกทาลายใน พื้นที่ตั้งรับหลัก

แบบหลักของการตั้งรับ
แบบหลักของการตั้งรับ มี ๒ แบบ คือ การตั้งรับแบบคล่องตัว และ การตั้งรับแบบยึดพื้นที่ เมื่อกรม
เป็น หน่ วยในการตั้งรับแบบคล่ องตัว กรมอาจถูกใช้ในบทบาทรั้ง หน่ วงและ/หรือเป็ นกองหนุ นของกองพล
สาหรับการตั้งรับแบบยึดพื้นที่ กรมอาจจะวางกาลังในพื้นที่ตั้งรับหน้า หรือเป็นกองหนุน
การตั้งรับแบบคล่องตัว จะใช้กองหนุนขนาดใหญ่เพื่อตีโต้ตอบ และทาลายกาลังของข้าศึก
การตั้งรับแบบยึดพื้นที่ จะมีจุดมุ่งหมายอยู่ที่การยึดภูมิประเทศ และทาลายกาลังข้าศึกด้วยการยิงจาก
ที่มั่น ซึ่งมีการสนับสนุนซึ่งกันและกัน
การตั้งรับทั้ง ๒ แบบ จะใช้ทั้งกาลังที่อยู่กับที่ และกาลังที่เคลื่อนที่ เพื่อกาหนดรูปแบบของสนามรบ
ข้อได้เปรียบหลักของฝ่ายตั้งรับ ก็คือ เวลาในการเตรียมการและความคุ้น เคยกับภูมิประเทศ ฝ่ายตั้งรับจะตี
โต้ตอบเพื่อทาลายกาลังข้าศึกที่หยุดชะงักและเสียระเบียบ โดยได้รับการป้องกันจากที่มั่นตั้งรับต่าง ๆ ของตน
ผบ.กรม จัดพื้นที่การรบในการตั้งรับโดยอาจกาหนด เขตรับผิดชอบ, ที่มั่นรบ, จุดต้านทานแข็งแรง หรือทั้ง ๓
แบบผสมกันให้แก่กองพันที่เป็นหน่วยรอง
เขตรับผิดชอบ จะเป็นมาตรการควบคุมที่จากัดน้อยที่สุดซึ่งจะทาให้กองพันมีเสรีในการวางแผนการ
ดาเนินกลยุทธ์และการยิงแบบแยกการ ผบ.พัน . ต่าง ๆ จะมีเสรีอย่างเต็มที่ในการกาหนดที่มั่นหรือดาเนินกล
ยุทธ์ภายในเขตของตน แต่จะต้องป้องกันการเจาะในเขตหลังของตนไว้ด้วย
ที่มั่นรบ จะใช้เมื่อ ผบ.กรม ต้องการระดับการควบคุมที่สูงขึ้นในการดาเนินกลยุทธ์และการกาหนด
ที่ตั้งกองพันต่าง ๆ
จุดต้านทานแข็งแรง เป็นที่มั่นตั้งรับที่มีการดัดแปลงเป็นป้อมค่าย จุดต้านทานเป็นที่มั่นต่อสู้รถถังที่
สาคัญยิ่ง ซึ่งรถถังจะไม่สามารถบดขยี้ หรืออ้อมผ่านได้อย่างง่ายดายและจุดต้านทานที่แข็งแรง สามารถทาลาย
ได้ก็ด้วยทหารราบเท่านั้น รวมทั้งต้องใช้เวลา และกาลัง ที่เหนือกว่าอย่างมาก จุดต้านทานแข็งแรงจะตั้งอยู่
บริเวณภูมิประเทศที่สาคัญต่อการตั้งรับ หรือที่ตั้งซึ่งจะขัดขวางต่อ ข้าศึก จุดต้านทานแข็งแรงสามารถใช้เพื่อ
บังคับ, ยับยั้ง หรือตรึงฝ่ายเข้าตี และจาเป็นต้องใช้การสนับสนุนจากหน่วยทหารช่างเป็นอย่างมาก เพื่อจัดตั้งจุด
ต้านทานแข็งแรงที่สามารถบรรลุภารกิจได้อย่างแท้จริง
๓-๓

กองหนุนอาจถูกจัดให้อยู่ในที่รวมพลหรือในที่มั่นรบก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับภารกิจของกองหนุน สาหรับ


ที่รวมพลจะถูกใช้เมื่อแผนการใช้กองหนุนมีการเคลื่อนที่ไปยังพื้นที่แห่งอื่น และที่มั่นรบจะถูกกาหนดขึ้นเมื่อ
ต้องใช้กองหนุนตั้งรับในทางลึกตามแผนเผชิญเหตุ

โครงร่างของการตั้งรับ
การปฏิบัติการตั้งรับจะถูกจัดออกเป็น ๕ ส่วน ซึ่งมีความประสานสอดคล้องกัน คือ
- การปฏิบัติการทางลึกในพื้นที่ข้างหน้าแนวหน้าการวางกาลังฝ่ายเดียวกัน (FLOT)
- การปฏิบัติการของส่วนระวังป้องกันออกไปข้างหน้าและทางปีกของกาลังตั้งรับ
- การปฏิบัติการตั้งรับในพื้นที่ตั้งรับหลัก
- การปฏิบัติการของกองหนุนเพื่อสนับสนุนกาลังในพื้นที่ตั้งรับหลัก
- การปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลัง
กรมอาจปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ กันภายในโครงร่างของการตั้งรับทั้ง ๕ ส่วนนี้
การปฏิบัติการทางลึก ที่กรมควบคุมส่วนใหญ่จะได้แก่ การขัดขวางทางอากาศในสนามรบ การใช้ ป.
สนาม และสงครามอิเล็กทรอนิกส์ หรือกรมอาจทาการเข้าตีผ่านแนวหน้าการวางกาลังฝ่ายเดียวกันในการปฏิบัติ
ตามแผนการปฏิบัติการทางลึกของหน่วยเหนือ สาหรับการปฏิบัติการทางลึกของกองพัน นั้น สามารถใช้เครื่องยิง
ลูกระเบิดที่มีอยู่ในอัตรา ทาการยิงต่อกาลังระลอกสอง (ระดับกองร้อย) ของฝ่ายตรงข้ามได้
ส่วนระวังป้องกัน ให้กับหน่วยเหนือ โดยเป็นส่วนหนึ่งของส่วนระวัง ป้องกัน หรืออาจทาการระวัง
ป้องกันตนเอง (แม้ว่าจะไม่เป็นสิ่งที่พึงประสงค์ ) โดยปกติกรมจะตั้งรับภายในพื้นที่ตั้งรับหลัก หรือปฏิบัติเป็น
กองหนุนให้กับหน่วยเหนือ
การปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลัง ของกรมจะรวมถึงการป้องกันตนเองของหน่วยต่าง ๆ รวมทั้งการป้องกัน
และรักษาเส้นทางการคมนาคม กรมมักจะกาหนดกาลังทางยุทธวิธี (ระดับกองร้อย) ขึ้น เพื่อตอบโต้การคุกคาม
ของข้าศึก หรือกรมอาจถูกกาหนดให้เป็นกาลังทางยุทธวิธี เพื่อสนับสนุนแผนปฏิบัติการของหน่วยเหนือ
โดยไม่คานึงถึงว่ากรมกาลังปฏิบัติการรบด้วยวิธีรับอยู่ ณ ที่ใด กรมจะทาการตั้งรับ รั้งหน่วง เข้าตี หรือ
เป็นฉากกาบัง โดยเป็นส่วนหนึ่งของการตั้งรับของหน่วยเหนือ แผนการตั้งรับของกรมจะต้องมีความประสาน
สอดคล้องต่อระบบปฏิบั ติการในสนามรบโดยตลอดพื้ นที่ป ฏิบัติก ารตั้ ง รับ ซึ่ง ระบบปฏิบั ติการในสนามรบ
ประกอบด้วย การข่าวกรอง การดาเนินกลยุทธ์ การสนับสนุนทางอากาศ การสนับสนุนจาก ป.สนาม การ
ป้องกันภัยทางอากาศ การสนับสนุนทางการช่าง การสนับสนุนการรบ/การสนับสนุนการช่วยรบ และการบังคับ
บัญชาและการควบคุม

การแบ่งพื้นที่ในการตั้งรับ
พื้นที่ในการตั้งรับ แบ่งออกเป็น ๔ พื้นที่ คือ
๑. พื้นที่ทางลึก
๒. พื้นที่ส่วนระวังป้องกัน
๓. พื้นที่ตั้งรับหลัก
๔. พื้นที่ส่วนหลัง

การวางแผนการตั้งรับ
ผบ.กรม ต้ องเข้าใจอย่า งถ่อ งแท้ ในเจตนารมณ์ ของผบ.พล.และแม่ ทั พ น้ อย และกาหนดแผนการ
ปฏิบัติการของกรมให้สอดคล้องกับแผนโดยส่วนรวม เจตนารมณ์ของ ผบ.พล จะแจ้งอย่างละเอียดทั้งด้วยวาจา
และ/หรือ ลายลักษณ์ อั กษร ซึ่ งจะก าหนดบทบาทของกรมไว้ในการปฏิ บัติการรบภายในกรอบของกองพล
๓-๔

การเข้ าใจในเจตนารมณ์ ของ ผบ.พล. กิ จเฉพาะและกิ จแฝงต่ า งๆ จะก่ อ ให้ เกิ ด ความริ เริ่ ม และประกั น ถึ ง
ความสาเร็จของภารกิจ และในทานองเดียวกัน ผบ.กรม ก็จะแจ้งเจตนารมณ์ของตนต่อหน่วยรองต่อไป
ผบ.กรม ควรวางแผนในส่วนที่สาคัญของแนวตั้งรับร่วมกับ ผบ.พัน ทุกคนของตน ซึ่งถ้าไม่สามารถทา
ได้อย่างน้อยที่สุดควรให้หน่วยรองต่างๆ บรรยายสรุปกลับให้ตนทราบถึงแผนเหล่านั้น ซึ่งจะเป็นการประกันว่า
หน่วยรองต่างๆ เข้าใจในเจตนารมณ์ของตน และจะช่วยเสริมแผนต่างๆ ให้สอดคล้องกับแนวทางในการตั้งรับ
ส่วนรวมทั้งหมด และอย่างน้อยที่สุด ผบ.กรม จะต้องพิจารณาถึง:
- การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว
- อานาจกาลังรบของหน่วยดาเนินกลยุทธ์ของฝ่ายเรา
- ที่ตั้งกองหนุนและแผนการดาเนินกลยุทธ์ของฝ่ายเรา
- ความล่อแหลมต่ออาวุธนิวเคลียร์และเคมีของข้าศึก
- ผลกระทบของการปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลังและในทางลึก
- การใช้อานาจกาลังรบเพิ่มเติม - การยิง, เครื่องกีดขวาง, สงครามอิเล็กทรอนิกส์, บ.ทบ.
- ความสามารถในการสนับสนุนทางการส่งกาลังในแต่ละหนทางปฏิบัติ
- ปัจจัยด้านบุคคล - การฝึก, ขวัญ, ประสบการณ์ของหน่วยรอง

การปฏิบัติการตั้งรับของกรม
การต่อต้านการลาดตระเวน
ลาดับแรกที่กรมจะต้องเอาชนะในการปฏิบัติการรบในการตั้งรับ ก็คือ การต่อต้า นการลาดตระเวนซึ่ง
จะเป็นส่วนหนึ่งที่รวมอยู่ในภารกิจระวังป้องกันของกรม จุดมุ่งหมายในการลาดตระเวนของข้าศึก ก็เพื่อยืนยัน
หรือปฏิเสธความตั้งใจและการวางกาลังของหน่วยที่ข้าศึกจะเข้าตี การต่อต้านการลว.ประกอบด้วยมาตรการ
เชิงรุกที่กาหนดขึ้น เพื่อค้นหา, ตรึง และทาลายพร้อมกับมาตรการเชิงรับที่กาหนดขึ้นเพื่อ ปกปิด, ลวง และ ทา
ให้หน่วยลาดตระเวนของข้าศึกสับสน กรมจะต้องรวมมาตรการเหล่านี้เข้ากับแผนการ ลว. และ การเฝ้าตรวจที่
กาหนดขึ้น เพื่อป้องกันข้าศึกจากการตรวจการณ์และรายงานกาลัง การประกอบกาลังและที่ตั้งของกรมรวมทั้ง
เครื่องกีดขวางต่าง ๆ ข้อเพ่งเล็งหลักของกรมในการต่อต้านการลาดตระเวนก็คือ การให้และการประสานด้าน
ข่าวกรอง และการยิงสนับสนุน เพื่อช่วยกองพันต่าง ๆ ในการพิสูจน์ทราบ, ตรึง และทาลายกาลังลาดตระเวน
ของข้าศึก

การปฏิบัติการในทางลึก
ในการตั้งรับการปฏิบัติการในทางลึกจะป้องกันมิให้ข้าศึกรวมอานาจกาลังรบในการเข้าบดขยี้กาลังฝ่าย
เรา โดยการรบกวนแรงหนุนเนื่องของข้าศึก และทาลายความเป็นปึกแผ่นในการเข้าตีของข้าศึก การใช้การยิง
สนับสนุนและสงครามอิเล็กทรอนิกส์เข้าโจมตีทางลึกอย่างได้ผลจะขึ้นอยู่กับ การจัดเตรียมสนามรบด้านการ
ข่าวและการวางแผนอย่างละเอียด และต่อเนื่อง เพื่อให้การปฏิบัติการในทางลึกได้ผล นยส., ฝอ.๓ และ ฝอ.
๒ ต้องประสานการปฏิบัติกันอย่างเต็มที่และกาหนดการปฏิบัติการในทางลึกต่าง ๆ ในทุกขั้นของการตั้งรับ
การปฏิบัติการระวังป้องกัน
กรม สามารถปฏิบัติการเป็นส่วนระวังป้องกัน โดยเป็นส่วนหนึ่งของแผนการตั้งรับ ของกองพลหรือ
กองทัพน้อย การปฏิบัติการของส่วนระวังป้องกัน ประกอบด้วยส่วนกาบัง (COVER) การคุ้มกัน (GUARD) และ
ฉากกาบัง (SCREEN) แต่ภารกิจที่จะปฏิบัติไ ด้ดีที่สุด ก็คือ การเป็นส่วนกาบัง จุ ดประสงค์พื้น ฐานของส่วน
กาบังในการตั้งรับก็เพื่อ
- เอาชนะและทาลายส่วนลาดตระเวนของข้าศึกที่พยายามเจาะผ่านพื้นที่ของส่วน ระวังป้องกัน
๓-๕

- บังคับให้ข้าศึกต้องกระจายกาลังรวมทั้งบีบบังคับทิศทางเข้าตีของข้าศึกให้เข้าสู่พื้นที่การวางกาลังส่วน
ใหญ่ของฝ่ายเรา
- ให้เวลาแก่ส่วนใหญ่ในการปรับกาลังไปข้างหน้าและในเวลาต่อไป
- ทาลายกาลังข้าศึกในพื้นที่ระวังป้องกันตามภารกิจและขีดความสามารถของส่วนกาบัง
เพื่อปฏิบัติเช่นนี้ กรมจะตั้งรับ หรือรั้งหน่วงเพื่อตัดแยกส่วนลาดตระเวนต่างๆของข้าศึก ทาลายกอง
ระวังหน้า บังคับให้ข้าศึกต้องกระจายกาลังส่วนใหญ่ และทาให้ข้าศึกต้องใช้ ป. และกาลังระลอกที่๒เข้าร่วมใน
การเข้าตีต่อกาลังที่ตั้งรับ เมื่อข้าศึกได้เคลื่อนย้ายกาลังได้ใช้ ป.สนามและรวมกาลังต่าง ๆ สาหรับการเข้าตีหลัก
ก็จะเป็นการเปิดเผยถึงส่วนเข้าตีหลักต่อฝ่ายเรา ส่วนระวังป้องกันของกรมควรพยายามไม่ ให้ข้าศึกทราบถึง
ตาแหน่งที่แท้จริงของพื้นที่ตั้งรับหลัก ในการปฏิบัติเช่นนี้กรมจะทาการรบข้างหน้าพื้นที่ตั้งรับหลักให้ไกลออกไป
ให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ เพื่อให้สามารถเตรียมพื้นที่ตั้งรับหลักได้อย่างสมบูรณ์ หน่วยเหนือจะเป็นผู้กาหนด
พื้นที่ระวังป้องกันโดยเริ่มจากแนวที่คาดว่าจะเริ่มปะทะกับข้าศึก และเลยมาข้างหลังถึงแนวโอนการรบ (BHOL)
กรมเมื่อทาการรบในฐานะเป็นส่วนระวังป้องกัน จะทาการรบตามลาดับจากเขตหรือที่มั่นรบต่าง ๆ ที่มี
การประสานกันเป็นอย่างดี และมีการสนับสนุนซึ่งกันและกัน เมื่อได้รับคาสั่งกรมจะส่งมอบการรบให้แก่กาลัง
ในพื้นที่ตั้งรับหลัก จากนั้นจึงเคลื่อนย้ายไปยังพื้นที่ที่กาหนดและเตรียมที่จะปฏิบัติการอื่น ๆ ต่อไป โดยปกติที่
รวมพลของกรมมักจะอยู่ค่อนไปข้างหลังแต่ยังคงอยู่ในพื้นที่ตั้งรับหลัก ณ ที่รวมพลนี้ กรมจะเพิ่มเติมอาวุธ
น้ามันเชื้อเพลิง จัดกาลังใหม่และเตรียมกลับเข้าปฏิบัติการรบต่อไป

การควบคุมส่วนระวังป้องกัน
ระดับของการบังคับบัญชาที่ใช้ควบคุมส่วนระวังป้องกัน มักจะขึ้นอยู่กับความกว้าง และความลึกของ
พื้นที่ระวังป้องกัน , ขีดความสามารถของ ผบ.หน่วย ในการติดต่อสื่อสารกับหน่วยรอง บก.ควบคุมที่มีอยู่ และ
จานวนของหน่วยระดับกองพันที่ปฏิบัติการในพื้นที่ระวังป้องกัน โดยปกติกองพลหรือกองทั พน้อยจะเป็น ผู้
ควบคุมส่วนระวังป้องกัน

การปฏิบัติการของส่วนระวังป้องกัน
ขนาดและการประกอบกาลังของส่วนระวังป้องกัน จะขึ้นอยู่กับการประมาณสถานการณ์ ของผบ.หน่วย
ซึ่งมีผลมาจากปัจจัย METT-T โดยปกติส่วนระวังป้องกันมักจะจัดรถถังเป็นหลัก กรมซึ่งเป็นส่วนระวังป้องกัน
ของกองพลอาจประกอบด้วย พัน.ฉก. ที่มี ถ. เป็นหลักถึง ๔ กองพัน สมทบด้วยหน่วยลาดตระเวน, ฮ.โจมตี, ป.
สนาม, ปตอ., หน่วยข่าวกรอง และ ช. รวมทั้งอาจ เพิ่มเติมการสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิดให้ เพื่อเพิ่มเติม
อานาจกาลังรบของหน่วยดาเนิน กลยุทธ์ในพื้นที่ระวังป้องกัน หน่วย ป.สนาม ในพื้นที่ตั้งรับหลักจะตั้งล้าไป
ข้างหน้า เพื่อสนับสนุนให้แก่หน่วยในพื้นที่ระวังป้องกัน เมื่อกรมได้รับภารกิจให้เป็นส่วนระวังป้องกัน หน่วย
รองต่าง ๆ จะปฏิบัติภารกิจตามที่ ผบ.กรม กาหนด เนื่องจากการระวังป้องกันจะได้มาก็โดยการให้หน่วย ใน
พื้นที่ตั้งรับหลักมีเวลาที่จะตอบโต้ และมีพื้นที่ในการดาเนินกลยุทธ์ ดังนั้นความลึกของพื้นที่ระวังป้องกันก็จะมี
ผลต่อการแบ่งมอบกาลังและภารกิจ เมื่อเปรียบเทียบเวลา กับระยะทางที่ ต้องการ กรมสามารถแบ่งมอบกาลัง
แก่ส่วนระวังป้องกันให้มากขึ้น หรืออาจมอบระยะทางให้มากขึ้นในพื้นที่ระวังป้องกันก็ได้ โดยถือเป็นหลักข้อ
หนึ่งซึ่งอย่างน้อยที่สุดพื้นที่ระวังป้องกันในการตั้งรับควรมีความลึก ๒๐ กม. เพื่อบังคับให้ข้าศึกต้องใช้กาลัง
สนับสนุน การรบก่อนการเข้าตีต่อพื้นที่ตั้งรับหลัก การเคลื่อนย้ายที่ตั้งของ ป. และ ปตอ. ข้าศึกจะเป็นสิ่งที่
แสดงให้เห็นถึงส่วนปฏิบัติการหลัก เมื่อพื้นที่ระวังป้องกันค่อนข้างตื้น ส่วนระวังป้องกันอาจจะทาได้ก็แต่เพียง
แจ้งเตือนล่วงหน้าถึงการเข้าตีหลัก และขับไล่ส่วนลาดตระเวนของข้าศึกเท่านั้น ส่วนระวังป้องกันไม่จาเป็นต้อง
ถอนตัวออกมาทั้ งหมดโดยทันที เมื่ อกาลังข้าศึกส่วนแรกเคลื่อนที่ ถึงพื้ นที่ตั้ งรับหลัก การถอนตัวแบบทยอย
๓-๖

จะช่วยให้โอกาสแห่งความสาเร็จของส่วนรวมดีขึ้น แม้ว่ากาลังบางส่วนของส่วนระวังป้องกันได้ถอนตัวตาม
แนวทางเคลื่อนที่ต่าง ๆ เข้ามาแล้ว กาลังส่วนระวังป้องกันที่เหลือก็จะทาการรบต่อไป และดารงการเฝ้าตรวจ
ต่อไปข้างหน้าพื้นที่ตั้งรับหลัก ซึ่งสิ่งนี้จะเป็นการรบกวนการประสานงานและการลาดตระเวนของข้าศึก การ
ถอนตัวแบบทยอยของส่วนระวังป้องกัน จะสามารถเกื้อกูลต่อการตีโต้ตอบหน้าพื้ นที่ตั้งรับหลักได้โดยรายงาน
การตรวจการณ์ และแจ้งถึงปี กเปิดของข้าศึกที่ เจาะเข้ามา ในบางครั้ง ส่วนระวัง ป้องกันสามารถใช้โจมตีต่ อ
ด้านหลังของกาลังระลอกแรกก็ได้หรือ อาจใช้ระหว่างกาลังระลอกต่าง ๆ เพื่อตัดแยกหน่วยนาของข้าศึกก็ได้
ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ฮ.โจมตีจะเป็นกองหนุนในการ ตีโต้ตอบในเวลากลางวันที่ดียิ่งของส่วนระวังป้องกัน

การโอนการรบ
กรมในพื้นที่ตั้งรับหลักเข้ารับผิดชอบการรบ เมื่อส่วนระวังป้องกันต่าง ๆ เริ่มถอนกาลัง รบผ่านแนวโอน
การรบ ซึ่ง ผบ.หน่วยเหนือจะเป็นผู้กาหนดแนวโอนการรบ ส่วน ผบ.หน่วยในพื้นที่ตั้งรับหลัก และ ผบ.หน่วย
ระวังป้องกัน จะประสานแนวโอนการรบที่แน่นอน และเสนอแนะการเปลี่ยนแปลงต่อ ผบ.หน่วยเหนือ แนวโอน
การรบเป็นแนวที่กาหนดขึ้นบนภูมิประเทศในลักษณะของแนวขั้น และจะกาหนดไว้ในแผน/คาสั่งยุทธการ หรือ
คาสั่งเป็นส่วน ๆ ตามความเหมาะสม รวมทั้งจะต้องกาหนดมาตรการควบคุมบนภูมิประเทศในการผ่านแนวมาข้าง
หลังขึ้นด้วย แนวโอนการรบจะเป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างพื้นที่ของส่วนระวังป้องกัน และพื้นที่ของหน่วยในพื้น
ที่ตั้งรับหลัก กาลังส่วนใหญ่ของหน่วยในพื้นที่ตั้งรับหลักมักจะวางกาลังอยู่ระหว่าง ขนพร.และเส้นเขตหลังของ
กรม แต่อย่างไรก็ตาม ผบ.หน่วยในพื้นที่ ตั้งรับหลักจะควบคุมพื้ นที่หน้าแนว ขนพร.ไปจนถึงแนวโอนการรบ
ผบ.พื้นที่ตั้งรับหลักสามารถจัดส่วนระวังป้องกัน , เครื่องกีดขวาง และการยิงในพื้นที่นี้ เพื่อหันเหข้าศึกหรือเพื่อ
ช่วยในการถอนตัวของส่วนระวังป้องกั น แนวโอนการรบจะแสดงถึงตาบลที่ส่วนระวังป้องกันจะส่งมอบการ
ควบคุมการรบให้กับกาลังใน พื้นที่ตั้งรับหลัก แนวโอนการรบมักจะอยู่ในระยะ ๒-๔ กม.หน้าแนว ขนพร. ซึ่ง
กาลังในพื้นที่ ตั้งรับหลักจะสามารถใช้การยิงเล็งตรง และการยิงเล็งจาลองที่มีการตรวจการณ์ต่อข้าศึก เพื่ อ
ช่วยเหลือการปฏิบัติต่างๆ ของส่วนระวังป้องกันตามความเหมาะสม (เช่น การผละจากการรบ, การถอนตัว ,
หรือการผ่านแนว) และหน่วยในพื้นที่ตั้งรับหลักจะประสานช่องทางผ่านแนว และรายละเอียดอื่น ๆ ถ้าทาได้
ควรกาหนดเส้นแบ่งเขตทางข้างของหน่วยที่เป็นส่วนระวังป้องกันให้สอดคล้องกันกับเส้นแบ่งเขตของกรมต่างๆ
ในพื้นที่ตั้งรับหลัก กรมจะใช้ข้อพิจารณาเดียวกันนี้ในการจัด และควบคุมส่วนระวังป้องกันของตน ส่วนระวัง
ป้องกันจะยังคงดารงเสรีในการดาเนินกลยุทธ์ไว้ จนกว่าจะได้ผ่านแนวโอนการรบ ส่วนระวังป้องกันควรถอนตัว
ผ่ า นหน่ ว ยในพื้ น ที่ ตั้ ง รั บ หลั ก ให้ เร็ ว ที่ สุ ด เท่ า ที่ ท าได้ โดยการใช้ จุ ด ผ่ า นหลายๆ จุ ด หน่ ว ย ป.ชร. และ
ป.ชร.- พย. ในพื้นที่ระวังป้องกันจะผ่านจุดผ่านต่างๆ ก่อนหน่วย ป.ชต., ป.พย. และที่ขึ้นสมทบในพื้นที่ระวัง
ป้องกัน เมื่อหน่วย ป.ชร.และป.ชร.- พย. อยู่ในที่ตั้งพร้อมที่จะสนับสนุนแล้ว หน่วย ป. ที่ยังเหลืออยู่ก็จะผ่าน
จุดผ่านต่าง ๆ ก่อนกาลังส่วนดาเนินกลยุทธ์ และเมื่อหลังจากส่งมอบการรบ การจัด ป. เข้าทาการรบและความ
รับผิดชอบในการยิงสนับสนุนก็จะเปลี่ยนไปเท่าที่จาเป็น เพื่อสนับสนุนพื้นที่ตั้งรับหลัก
๓-๗

พื้นที่ตั้งรับหลัก
ส่วนมากผลของการรบมักจะตัดสินกันในพื้นที่ตั้งรับหลัก กรมต่างๆ จะต้องปรับการปฏิบัติของส่วนตั้ง
รับหลัก เพื่อทาลายการเข้าตีโดยขึ้นอยู่กับข่าวสารที่ได้รับในระหว่างการ ปฏิบัติการของส่วนระวังป้องกัน กรมที่
ปฏิบัติการตั้งรับจะรวบรวมกาลังที่เข้มแข็งที่สุดเท่าที่ทาได้ เพื่อการปฏิบัติการแตกหักต่อส่วนเข้าตีหลักของข้าศึก
และใช้หน่วยเหล่านี้ปฏิบัติด้วยความรุน แรงที่สุดเท่าที่จะทาได้ เมื่อข้าศึกเข้าปฏิบัติการในพื้นที่ตั้งรับหลัก กรม
ต่าง ๆ จะอานวยการและควบคุมการรบโดยใช้การยิงเล็งตรง, การยิงเล็ง จาลอง และการดาเนินกลยุทธ์ต่ อ
ข้าศึกที่เข้าโจมตี การสนับสนุนทางอากาศ, สงครามอิเล็กทรอนิกส์, ฮ.โจมตี, ช.สนาม, อาวุธต่อสู้อากาศยาน,
การยิงสนับสนุนจากกาลังทางเรือ, ป.ชร. และ ป.ชต. จะช่วยกองพันดาเนินกลยุทธ์ในการทาลายกรมของข้าศึก
ที่ทาการเข้าตี กองพลจะสนับสนุนการสู้รบของกรมได้โดยการเพิ่มเติมกาลัง, การสนับสนุนการรบ และการ
สนับสนุนการช่วยรบ, อานวยการปฏิบัติการของกรมในแนวหน้า และใช้กองหนุนของกองพลเมื่อจาเป็น พร้อม
กันนี้กองพลจะปฏิบัติการรบต่อกาลังระลอกหลังของข้าศึก, อานวยการในเรื่องฉากขัดขวางของ ช.พล และการ
ยิงต่อต้าน ป. การปฏิบัติการของกรมจะเน้นในการปฏิบัติการตามแผนของกองพันต่างๆ ซึ่งอยู่ในแนวทางการ
ปฏิบัติเป็นส่วนรวมของกรม และใช้ความริเริ่มของแต่ละกองพันให้สอดคล้องกับภารกิจต่างๆ ตามคาสั่ง กรม
จะกาหนดส่วนปฏิบัติการหลักขึ้นหนึ่งส่วน โดยที่แผนของกองพันต่างๆ และการปฏิบัติของหน่วยสนับสนุนการ
รบ จะต้องสอดคล้องกันเพื่อสนับสนุนส่วนปฏิ บัติการหลักนี้ ผบ.กรม และ ผบ.พัน. จะวางแผนและลาดตระเวน
เขตรับผิดชอบ, ที่หมายตีโต้ตอบ, เส้นทางตีโต้ตอบและที่มั่นรบต่างๆ ในทางลึกโดยตลอดพื้นที่ปฏิบัติการของตน
ผบ.หน่วยจะอานวยการรบได้โดยการกาหนดเขตหรือที่มั่นที่จะให้หน่วยต่างๆ เข้ายึดครอง, กาหนดสิ่งที่หน่วย
ต่าง ๆ จะต้องปฏิบัติ ณ ที่มั่น เหล่านั้น (ตั้งรับ, รบหน่วงเวลา, เข้าตี หรือระวังป้องกัน) และกรรมวิธีในการยิง
สนับสนุน ซึ่งจะสนธิรวมเข้ากับการรบในแต่ละพื้นที่ กรมจะทาการตั้งรับ โดยทาให้ข้าศึกต้องเผชิญกับกองพัน
ที่เข้มแข็งซึ่งตั้งอยู่ในเขตของกรม เมื่อหน่วยเข้าตีของข้าศึกเคลื่อนที่เข้าสู่พื้นที่ตั้งรับหลัก กรมก็จะทาการหน่วง
เหนี่ยว, ยับยั้ง, แยก, หรือโจมตีต่อข้าศึกโดยกรมจะใช้การยิงตรงหน้าและทางปีกจาก พัน.ฉก.ที่อยู่ในที่ตั้ง และ ฮ.
โจมตี การซุ่มโจมตีและการใช้กองหนุนต่อปีกและหลังของข้าศึก และการรวมการยิงสนับสนุ นที่เป็นกลุ่มก้อน
เครื่องกีดขวางต่าง ๆ จะถูกใช้เพื่อหน่วงเหนี่ยว, ชักจูง และรบกวนการปฏิบัติของข้าศึก เครื่องกีดขวางและการ
ยิงจะเป็นส่วนสาคัญยิ่งในการ ตัดแยกการรวมกาลังของข้าศึก, ลดขีดความสามารถในการเคลื่อนย้าย และทาให้
การบังคับบัญชาและการควบคุมของข้าศึกสับสนโดยบังคับให้ข้าศึกต้องทาการรบหลายทิศทาง แผนของ ผบ.กรม
มักจะรวมการตั้งรับในพื้นที่โล่งแจ้งและตาบลบังคับต่าง ๆ เข้าด้วยกัน การตีโต้ตอบจะถูกใช้เพื่อขยายผลต่อ
กาลังข้าศึกที่แยกจากกัน ซึ่งมักจะเกิดขึ้นเสมอ ผบ.กรม และผู้วางแผนจะต้องตระหนักถึงความเป็นไปได้ของ
การเจาะในพื้นที่ตั้งรับหลัก เมื่อกรมสู้รบกับหน่วยเคลื่อนที่เร็วขนาดใหญ่ ผบ.กรมอาจอนุญาตให้มีการเจาะใน
บางส่วนตามแนวความคิดในการปฏิบัติ ถ้าการเจาะในพื้นที่ตั้งรับหลักหรือการแยกจากกันของหน่วยข้างเคียง
เกิดขึ้น กาลังในพื้นที่ตั้งรับหลัก ก็จะต้องทาการสู้รบต่อไปภายในเจตนารมณ์ของผบ.หน่วย ซึ่งแต่ละหน่วยจะ
ทาการป้ องกั น ปี ก ของตนเอง ผบ.กรม จะย้ ายการยิ งสนั บสนุนเพื่ อลดขี ดความสามารถของข้าศึกในการใช้
ประโยชน์จากการเจาะนั้น การเตรียมแผนการตีโต้ตอบจะถูกรวมเข้าไว้กับการต่อสู้ในพื้นที่การรบหลัก

การปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลัง
พื้นที่ส่วนหลังของกรม จะเริ่มจากเส้นเขตหลังของกองพันในแนวหน้าไปยังเส้นเขตหลังของกรม หน่วย
ต่าง ๆ ในพื้นที่ส่วนหลังของกรมจะรับผิดชอบในการวางแผนป้องกันต่อการคุกคามของข้าศึก การปฏิบัติต่าง ๆ
ต่อการคุกคามในพื้นที่ส่วนหลังจะมีผลทาให้ภารกิจของกรมต้องเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมาก การยิงสนับสนุนซึ่ง
มีขีดความสามารถในการย้ายการยิงในพื้นที่การรบได้เร็วกว่าอานาจกาลังรบแบบอื่น ๆ จะเป็นหัวใจสาคัญใน
การปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลัง
๔-๑

ภาคที่ ๔
การปฏิบัติการรบด้วยวิธีร่นถอย

การปฏิบัติการด้วยวิธีร่นถอย เป็นการเคลื่อนย้ายกาลังลงไปข้างหลังหรือออกห่างจากข้าศึก อาจเป็น


การปฏิบัติที่ถูกบีบบังคับ หรือด้วยความสมัครใจก็ได้ แต่อย่างไรก็ตาม จะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา
หน่วยเหนือก่อนเสมอ การรบด้วยวิธีร่นถอย แบ่งออกเป็น ๓ แบบ คือ
๑) การรบหน่วงเวลา
๒) การถอนตัว
๓) การถอย
การถอนตัวนอกความกดดันของข้าศึก
กองพันในแนวหน้าจะต้องกาหนดให้มีกาลังส่วนที่เหลือไว้ปะทะ ทาหน้าที่ป้องกันในระหว่างการถอน
ตัวของกาลังส่วนใหญ่ ซึ่งกาลังส่วนที่เหลื อไว้ปะทะ จะปฏิบัติภารกิจให้สาเร็จได้ ต้องอาศัยการรักษาความลับ
และการลวง รวมทั้งการต้านทานตามขีดความสามารถของตน
ผบ.กรม ร. จะเป็นผู้กาหนดเวลาการถอนตัวของส่วนที่เหลือไว้ปะทะทั้งหมดของกรม ร. โดยให้ถอนตัว
ตามคาสั่ง, ถอนตัวตามเวลาที่กาหนดเอาไว้ หรือถอนตัวเมื่อมีเหตุการณ์ที่มิได้คาดคิดเกิดขึ้น
ผบ.พัน.ร. เป็นผู้กาหนดขนาด และการประกอบกาลังของส่วนที่เหลือไว้ปะทะของกองพัน ภายใต้ข้อจากัด
ที่ ผบ.กรม กาหนดเอาไว้ ปกติจะมีกาลัง ไม่เกินหนึ่งในสามของกาลัง ถือปืนเล็กของ ร้อย.อวบ.ในแนวหน้า
เพิ่มเติมด้วยกาลังหนึ่งในสองของอาวุธยิงสนับสนุน
กาลังส่วนที่เหลือไว้ปะทะจะต้องพยายามปฏิบัติการต่างๆ ให้เหมือนกับกาลังส่วนใหญ่ยังอยู่ให้มาก
ที่สุด พัน.ร.จะต้องจัดให้มีกาลังหนึ่งในสองของอาวุธยิงสนับสนุน เพื่อทาการยิงสนับสนุนให้แก่ส่วนที่เหลือไว้
ปะทะ ปกติ มว.ลว.พัน.ร. จะปฏิบัติหน้าที่เป็นกองหนุนของส่วนที่เหลือไว้ปะทะ สาหรับผู้บังคับบัญชาของ
กาลังส่วนที่เหลือไว้ปะทะ มักจะเป็น รอง ผบ.พัน.ร.

การถอนตัวภายใต้การกดดันของข้าศึก
ถ้าสามารถทาได้ควรหลีกเลี่ยงการถอนตัวภายใต้ความกดดันของข้าศึก หากจาเป็นต้องปฏิบัติ กอง
พันในแนว ขนพร. จะต้องจัดให้มีส่วนกาบังเพื่อให้การป้องกันแก่ส่วนที่ทาการถอนตัว กาลังของหน่วยต่าง ๆ
ในแนวหน้าทุกหน่วยคงทาการถอนตัวออกมาพร้อมกันทั้งหมด โดยไม่ต้องเหลือ กาลังไว้เป็นส่วนที่เหลือไว้ปะทะ
ความสาเร็จของการถอนตัวภายใต้ความกดดันของข้าศึกส่วนใหญ่ย่อมขึ้นอยู่กับการครองอากาศเฉพาะบริเวณ
เป็นการชั่วคราว และการใช้ส่วนกาบังต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
ตามปกติส่วนกาบังของกองพัน ก็คือ กองหนุนของกองพันที่ได้รับการเพิ่มเติมกาลังด้วยหน่วยดาเนินกล
ยุทธ์ และอาวุธยิงสนับสนุนต่างๆ ภารกิจหลัก คือ การจัดการระวังป้องกันให้กับการถอนตัวของกองร้อยต่างๆ
ในแนวหน้า แต่ถ้ามีความจาเป็นอาจจะต้องใช้ส่วนกาบังเพื่อช่วยเหลือหน่วยต่าง ๆ ในการผละออกจากข้าศึก
และปฏิบัติการเชิงรุกต่อที่หมายจากัดด้วยก็ได้
ในการถอนตัวภายใต้ความกดดันของข้าศึก ผบ.พัน.ร. จะเป็นผู้กาหนดลาดับความเร่งด่วนในการถอนตัว
ให้กับกองร้อยในแนวหน้า แต่ถ้าสถานการณ์ข้าศึกและภูมิประเทศอานวยแล้ว หน่วยต่าง ๆ ในแนวหน้าทุก
หน่วยควรจะทาการถอนตัวพร้อมกัน ซึ่งหากไม่สามารถทาได้ จะต้องให้หน่วยที่มีการรบติดพันน้อยที่สุด หรือ
ถูกข้าศึกกดดันน้อยที่สุด ทาการถอนตัวก่อนเป็นอันดับแรก
พัน .ร.อาจได้รับภารกิจให้ปฏิบัติการเป็น ส่วนกาบังของ กรม ร.ในการถอนตัวภายใต้การกดดันของ
ข้าศึก พัน.ร.จะปฏิบัติภารกิจนี้ให้สาเร็จได้โดย
๑) หน่วงเหนี่ยวข้าศึกด้วยการใช้ระเบิดทาลายและเครื่องกีดขวาง
๔-๒

๒) ใช้การยิงระยะไกล
๓) ทาการตีโต้ตอบเมื่อสถานการณ์อานวย
๔) คุ้มครองการถอนตัวของตนเอง
การรบหน่วงเวลา เป็นการรบที่จะต้องพยายามทาความสูญเสียและหน่วงเหนี่ยวให้ข้าศึกเสียเวลาให้
มากที่สุด โดยไม่ทาการรบติดพันแตกหัก พัน.ร.อาจจะปฏิบัติการรบหน่วงเวลาเป็นอิสระ หรืออาจจะปฏิบัติการ
เป็นส่วนหนึ่งของกาลังส่วนใหญ่ก็ได้
ในการรบหน่วงเวลา พัน.ร.มักจะได้รับมอบกว้างด้านหน้ามากกว่าการตั้งรับแบบยึดพื้นที่ กองพันจึงจัด
ระเบียบที่มั่น โดยวางกาลังหมวดต่าง ๆ ไว้บนแนว ขนพร.ให้มากขึ้น ร้อย.อวบ. วางกาลัง ๓ มว.ปล.เคียงกัน
หรือโดยยอมให้เกิดช่องว่างระหว่างหมวดและกองร้อยให้มากขึ้น ก็ได้ แต่ต้องคุ้มครองช่องว่างด้วยการใช้การ
ลาดตระเวน, ที่ตรวจการณ์, ที่ฟังการณ์, การยิง หรือวิธีอื่น ๆ
ในการปฏิบัติการรบด้วยวิธีร่นถอยนั้น จะนาเอาหลักการของการรบด้วยวิธีรุก , รับ และรบหน่วงเวลา
มาใช้อย่างเหมาะสม และจะต้องขยายผลต่อข้าศึกที่ได้รับความเสียหายทันทีเมื่อมีโอกาส
การปฏิบัติการรบด้วยวิธีร่นถอย แบ่งออกเป็น ๓ แบบ คือ การรบหน่วงเวลา, การถอนตัว และการถอย
ซึ่งการปฏิบัติการทั้ง ๓ แบบ สามารถที่จะปฏิบัติการไปพร้อม ๆ กันได้ ด้วยกาลังส่วนต่าง ๆ ของ กรม ร.
ในการปฏิบัติการรบด้วยวิธีร่น ถอย เมื่อข้าศึกทาการรุกคืบหน้าเร็วเกินไป และขยายแนวกว้างมาก
ทาให้เกิดช่องว่างในการวางกาลัง ในสถานการณ์เช่นนี้ ผบ.กรม ร.จะต้องเข้าตีและทาลายกาลังข้าศึกด้วยส่วน
ดาเนินกลยุทธ์
ในการพิจารณาเลือกภูมิประเทศที่จะใช้ในการปฏิบัติการรบด้วยวิธีร่นถอยในแง่ของการยิงและการ
ตรวจการณ์นั้น ฝ่ายเราจะต้องพิจารณาเลือกภูมิประเทศที่ สามารถอานวยให้ทาการตรวจการณ์และทาการยิง
ได้ในระยะไกล ซึ่งจะทาให้ฝ่ายเราสามารถที่จะปะทะกับข้าศึกได้ตั้งแต่ข้าศึกยังอยู่ห่างไกล
ในการปฏิบัติการรบด้วยวิธีร่นถอย จะต้องพยายามใช้เครื่องกีดขวางทั้งตามธรรมชาติและที่สร้างขึ้นให้
เกิดประโยชน์แก่ฝ่ายเราให้มากที่สุด เพื่อช่วยให้การรั้งหน่วงข้าศึก , ป้องกันปีก, คุ้มครองช่องว่างและช่วยใน
การผละจากการรบ การควบคุมภูมิประเทศสาคัญและแนวทางเคลื่อนที่ จะทาให้ลดความสามารถของข้าศึกใน
การที่จะโอบล้อม หรือทาการสู้รบแตกหักกับฝ่ายเราได้
แผนการปฏิบัติการรบด้วยวิธีร่นถอยจะต้องกระทาแบบรวมการ แต่ปฏิบัติแบบแยกการ เนื่องจากมักจะ
เป็นการปฏิบัติในพื้นที่กว้างขวางและมีขนาดใหญ่มาก ซึ่งจะก่อให้เกิดความยุ่ง ยากในเรื่องการติดต่อสื่อสารและ
การควบคุมบังคับบัญ ชา ดังนั้น แผนจึงต้องมีรายละเอียดเพียงพอ และมีความอ่อนตัว เพื่อให้หน่วยรอง
สามารถปฏิบัติภารกิจได้ แม้ว่าจะขาดการติดต่อกับหน่วยเหนือก็ตาม
ในการปฏิบัติการรบด้วยวิธีร่นถอย ไม่ว่าจะเป็นแบบใด และในสถานการณ์ใดก็ตามก่อนการปฏิบัติการ
จะต้องได้รับอนุมัติจาก ผบ.หน่วยเหนือ ก่อนเสมอ และในการปฏิบัติอาจจะเริ่มต้นด้วยการปฏิบัติการแบบใด
แบบหนึ่งก่อน หรืออาจจะปฏิบัติไปพร้อม ๆ กันก็ได้ แต่ถ้าเป็นหน่วยในพื้นที่ตั้งรับหน้า จะต้องเริ่มด้วยการรบ
หน่วงเวลาหรือถอนตัวก่อนเสมอ
ในการจัดกาลังเข้าทาการรบในการรบด้วยวิธีร่นถอย จะต้องประกันว่าได้ก่อให้เกิด ความอ่อนตัวอย่าง
สูงสุด และสามารถใช้ประโยชน์จากกาลังต่าง ๆ ได้อย่างเต็มที่ โดยสอดคล้องกับแบบของการปฏิบัติการและ
ภารกิจที่จะต้องปฏิบัติ ผบ.หน่วย ควรสมทบหน่วยสนับสนุนทางการช่วยรบให้กับหน่วยดาเนินกลยุทธ์ เพราะ
การร่นถอยมักจะต้องปฏิบัติด้วยความรวดเร็ว

การรบหน่วงเวลา เป็นการปฏิบัติการที่ยอมเสียพื้นที่ให้ได้เวลา แต่ในขณะเดียวกันก็ พยายามที่จะทา


ความเสียหายให้แก่กาลังของฝ่ายข้าศึกให้มากที่สุด โดยจะหลีกเลี่ยงการรบติดพันแตกหักกับข้าศึก การรบหน่วง
๔-๓

เวลาอาจกระทาได้ ๒ วิธี คือ การรบหน่วงเวลา ณ ที่มั่นตามลาดับขั้น และการรบหน่วงเวลา ณ ที่มั่นสลับขั้น


นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทั้ง ๒ วิธีผสมกัน และทาการรบหน่วงเวลาอย่างต่อเนื่อง
มาตรการควบคุมในการรบหน่วงเวลา อาจรวมทั้งการกาหนดที่มั่นรั้งหน่วง, เขตปฏิบัติการ และเส้นทาง
ในการเคลื่อนที่ ถ้าถนนมีจานวนจากัด จะต้องกาหนดลาดับความเร่งด่วนในการใช้เส้นทางเหล่านั้นเอาไว้ด้วย
กองพลอาจกาหนดมาตรการควบคุมไว้แต่เพียงเขตปฏิบัติการและแนวขั้นการปฏิบัติ โดยกาหนดให้ยึดรักษาที่
มั่นเอาไว้ในช่วงระยะเวลาที่แน่นอน หรือจนกว่าสถานการณ์ที่กาหนดจะเกิดขึ้น
ในการรบหน่วงเวลา ควรมีการใช้การติดต่อสื่อสารทางสายให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้โดยเฉพาะ ณ ที่
มั่นหน่วงเวลาขั้นต้น ส่วนการส่งข่าวทางวิทยุนั้นควรใช้ให้น้อย เพื่อป้องกันมิให้ข้าศึกสามารถกาหนดที่ตั้งของ
ฝ่ายเราได้
ในภูมิประเทศที่อานวยต่อการดาเนินกลยุทธ์ หน่วยบรรทุกยานเกราะ และหน่วยยานเกราะ เป็นหน่วยที่
เหมาะสมที่สุดในการรบหน่วงเวลา สาหรับในสภาพการณ์ทั่ว ๆ ไป หรือภูมิประเทศ ที่ไม่ราบเรียบ การผสม
หน่ วยทหารราบ กั บหน่ วยบรรทุ กยานยนต์ หุ้ มเกราะ และหน่ ว ยยานเกราะ จะท าให้ ส ามารถด าเนิ น การ
ปฏิบัติการอย่างได้ผล
กรม ร. อาจด าเนิ น การรบหน่ว งเวลาเป็น อิ สระ หรือเป็ น ส่วนหนึ่ ง ของก าลัง ส่ วนใหญ่ แ ละอาจจะ
ปฏิบัติการรบได้ ๒ กรณี คือ ทาหน้าที่เป็นส่วนกาบังของกองทัพ หรือเป็นกาลัง ส่วนใหญ่ของกาลังในพื้นที่ตั้ง
รับหน้าของกองพล ในการดาเนินการรบหน่วงเวลานั้น เมื่อกว้างด้านหน้ามาก, กาลังที่ใช้รบหน่วงเวลามีน้อย
และมีความคล่องแคล่วอยู่ในระดับสูง ก็อาจทาการรบหน่วงเวลา ณ ที่มั่นตามลาดับขั้น แต่ถ้าภูมิประเทศไม่
อานวย, เขตปฏิบัติการแคบ, มีกาลังที่ใช้รบหน่วงเวลามาก ข้าศึกมีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่สูงกว่าฝ่าย
เรา ก็ควรใช้การรบหน่วงเวลา ณ ที่มั่นสลับขั้น
ตามปกติการรบหน่ วงเวลามั กจะเป็ นการปฏิบั ติที่ ก ระท าต่อจากการบด้ วยวิธี รับ ผู้บั ง คับ หน่ วยที่
ปฏิบัติการรบหน่วงเวลา จัดกาลังออกเป็น ๓ ส่วน คือ ส่วนระวังป้องกัน, ส่วนรบหน่วงเวลา และส่วนกองหนุน
คาสั่งการรบหน่วงเวลาที่ กรม ร. ได้รับจาก บก.หน่วยเหนือนั้น ตามธรรมดาจะระบุเส้นแบ่งเขต, แนว
ขั้นการปฏิบัติ, กาหนดเวลาที่ต้องการสาหรับให้หน่วยทาการรบหน่วงเวลา, ที่มั่นรบหน่วงเวลาขั้นแรก และ
แนวซึ่งการรบหน่วงเวลาขั้นสุดท้าย ในคาสั่งอาจจะกล่าวถึง ที่มั่นรบหน่วงเวลาระหว่างแนวแรกกับแนว
สุดท้ายด้วยก็ได้
ผบ.กรม ร. จะประเมิ น ค่าพื้ น ที่ซึ่ ง หน่วยจะต้ องปฏิ บัติ การรบหน่ วงเวลาภายในนั้น โดยพิ จารณา
เปรียบเทียบความสามารถในการจราจร, เครื่องกีดขวาง, ภูมิประเทศสาคัญ , ข่ายถนนและเส้นทางถอนตัว ,
ความสามารถในการป้องกันพื้นที่ และความกว้างของพื้นที่
ในการเลือกที่มั่นในการรบหน่วงเวลา ควรพิจารณาภูมิประเทศที่มีลักษณะ ดังนี้ คือ
(๑) เป็นสันเนินทอดขวางแนวรุกของข้าศึก
(๒) มีลาน้าลุยข้ามไม่ได้ ที่ลุ่ม ทะเลสาบ และเครื่องกีดขวางอื่นทั้งทางหน้าและทางปีก
(๓) เป็นที่สูงมีการตรวจการณ์ดีและพื้นยิงไกล
(๔) เส้นทางถอนตัวที่มีการกาบังและซ่อนพราง
(๕) ข่ายถนนและ/หรือพื้นที่ซึ่งให้ความสามารถในการจราจรดี
โดยปกติการรบหน่วงเวลาจะมีกว้างด้านหน้าเพิ่มขึ้น เป็นสองเท่าของการตั้ง รับแบบยึด พื้นที่ (ลงไป
จนถึงหน่วยระดับกองร้อย) สาหรับหน่วยระดับหมวดลงไปคงมีกว้างด้านหน้าเท่า กับการตั้งรับตามปกติ กองร้อย
อาจจะวางกาลังสามหมวดเคียงกันหรืออาจจะเพิ่มระยะเคียงระหว่างหมวดให้มากขึ้น ระยะเคียงที่เกิดขึ้นนี้
รักษาได้ด้วยการยิง, การตรวจการณ์ และเครื่องกีดขวาง
๔-๔

ผบ.กรม ร.จะจัดวางกองหนุนของกรม ณ ตาบลที่สามารถใช้กาลังป้องกันปีก และคุ้มครองการถอนตัว


ของหน่วยจากแนวรบหน่วงเวลาหน้าได้ ผบ.กรม จะกาหนดกาลังและการประกอบกาลังของกองหนุนของกรม
โดยยึดถือเอาความจาเป็นในการป้องกันปีกข้างหนึ่ง หรือทั้งสองข้างเป็นพื้นฐานขั้นต้น
ในกรณีที่หน่วยข้างเคียง (ในการปฏิบัติการถอนตัว) ไม่ได้จัดกาลังในลักษณะที่จะป้อง กันการโอบของ
ข้าศึกต่อหน่วยที่ทาการถอนตัวแล้ว ผบ.กรม ร. จะต้องส่งกองหนุนออกไปปฏิบัติหน้าที่นี้
ในกรณี ที่กาลังส่วนที่รั้งหน่วงถูกข้าศึกเจาะที่มั่นรบหน่วงเวลาเข้ามาได้ และถูกบังคับให้ละทิ้งที่มั่น
ผบ.กรม ร. จะต้องประมาณกาลังของข้าศึกที่เผชิญ อยู่ ถ้ามีหนทางเป็นไปได้และเหมาะสม อาจสั่งการเข้าตี
โต้ตอบเพื่อยับยั้งการเจาะของข้าศึก การเจาะขนาดเล็ก อาจถูกทาลายได้ด้วยการยิง หรือการตีโต้ตอบ หรือ
การตรึงเพื่อ คอยการปฏิบั ติการถอนตัวของก าลัง ส่วนใหญ่ กรม ร. จะไม่ล ะทิ้ง ที่มั่ นรบหน่ วงเวลาโดยการ
พิจารณาการเจาะแต่เพียงลาพังเพียงอย่างเดียว เว้นเสียแต่ว่าการเจาะนั้นจะมีขนาดใหญ่จนเป็นอันตรายต่อที่
มั่นทั้งแนวได้
การถอนตัว คือ การปฏิบัติซึ่งกาลังทั้งหมดหรือบางส่วนของหน่วยซึ่งปะทะอยู่กับข้าศึก ผละออกจาก
การรบ อาจจะเป็นการปฏิบัติด้วยความสมัครใจ หรือถูกบีบบังคับจากข้าศึก โดยกาลังบางส่วนจะยังคงดารง
การปะทะอยู่กับข้าศึก เพื่อความมุ่งหมายในการลวง และการระวังป้องกันให้แก่กาลังส่วนที่ถอนตัว ในการถอน
ตัวของกองพล กรม ร.อาจได้รับมอบให้ควบคุมกาลังทั้งหมดหรือบางส่วนที่ทาการถอนตัว หรืออาจได้รับมอบ
ให้จัดส่วนกาบัง เพื่อทาหน้าที่ให้การระวังป้องกันแก่กาลังที่ทาการถอนตัวก็ได้
แบบของการถอนตัวโดยทั่วไปจะมีอยู่ ๒ แบบ คือ การถอนตัวภายใต้การกดดัน และการถอนตัวนอก
ความกดดัน โดยการถอนตัวทั้งสองแบบนี้อาจจะทาการถอนตัวโดยได้รับความช่วยเหลือหรืออาจไม่ได้รับความ
ช่วยเหลือจากกาลังส่วนอื่น ๆ ก็ได้
การถอนตัวทั้ง ๒ แบบนั้น หากสถานการณ์อานวยให้แล้ว การถอนตัวนอกความกดดันจะดีกว่าการ
ถอนตัวภายใต้ความกดดัน เพราะจะทาให้ลดการสูญเสีย, หน่วยมีเสรีในการปฏิบัติ, สะดวกในการลวง และลด
อันตรายจากการตรวจการณ์และการยิงของข้าศึก ส่วนการถอนตัวภายใต้ความกดดันนั้น ฝ่ายเราจะต้องมีอานาจ
การยิง และความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่สูง กว่าข้าศึก, มีการป้องกันต่อสู้ยานเกราะที่ดี และครองความเป็น
เจ้าอากาศเฉพาะบริเวณด้วย ดังนั้ น การถอนตัวภายใต้ค วามกดดันของข้าศึก โดยปกติหน่ วยจะไม่ป ฏิบั ติ
เว้นแต่เมื่อพิจารณาแล้วว่า ถ้าหากไม่ทาการถอนตัวแล้ว จะทาให้ได้รับการสูญเสียมาก
มาตรการควบคุมที่กาหนดขึ้นใช้สาหรับการถอนตัวนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับสถานการณ์ในขณะซึ่งคาดว่าจะ
มีการถอนตัว เมื่อทาการถอนตัวในห้วงเวลาที่มีทัศนะวิสัยจากัด และคาดว่าจะมีการกดดันของข้าศึกด้วย จะใช้
มาตรการควบคุมที่ มี ความเข้ มงวดสูง ถ้ าท าการถอนตั ว ภายใต้ ค วามกดดั น ของข้า ศึ ก ในเวลากลางวั น แล้ ว
มาตรการควบคุมจะจากัดเพียงเท่าที่จะใช้ในการปฏิบัติการรบหน่วงเวลา
โดยธรรมดา ผบ.หน่วยเหนือ จะเป็นผู้กาหนดเวลา และเงื่อนไขของการถอนตัวให้แก่ กรม ร. ผบ.กรม ร.
ก็จะออกคาสั่งการถอนตัวของกรม โดยยึดถือคาสั่งของกองพล ถ้ามีเวลามาก ก็ออกคาสั่งการถอนตัวแบบสมบูรณ์
ได้ หากไม่มีเวลาก็ใช้คาสั่งเตือน และออกคาสั่งเป็นส่วน ๆ ภายหลัง
ความสาเร็จในการถอนตัวนอกความกดดันขึ้นอยู่กับการรักษาความลับและการลวง รวมทั้งการควบคุม
อย่างแน่นแฟ้น เพื่อให้เกิดผลในเรื่องการรักษาความลับและการลวง ผบ.หน่วยควรจะพิจารณาใช้เวลาค่ามืด
และเวลาที่มีทัศนวิสัยจากัดในการถอนตัว การถอนตัวจะเริ่มทันทีที่การตรวจการณ์ของข้าศึกลดลงถึงระดับที่ไม่
สามารถทาการยิงด้วยการตรวจการณ์ได้ โดยปกติจะกระทาภายหลังสิ้นแสงทางทหาร เพื่อให้มีเวลาปฏิบัติการ
ในระหว่างเวลาค่ามืดมากที่สุด
การจัดกาลังในการถอนตัวนอกความกดดัน ของข้าศึกจะแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ กาลังส่วนใหญ่ และ
ส่วนที่เหลือไว้ปะทะ กาลังส่วนที่เหลือไว้ปะทะนี้จะประกอบด้วยกาลัง ๑ ใน ๓ ของกาลังส่วนดาเนินกลยุทธ์ใน
แนวหน้า และ ๑ ใน ๒ ของอาวุธยิงสนับสนุน สาหรับรถถังและ รสพ. ถ้ามีการคุกคามจากยานเกราะของข้าศึก
๔-๕

หรือถ้าหากว่ ารถถังถอนตัวก่อนจะทาให้ เสียผล ในการลวง และการรักษาความลับ ก็จะคงให้ตั้งอยู่ในพื้นที่ตั้ง


รับหน้าต่อไป แต่ถ้าไม่มีการคุกคามจากรถถัง หรือยานเกราะของข้าศึก ก็จะให้เล็ดลอดทยอยแยกกันออกเป็น
หน่วยเล็ก ๆ ถอนตัวไปก่อนกาลังส่วนใหญ่ โดยปกติจะมอบให้ รอง ผบ.กรม ร. เป็น ผบ.ส่วนที่เหลือไว้ปะทะ
ของ กรม ร.
โดยธรรมดา กรม ร.จะเหลือกองหนุนส่วนหนึ่งไว้ในที่มั่นปัจจุบัน เพื่อยังคงให้มีระบบการติดต่อกับ
กองหนุน และลวงให้เห็นว่ากองหนุนของกรมยังคงปฏิบัติการอยู่ตามปกติ และเพื่อช่วยการถอนตัวของส่วนที่
เหลือไว้ปะทะ กาลังส่วนนี้จะถือว่าเป็นกองหนุนของส่วนที่เหลือไว้ปะทะ
หน่วยที่ทาการถอนตัวนอกความกดดัน มักจะกาหนดที่รวมพลขึ้นหลังที่มั่นแห่งแรก ซึ่งให้การปกปิด
กาบัง หน่วยระดับ พัน.ร. และต่ากว่า มักจะกาหนดที่รวมพลขึ้นเพื่อใช้ในการควบคุมส่วนต่าง ๆ ก่อนที่จะจัด
ขบวนเดิน สาหรับหน่วยระดับ กรม ร.มักจะไม่นิยมใช้ที่รวมพล
เมื่อกองพล หรือ บก.ที่ควบคุมการถอนตัวจัดส่วนกาบังขึ้น กองหนุนของ กรม ร. จะถอนตัวก่อนการ
เคลื่อนที่ของส่วนข้างหน้าไปดัดแปลง และเตรียมที่มั่นแห่งใหม่เพื่อให้กรมเข้าวางกาลังภายหลังการถอนตัว แต่
ถ้ากองพลไม่จัดส่วนกาบัง และ ผบ.กรม พิจารณาเห็นว่าเป็นสิ่งจาเป็นแล้ว กรมก็จะจัดส่วนกาบังขึ้นเองจาก
กองหนุนของกรม และให้เข้าประจาที่มั่นเพื่อให้การระวังป้องกันแก่ส่วนใหญ่ เมื่อส่วนใหญ่ถอนตัวผ่านส่วน
กาบังไปแล้วก็ให้ส่วนกาบังปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบต่อไป
ในกรณีที่ ผบ.หน่วยเหนือ ไม่ได้ให้แนวทางในเรื่องการถอนตัวของส่วนที่เหลือไว้ปะทะ ผบ.กรมร.จะเป็น
ผู้กาหนดเพื่อให้ ผบ.ส่วนที่เหลือไว้ปะทะทราบถึงสภาพส่วนที่เหลือไว้ปะทะจะทาการถอนตัว ซึ่งอาจจะเริ่ม
ถอนตัวตามคาสั่งของ ผบ.กรม ร.หรือตามเวลาที่กาหนดไว้
การปฏิบัติการถอนตัวนอกความกดดันของข้าศึกในเวลากลางวันหรือเมื่อทัศนวิสัยดีมัก
จะไม่ค่อยกระทา เนื่องจากไม่เกิดผลในการลวงและการรักษาความลับ หน่วยปฏิบัติการถอนตัวอาจถูกไล่
ติดตาม, ถูกโจมตีจากข้าศึกและเป็นอันตรายได้ง่าย ถ้ามีความจาเป็นต้องปฏิบัติ ก็จะต้องจัดให้มีฉากควันขึ้น
เพื่อกาบังการถอนตัวหรือใช้ห้วงเวลาที่ทัศนวิสัยจากัด
มาตรการควบคุม ในการถอนตัวนอกความกดดันของข้าศึก ได้แก่ เส้นทางถอนตัวหลัก และสารอง
รวมทั้งลาดับความเร่งด่วนในการใช้เส้นทาง, เส้นแบ่งเขต และ/หรือเขตการถอนตัว, ที่รวมพล, จุดตรวจสอบ,
จุดเริ่มต้น, จุดปล่อย และตาบลควบคุมการจราจร
การถอนตัวภายใต้การกดดันของข้าศึก ในเวลากลางวันนั้น กรม ร.จะใช้ยุทธวิธีการรบ
หน่วงเวลา เพื่อสู้พลางถอยพลางไปข้างหลัง ความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่ที่เหนือกว่าข้าศึก และอานาจการ
ยิงของอาวุธยิงสนับสนุนที่ไกลกว่าของกรม ย่อมทาให้ขีดความสามารถ และความสาเร็จในการถอนตัวภายใต้
ความกดดันมีมากขึ้น
มาตรการควบคุมที่ใช้ในการถอนตัวภายใต้การกดดัน (เวลากลางวัน) คงเช่นเดียวกับการถอนตัวนอก
ความกดดัน จะมีแตกต่างกันก็เพียงแต่ใช้เขตปฏิบัติการแทนเส้นทางการถอนตัว และการใช้หน่วยทางยุทธวิธี แต่
อย่างไรก็ตาม ถ้าเส้นทางเคลื่อนที่ในเขตปฏิบัติการของหน่วย รองมีจากัด ก็จะกาหนดเส้นทางถอนตั วขึ้น และ
ควบคุมการเคลื่อนย้ายของกาลังส่วนที่ใช้เส้นทางนั้น
ในการถอนตัวภายใต้การกดดันของข้ าศึ กในเวลากลางวัน จะไม่มีก ารจัด ส่วนที่ เหลือ ไว้ปะทะ แต่
กองหนุนทุกระดับหน่วยจะถูกใช้ให้ทาหน้าที่กาบังการถอนตัวของส่วนที่อยู่ข้างหน้าเมื่อถอนตัว นอกจากนี้ โดย
ธรรมดาจะใช้กาลังบางส่วนของกองหนุน เพื่อช่วยปลดเปลื้องหน่วยที่ติดพันกับข้าศึกอย่างหนัก ให้หลุดจากการ
ปะทะ
ตามปกติในการถอนตัวภายใต้การกดดันของข้าศึกในเวลากลางวัน กองพลจะจัดส่วนกาบังขึ้นจาก
กองหนุนของกองพล ส่วนกาบังนี้อาจจะปฏิบัติภารกิจการกาบังบริ เวณหน้าแนวที่เป็นที่มั่นแห่งใหม่ หรือพื้นที่
๔-๖

อื่นที่อยู่ข้างหน้าก็ได้ ภารกิจหลักของส่วนกาบัง ก็คือ การช่วยหน่วยในแนวหน้าในการผละออกจากข้าศึก และ


ช่วยรั้งหน่วงการติดตามของข้าศึก ผบ.กรม ร. จะกาหนดลาดับการถอนตัวของกองพันต่าง ๆ ในแนวหน้า
เมื่อภูมิประเทศและสถานการณ์อานวย โดยปกติหน่วยที่ติดพันน้อยที่สุดจะทาการถอนตัวก่อน หน่วยที่รบติด
พันกับข้าศึกมากจะถอนตัวภายใต้การกาบังของกองหนุน และใช้การยิงเป็นกลุ่มก้อน หรือโดยใช้กองหนุนทา การ
ตีโต้ตอบ
โดยธรรมดาแล้ว ในการถอนตัวเวลากลางวันภายใต้การกดดันนั้น มักจะกาหนดให้ กองพันในแนวหน้า
จัดกาลังเป็นส่วนกาบังหน้าแนวที่มั่นแห่งใหม่ เพราะเหตุว่ากองพันในพื้นที่ตั้งรับหน้าเป็นส่วนแรกที่ทาการถอน
ตัว การใช้อาวุธยิงสนับสนุนของกรมในการถอนตัว มักจะให้อยู่ในความควบคุมของกรมเป็นส่วนรวม แต่ถ้า
ส่วนกาบังของกรมได้รับมอบภารกิจกองระวังหลัง ก็อาจสมทบส่วนต่าง ๆ ให้กับส่วนกาบัง หรือให้สนับสนุน
โดยตรงแก่ส่วนกาบังก็ได้
ในการวางแผนการถอนตัว กรม ร.ควรจะได้วางแผนเพื่อเตรียมการถอนตัวภายใต้การกดดันของข้าศึก
ในเวลากลางคืนไว้ด้วย และควรแจ้งให้ ผบ.หน่วย รอง ทราบถึงแผนสารองนี้ เมื่อกรมต้องปฏิบัติการถอนตัว
ภายใต้การกดดันของข้าศึกในเวลากลางคืนหรือเมื่อทัศนวิสัยจากัด ก็ให้ส่วนต่าง ๆ ของ กรม ร. ดาเนินการ
ปฏิบัติเช่นเดียวกันกับการถอนตัวภายใต้การ กดดันของข้าศึกในเวลากลางวัน
เมื่อหน่วยต่าง ๆ ของ กรม ร. (เว้นส่วนที่เหลือไว้ปะทะ) ได้ผละจากข้าศึก และจัดรูปขบวนเดินแล้ว
ถือว่าเป็นการสิ้นสุดการถอนตัว ส่วนการเคลื่อนย้ายต่อไปข้างหลังออกห่างจากข้าศึกนั้นเรียกว่าการถอย
การถอย คือ การปฏิบัติของกาลังที่ไม่ได้ปะทะอยู่กับข้าศึก เคลื่อนย้ายไปข้างหลังออกห่างจากข้าศึก
ปกติจะเป็นการเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธี การถอยอาจจะกระทาต่อจากการถอนตัวหรือเมื่อยังไม่มีการปะทะกับ
ข้าศึกอย่างแท้จริง สาหรับกรณีที่มีการปะทะกับข้าศึกอยู่ การถอยจะไม่สามารถดาเนินการได้ในทันที แต่
จะต้องทาการถอนตัวจากการรบหรือการรบปะทะกับข้าศึกเสียก่อน การถอยจะเริ่มขึ้นอย่างแท้จริงหลังจากที่
กาลังส่วนใหญ่ได้ผละจากการปะทะกับข้าศึก และได้จัดรูปขบวนเดินแล้ว
หน่วยที่ปฏิบัติการถอยอาจถูกรบกวนจากข้าศึก เช่น การโจมตีจากกองโจร, หน่วยเคลื่อนที่ทางอากาศ
, จากการยิงระยะไกล และอาจถูกขัดขวางจากประชาชนที่อพยพ ดังนั้น หน่วยที่ปฏิบัติการถอยควรจะทาการ
เคลื่อนย้ายในเวลากลางคืน หรือเวลาที่ทัศนะวิสัยจากัด ถ้าเคลื่อนย้ายในเวลากลางวันอาจกระทาด้วยการแยก
เป็นหน่วยเล็ก ๆ ทยอยเคลื่อนย้ายลงไปข้างหลัง
ในการถอย เนื่องจากไม่คาดว่าจะประสบกับการต้านทานของข้าศึกอย่างเข้มแข็ง โดยปกติจึงกาหนด
มาตรการควบคุมแต่เพียง เส้นทางเคลื่อนที่, แนวขั้นการปฏิบัติ และตาบลควบคุมการจราจร
๒-๑

ภาคที่ ๒
การปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุก

การปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุก เป็นการปฏิบัติการในลักษณะที่ฝ่ายเรานากาลังเคลื่อนที่ เข้าหาข้าศึก เพื่อ


หักล้างการต้านทานของข้าศึก เมื่อข้าศึกถอยก็ไล่ติดตาม ทาลายเสียให้สิ้นเชิง โดยการรบด้วยวิธีรุกมีวัตถุประสงค์
หลักคือ การทาลายหรือเอาชนะกาลังฝ่ายข้าศึก สาหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ ของการรบด้วยวิธีรุก คือ
๑) ควบคุมภูมิประเทศสาคัญ และภูมิประเทศสาคัญยิ่ง
๒) ขัดขวางมิให้ข้าศึกใช้ทรัพยากร
๓) ลวงและหันเหข้าศึก
๔) ให้ได้มาซึ่งข่าวสาร
๕) ตรึงข้าศึกให้อยู่ในที่มั่น
๖) ขัดขวางการเข้าตีของข้าศึก
คุณลักษณะของการรบด้วยวิธีรุก
การจู่โจม ได้มาจากการโจมตีข้าศึก ณ เวลา หรือตาบล หรือในลักษณะซึ่งข้าศึกไม่คาดคิดหรือไม่ได้
เตรียมการไว้ก่อน การจู่โจมเกิดขึ้นได้ยากเมื่อได้เริ่มต่อสู้กันแล้ว อย่างไรก็ตาม การ จู่โจมอาจกระทาได้โดย
การปฏิบัติก ารที่ ตรงข้ามกับที่ข้าศึกได้คาดคิดเอาไว้ การเปลี่ยนแปลงลักษณะหรือจัง หวะของการรบอย่าง
รวดเร็ว และไม่คาดคิด จะช่วยเพิ่มความรู้สึกถูกคุกคาม ให้แก่ข้าศึกอย่างรุนแรงและทันทีทันใด สามารถ
สร้างความกลัว และความสับสนให้แก่ข้าศึก ซึ่งอาจทาให้ข้าศึกหยุดชะงักการปฏิบัติ ลงได้ นอกจากนี้ การจู่
โจมอาจได้มาโดยการทาให้ข้าศึกคาดคะเนผิดพลาดด้วย การลวง, การเข้าตีลวง และด้วยกลอุบาย
การรวมกาลัง การรวมการปฏิบัติเข้าด้วยกัน เป็นสิ่งสาคัญที่จะให้บรรลุซึ่งการจู่โจมและการขยายผล
การปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุกในปัจจุบัน มีลักษณะของการรวมกาลังอย่างรวดเร็ว ติดตามด้วยการขยายผลในทาง
ลึก สาหรับเทคโนโลยีสมัยใหม่ จะทาให้การรวมกาลังเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว แต่ก็ล่อแหลมต่ออันตรายจากการ
ตรวจพบและจากการโจมตีของข้าศึก การรุกทางพื้ นดิน และทางอากาศช่วยให้ฝ่ายเข้าตีรวมกาลัง ได้ อย่าง
รวดเร็ว ขณะเดียวกันก็ช่วยให้ฝ่ายตั้งรับโต้ตอบได้อย่างรวดเร็วเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะอาวุธนิวเคลียร์ จะเพิ่ม
การคุกคามต่อการรวมกาลังเป็นอย่างมาก
ผู้บังคับหน่วยเข้าตีต้องผสมผสานการรวมกาลังทั้งของฝ่ายเราและฝ่ายข้าศึก ให้เกื้อกูลต่อการเข้าตี
ประการแรก คือ การกระจายกาลังเพื่อขยายแนวตั้งรับของข้าศึกและหลีกเลี่ยงการเป็นเป้าหมายที่คุ้มค่าต่อ
การยิงระยะไกลของข้าศึก ขั้นต่อมาจึงรวมกาลังอย่างรวดเร็ว โดยเคลื่อนที่ตามแนวทางเคลื่อนที่ที่สอบเข้าหา
กันเพื่อบดขยี้ข้าศึก
ในทุกระดับหน่วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งแล้วหน่วยระดับกองพลและสูงกว่า จะต้องพยายาม ปกปิดการ
รวมกาลังเอาไว้เป็นพิเศษ จนกระทั่งข้าศึกไม่มีเวลาที่จะตอบโต้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความสาเร็จในการรวม
กาลังสาหรับการเข้าตี คือ ความเร็ว การรักษาความลับ และ การลวง
ความเร็ว เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งยวดต่อการประสบความสาเร็จ ความเร็วช่วยให้เกิดการจู่โจม ทาให้
ข้าศึกเสียสมดุล เกิดความปลอดภัยแก่กาลังเข้าตี ป้องกันไม่ให้ฝ่ายตั้งรับใช้มาตรการตอบโต้อย่างมี
ประสิทธิภาพ สร้างความสับสนและตรึงฝ่ายตั้งรับ และสามารถชดเชยการขาดแคลนกาลังเป็นกลุ่มก้อนให้
สามารถมีแรงหนุนเนื่องพอเพียงสาหรับการเข้าตี ความเร็วในการปฏิบัติ การรบ เกิดจากการวางแผนอย่าง
๒-๒

รอบคอบ, การพิสูจน์ทราบแนวทางเคลื่อนที่เข้าตีที่ดีที่สุด, วางแผนปฏิบัติการรบทางลึก, ให้มีการขยายผล และ


ไล่ติดตามเชื่อมต่ออย่างรวดเร็ว, รวมกาลังผสมเหล่าเข้าปฏิบัติการอย่างมีประสิทธิภาพ
ความเร็วที่ได้จะขึ้นอยู่กับ การปฏิบัติที่รุนแรงตามแผนโดยหน่วยยิง และหน่วยดาเนินกลยุทธ์
นอกจากนั้นยังขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ ต่อไปนี้
- การเข้าใจเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาอย่างถ่องแท้
- การใช้ทหารช่างที่มีอยู่
- การใช้หน่วยทหารม้า ทางพื้นดิน และทหารม้าอากาศ
- การดารงไว้ซงึ่ การป้องกันภัยทางอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ
- การตอบสนองการสนับสนุนทางการส่งกาลังบารุงต่อกาลังรบ
- การใช้เครื่องมือข่าวกรองทางทหารและสงครามอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีประสิทธิภาพ
- การควบคุมบังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพ
ความอ่อนตัว การเข้าตีจะต้องอ่อนตัว ผู้บังคับหน่วยต้องคาดการณ์ล่วงหน้าว่าการรบจะพัฒนาไป
อย่างไร (ให้ไกลเท่าที่จะทาได้) อย่างไรก็ตาม ผู้บังคับหน่วยต้องคานึงถึงความ ไม่แน่นอนซึ่งอาจจะ
เกิดขึ้น เพื่อดารงไว้ซึ่งความประสานสอดคล้องของสนามรบที่ผันแปรไปตลอดเวลา หน่วยรองต้องเข้าใจ
วัตถุประสงค์ของหน่วยเหนือเป็นอย่างดี สามารถยืนหยัดตนเองให้ได้ในสภาพแวดล้อมทุกอย่าง สามารถเปลี่ยน
ทิศทางอย่างรวดเร็ว โดยไม่ให้การรวมกาลังหรือความสอดคล้องที่ได้จังหวะต้องสูญเสียไป
ความห้าวหาญ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้การปฏิบัติการรุกประสบผลสาเร็จ การเข้าตีที่ปราชัยเพราะว่า
ขาดความห้าวหาญมากกว่าเหตุผลอื่นๆ ความห้าวหาญสามารถนามาใช้ในการปฏิบัติการรบทุกขั้นตอน ทุกชนิด
ของหลักนิยมการรบอากาศพื้นดิน (หลักนิยมการรบอากาศพื้นดิน ประกอบด้วย ความริเริ่ม , ความว่องไว,
ความลึก และความประสานสอดคล้อง)
ลาดับขั้นของการรบด้วยวิธีรุก
การปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุกมักเกิดขึ้นเป็น ขั้น ๆ ต่อเนื่องกันไป ถึง แม้ว่า ช่วงเวลาและลั กษณะการ
ปฏิบั ติของแต่ล ะขั้นจะเกิดขึ้น พร้อม ๆ กัน ก็ตาม แต่ขั้นต่ าง ๆ เหล่ านี้ จะแตกต่างกัน ไปตามสถานการณ์ ที่
เปลี่ยนแปลงไปได้เสมอ
ลาดับขั้นการปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุก มี ๔ ขั้น คือ การเตรียมการ การเข้าตี การขยายผล และการไล่
ติดตาม
การเตรียมการ เกี่ยวข้องกับการรวมกาลังของฝ่ายที่เข้าตี, การสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง และการเคลื่อนที่
เข้าปะทะกับข้าศึก รวมถึงการปฏิบัติในขั้นต้นเพื่อหันเหกาลังข้าศึกก่อนการเข้าตี และการยิงเตรียม ขอบเขต
และลักษณะของขั้นการเตรียมการขึ้นอยู่กับความพร้อมของฝ่าย ตรงข้ามที่ปะทะกับฝ่ายเรา รวมถึงท่าทีของ
ข้าศึกในขณะนั้น
การเคลื่อนที่เข้าปะทะ เป็นกิจกรรมหนึ่งในขั้นการเตรียมการ กระทาเพื่อเข้าปะทะหรือกลับเข้าปะทะ
กับข้าศึกใหม่ โดยทั่วไปแล้วการเคลื่อนที่เข้าปะทะจะเกี่ยวกันกับการเคลื่อนที่ของทั้งสองฝ่ายเพื่อช่วงชิงความ
ริเริ่ม ดังนั้น การเคลื่อนที่เข้าปะทะจึงเกิดขึ้นได้ในทุกสถานการณ์
ในกรณีที่ทั้งสองฝ่ายไม่อยู่ใกล้กัน การเคลื่อนที่เข้าปะทะเป็นการเคลื่อนที่อย่างเร็ว ตามเส้นหลักการ
รุก หลายเส้นทาง ควบคุมแบบแยกการ พร้อมที่จะแปรรูปขบวนผสมเหล่าไป สู่การรบปะทะ แต่ละฝ่ายจะ
พยายามครองความริเริ่ม และบังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งต้องตั้งรับ
๒-๓

เมื่อบังคับให้ข้าศึกตั้งรับได้ การเคลื่อนที่เข้าปะทะมักจะนาไปสู่การรบปะทะ ซึง่ แต่ละฝ่ายจะพยายาม


ครองความริเริ่มและบังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งต้องตั้งรับ
ไม่ว่ากรณีใดๆ ส่วนสาคัญของการเคลื่อนที่เข้าปะทะ คือ การระวังป้องกันทั้งทางด้านหน้าและทางปีก
การเคลื่อนที่เข้าปะทะ สิ้นสุดเมื่อข้าศึกต้านทาน และบีบบังคับให้ฝ่ายเรา ต้องแปรรูปขบวนเข้าตี มีการแบ่ง
กาลัง และการประสานการปฏิบัติ
เมื่อบังคับให้ข้าศึกตั้งรับได้ จะมีการปะทะกันบ่อยขึ้น เพราะข้าศึกพยายามจะผละออกจากการรบ
หรือผละจากการตั้งรับได้ การเข้าตีเร่งด่วนจะบังคับให้ข้าศึกทาการรบก่อนที่จะสามารถสถาปนาการตั้งรับที่
เหนียวแน่นได้
การเข้ าตี การเคลื่ อนที่ เข้ าปะทะตามปกติ จะติ ดตามด้วยการ เข้าตี เร่ง ด่ วน ซึ่ง ใช้ก าลัง ที่ มี อ ยู่
ขณะนั้น และใช้การเตรียมการเพียงเล็กน้อยที่สุด เพื่อทาลายกาลังข้าศึก ก่อนที่ฝ่ายข้าศึกจะสามารถรวมกาลัง
กันหรือจัดการตั้งรับขึ้นมาได้ การเข้าตีเร่งด่วนนามาใช้บ่อยครั้งในการปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุ , การเข้าตีจาก
ขบวนเดินหรือส่วนกาบัง การเข้าตีเร่งด่วนทาให้ได้มาซึ่งความคล่องแคล่ว โดยไม่เสี่ยงต่อการสูญ เสียความ
สอดคล้องได้จังหวะ หน่ วยที่เข้าตีเร่งด่วนจะต้องใช้รูปขบวนที่เป็นมาตรฐาน และฝึกซ้อมจนเข้าใจ สามารถ
ปฏิบัติให้เกิดผลสูงสุด หน่วยหรือเหล่าทัพอื่นที่ให้การสนับสนุนต้องสามารถตอบสนองความต้องการได้อย่าง
รวดเร็ว การเข้าตี เร่งด่วนอาจไม่ป ระสบผลสาเร็จเสมอไป อาจต้องใช้การเข้ าตีป ระณี ต ซึ่ง เป็ นการเข้าตี ที่
ต้องการประสานที่ได้จังหวะอย่างสมบูรณ์ ใช้เครื่องมือที่มีอยู่ทั้งหมดเข้าต่อสู้กับการตั้งรับของข้าศึก และใช้
เวลาที่เพียงพอในการเตรียมการ ดังนั้น การเข้าตีประณีตจึงควรที่จะสงวนไว้สาหรับใช้ในสถานการณ์ ที่ไม่
สามารถเอาชนะข้าศึกได้ด้วยการเข้าตีเร่งด่วน
การขยายผล การเข้าตีซึ่งสามารถทาลายกาลังข้าศึกได้อย่างสมบูรณ์ ณ พื้นที่ตั้งรับของข้าศึก เป็นไป
ได้ยาก ทั้งนี้เพราะข้าศึกจะต้องพยายามผละจากการรบ หรือถอนตัวเมื่อสามารถกระทาได้ ดังนั้น หากไม่มี
ข้อจากัดจากหน่วยเหนือ หรือไม่ขาดแคลนกาลังรบ จึงควรขยายผลอย่างรวดเร็ว และรุนแรง เพือ่ ดารงความ
กดดันต่อข้าศึกเอาไว้, ทาให้ข้าศึกเสียรูปการจัดกาลังที่เหมาะสมในการตั้งรับใหม่, รวมทั้งไม่ให้ข้าศึกถอน
ตัวอย่างมีระเบียบและทาลายขวัญกาลังใจของข้าศึก เป้าหมายสูงสุดของการขยายผล ก็คือ ทาให้ข้าศึกแตก
กระจายจนถึงจุดซึ่งไม่มีทางเลือกอื่นใด นอกจากยอมจานน หรือหนีไป
สิ่งบอกเหตุที่สามารถบ่งบอกถึงโอกาสของการขยายผลได้มีดังนี้
๑. จับเชลยได้มากขึ้น
๒. ข้าศึกละทิ้งยุทโธปกรณ์มากขึ้น
๓. เมื่อฝ่ายเราสามารถยึดที่ตั้งทางการบังคับบัญ ชา, ที่ตั้ง อาวุธยิง สนับสนุน , คลัง สิ่ง อุปกรณ์ ฯลฯ
ของข้าศึกได้
การไล่ติดตาม วัตถุประสงค์ของ การไล่ติดตาม คือ การทาลายล้างกาลังฝ่ายตรงข้าม ปฏิบัติโดยใช้
กาลังโอบล้อมกาลังข้าศึก ที่กาลังผละหนีต่อเนื่องไปเป็นขั้นตอน เพื่อทาลายหรือจับเป็นเชลย ปกติแล้วการ
ขยายผลและไล่ติดตามจะมีลักษณะการควบคุมแบบแยกการอย่าง กว้าง ๆ เคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว แต่การไล่
ติดตาม ยากที่จะคาดคิดไว้ก่อน และหน่วยมักจะไม่ได้เตรียมการไว้
แบบของการรบด้วยวิธีรุก (TYPES OF OFFENSIVE OPERATION)
แบบของการรบด้วยวิธีรุก มี ๕ แบบได้แก่
๑. การเคลื่อนที่เข้าปะทะ ๒. การเข้าตีเร่งด่วน
๓. การเข้าตีประณีต ๔. การขยายผล
๒-๔

๕. การไล่ติดตาม
การเคลื่อนที่เข้าปะทะ มีความมุ่งหมายเพื่อให้มีการปะทะกับข้าศึก หรือเพื่อคลี่คลายสถานการณ์
กระทาในลักษณะที่สามารถดารงเสรีในการปฏิบัติของผู้บังคับหน่วยเอาไว้ได้ เมื่อการปะทะเกิดขึ้นความอ่อนตัว
จาเป็นต่อการดารงความริเริ่มและมีรากฐานมาจากหลักการดังต่อไปนี้
๑. การจัดรูปขบวนที่นาด้วยส่วนกาบัง ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความคล่องแคล่วในการรบ และสนับสนุน
ตนเองได้ เพื่อกาหนดที่ตั้ง และตรึงข้าศึก
๒. กาลังที่เข้าปฏิบัติการ จัดแบบผสมเหล่า พร้อมที่จะแปรกาลังเข้าตีอย่างรวดเร็ว โดยที่กาลังส่วน
ใหญ่นี้ต้องห่างส่วนกาบังเพียงพอที่จะดาเนินกลยุทธ์ได้โดยปราศจากการรบติดพันโดยไม่ได้ตั้งใจ
๓. รูปขบวนมีการระวังป้องกันรอบตัว และการป้องกันภัยทางอากาศ
๔. เคลื่อนที่อย่างห้าวหาญ ด้วยความเร็วสูงสุด
๕. มอบอานาจให้ผู้บังคับหน่วยที่อยู่ข้างหน้า และทางปีก โดยให้ปฏิบัติการแบบแยกการ
เมื่อรูปขบวนเคลื่อนที่เข้าปะทะจัดให้มีการระวังป้องกันรอบตัว เหตุที่ต้องเคลื่อนที่ด้วยความรวดเร็ว
แทนที่จะเคลื่อนที่อย่างช้า ๆ ด้วยความระมัดระวัง เพราะการเคลื่อนที่ช้า ๆ ด้วยความระมัดระวังจนเกินไป
จะก่อให้เกิดอันตรายจากการถูกโอบปีก หรือตกเป็นเป้าหมายของการโจมตีได้ง่ายการจัดกาลังในการเคลื่อนที่
เข้าปะทะ จะประกอบด้วย ส่วนกาบัง กองระวังหน้า ส่วนใหญ่ กองกระหนาบ กองระวังหลัง
ส่วนกาบัง อาจมีอิทธิพลต่อการรบทั้งหมดได้ การจัดและการประกอบกาลังจึงต้องมีกาลังรบ, ส่วน
สนับสนุนการรบ และส่วนสนับสนุนทางการช่วยรบ พอเพียงที่จะทาการรบเป็นอิสระได้ ส่วนกาบังต้องมีความ
คล่องแคล่วและสมดุลย์เป็นอย่างดี อยู่ข้างหน้าส่วนใหญ่ให้ไกลเพียงพอ เพื่อให้ผู้บังคับหน่วยกาลังส่วนใหญ่มี
เวลาและระยะทางในการตอบโต้เมื่อปะทะกับข้าศึก
ภารกิจที่มอบให้แก่ส่วนกาบังได้แก่
๑. ลาดตระเวนตรวจภูมิประเทศในเขต ข้างหน้าของส่วนใหญ่
๒. คลี่คลายสถานการณ์ข้าศึก
๓. ให้การระวังป้องกันแก่ส่วนใหญ่
๔. เข้าตีเพื่อทาลายการต้านทานของข้าศึก
๕. ระวังป้องกันหรือควบคุมภูมิประเทศสาคัญ
๖. ตรึงหน่วยใหญ่ของข้าศึก
กองระวังหน้า เป็นส่วนระวังป้องกันที่จัดมาจากกาลังส่วนใหญ่ ปฏิบัติการอยู่หน้าส่วนใหญ่เพื่อให้
แน่ใจว่าการเคลื่อนที่ของส่วนใหญ่จะไม่ถูกขัดขวางจากฝ่ายตรงข้าม ป้องกันส่วนใหญ่จากการถูกโจมตีอย่างจู่
โจมและช่วยเหลือการรุกคืบหน้าของส่วนใหญ่ ระยะห่างของกองระวังหน้ากับส่วนใหญ่ต้องไกลเพียงพอที่ ผู้
บังคับหน่วยกองระวังหน้ามีเสรีในการปฏิบัติ แต่อย่างไรก็ตามต้องไม่ไกลเกินไปจนทาให้ถูกทาลายก่อนความ
ช่วยเหลือจะมาถึง ปกติแล้วกองระวังหน้าจะเคลื่อนที่ด้วยรูปขบวนแถวตอนอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นห้วง ๆ
จนกว่าจะเกิดการปะทะ
๒-๕

สาหรับหน่วยที่เหมาะที่สุดที่จะใช้เป็นกองระวังหน้า คือ หน่วยทหารราบยานเกราะ ทหารม้า และหน่วยยาน


เกราะสนับสนุนด้วยหน่วยทหารช่าง
กาลังส่วนใหญ่ ประกอบด้วย กาลังรบผสมเหล่าที่เตรียมพร้อมจะเข้าปฏิบัติการได้ทันที กรม กองพล
และกองทัพน้อย จะใช้การเคลื่อนที่ในเส้นทางคู่ขนานหลาย ๆ เส้นทาง เพื่อให้เกิดความอ่อนตัวและเพื่อลด
เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายลง ความเร็ว, แรงหนุนเนื่อง, การกระจายรูปขบวน และการจากัดการสื่อสาร จะ
ทาให้ข้าศึกค้นหาเป้าหมาย (ฝ่ายเรา) ได้ยากยิ่งขึ้น เมื่อเกิดการปะทะ หน่วยจะรวมกาลังอย่างรวดเร็วเข้าบด
ขยี้ข้าศึก เสร็จแล้วจะกระจายกาลังออกทันทีที่สามารถทาลายการต้านทานของข้าศึกลงได้
ในการเคลื่อนที่เข้าปะทะ ผู้บังคับหน่วยดาเนินกลยุทธ์ควรอยู่ค่อนไปข้างหน้าของขบวนและสามารถไปยังตาบล
ที่มีการปะทะได้อย่างรวดเร็ว
การเคลื่อนที่เข้าปะทะมักติดตามมาด้วยการรบปะทะ ด้วยเหตุที่มักจะเผชิญกับข้าศึกโดยบังเอิญ หรือ
อาจเกิดขึ้นเมื่อทั้งสองฝ่ายตกลงใจเข้าตีโดยปราศจากการรีรอ เพื่อให้ได้มาซึ่งความ ได้เปรียบในการวางกาลัง
, ให้ได้มาซึ่งภูมิประเทศสาคัญยิ่ง และเพื่อข่มขวัญฝ่ายตรงข้าม นอกจากนี้ การรบอาจเกิดขึ้นเมื่อฝ่ายหนึ่ง
กาลังแปรกาลังอย่างรีบเร่งเพื่อตั้งรับ ขณะที่อีกฝ่ายไม่ต้องการให้ตั้งรับได้ ความสาเร็จของการรบปะทะที่มี
ประสิทธิภาพ ผู้บังคับหน่วยต้องใช้ความพยายามในการ
๑. ครองความริเริ่มแต่เนิ่น
๒. คลี่คลายสถานการณ์ และริเริ่มดาเนินกลยุทธ์ในทันทีทันใด
๓. เข้าตีอย่างรุนแรง และหนักแน่น
๔. รักษาแรงหนุนเนื่องโดยการประสานการปฏิบัติของส่วนกาลังรบ สนับสนุนการรบ
และส่วนสนับสนุนการช่วยรบ
การเข้าตีเร่งด่วน และการเข้าตีประณีต
การเข้าตี อาจจะมีโอกาสเกิดขึ้นระหว่างการดาเนินการรบ หรืออาจจะถูกสร้างให้เกิดขึ้นด้วยความ
ชานาญของผู้บังคับหน่วย การเข้าตีอาจจะเริ่มจากการเคลื่อนที่เข้าปะทะ,จากการตั้งรับ, จากข้างหลังของกาลัง
ฝ่ายเราที่ตั้งรับอยู่, ระหว่างการขยายผลหรือไล่ติดตาม ไม่ว่าจะมีลักษณะการเกิดมาจากสิ่งใด การเข้าตีต้อง
กระทาอย่างรวดเร็ว, รุนแรง, หนักแน่น, ฉลาดหลักแหลม และมีการประสานกันอย่างได้จังหวะ การเข้าตีมี
แบบพื้นฐาน ๒ แบบ คือ การเข้าตีเร่งด่วน และการเข้าตีประณีต
การเข้าตีเร่งด่วน มีผลมาจากการปะทะหรือความสาเร็จในการตั้งรับ (สามารถตรวจพบจุดอ่อนของ
ข้าศึกที่กาลังเข้าตี) ผู้บังคับหน่วยทาการเข้าตีอย่างรวดเร็วจากการวางกาลังที่เป็นอยู่ขณะนั้น เพื่อให้ได้เปรียบ
ข้าศึก หรือเพื่อไม่ให้ข้าศึกจัดการต้านทานขึ้นมาได้
การเข้าตีป ระณีต จาเป็นเมื่อฝ่ายตั้งรับจัดระเบียบการตั้งรับอย่างดี ฝ่ายเราไม่สามารถใช้การเข้าตี
เร่งด่วนหรืออ้อมผ่าน การเข้าตีประณีตต้องวางแผนในรายละเอียดโดยตลอด
ลักษณะของการเข้าตีประณีต คือ
- ปริมาณการยิงสูง - ใช้สงครามอิเล็กทรอนิกส์
๒-๖

- ข่าวกรองทันเวลา - การสงครามนอกแบบ
- เตรียมการอย่างดี - การปฏิบัติการจิตวิทยา
- แผนการลวงวางไว้อย่างดี
ฝ่ายเข้าตี ต้องจัดรูปขบวนในทางลึกเพื่อให้ได้มาซึ่งความอ่อนตัวในการเข้าตี ควรใช้แนวทางเคลื่อนที่
อ้อมไปหาข้าศึก เพื่อให้บังเกิดผลจู่โจม และเลี่ยงการรวมการยิงของข้าศึก กองหนุนต้องปกปิดเอาไว้หรืออยู่ใน
ที่มั่นซ่อนพราง ผู้บังคับหน่วยกองหนุนควรกาหนดเส้นทางเคลื่อนที่ที่สามารถเคลื่อนที่ได้เร็วที่สุดและปกปิด
มากที่สุดซึ่งจะอานวยให้สามารถเคลื่อนที่ไป ที่ใดก็ได้ ถ้าเป็นไปได้ก่อนเข้าตีควรมีการซักซ้อม
ในการตัง้ รับอาจมีการเข้าตีโต้ตอบ หรือการเข้าตีทาลายการเข้าตี แผนการดาเนินกลยุทธ์และการ
สนับสนุนที่จาเป็นต้องวางไว้ล่วงหน้าให้แน่ใจว่าสามารถปฏิบัติได้ทันเวลา และมีผลมากที่สุด
ในทางปฏิบัติมักไม่เห็นข้อแตกต่างที่ชัดเจนนักระหว่างการเข้าตีเร่งด่วนและการเข้าตีประณีต ความแตกต่างที่
พอจะเห็นชัดได้แก่
๑. ปริมาณงานในการวางแผน
๒. การประสานงาน
๓. การเตรียมการ
การขยายผลและการไล่ติ ดตาม มั กกระท าต่ อจากการเข้ าตี โดยปฏิ บั ติอย่ างห้ าวหาญ หลังประสบ
ผลสาเร็จในการเข้าตีขั้นต้น แล้วไล่ติดตามทาลายข้าศึกอย่างไม่ลดละหรือไล่จับข้าศึ ก ที่กาลังหลบหนี (เนื่องจาก
หมดความสามารถในการต้านทานไปแล้ว) กาลังขยายผลจะเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วไปยังที่หมายที่อยู่ลึกไปข้าง
หลัง ยึดที่บังคับการ, ตัดเส้นทางหลบหนีและโจมตีต่อกองหนุน, ปืนใหญ่ และหน่วยสนับสนุนการรบอื่น ๆ
ในการเข้าตีจะต้องมีการวางแผนเพื่อการขยายผลไว้ด้วยเสมอ วางแผนคร่าว ๆ ไว้ก่อนด้วยการกาหนด
กาลัง, ที่หมาย และขอบเขตของการขยายผล ก่อนการเข้าตีจะเริ่มขึ้น หน่วยรองจะต้องสอดส่องและสังเกตสิ่ง
บอกเหตุในการถอนตัวของข้าศึก เพื่อหาโอกาสที่จะขยายผล กาลังที่ใช้ขยายผลควรมีขนาดใหญ่ และค่อนข้าง
สมบูรณ์ในตัวเอง โดยแบ่งกาลังออกเป็น ๒ ส่วนสาคัญคือ
๑. ส่วนขยายผล
๒. ส่วนเคลื่อนที่ติดตามและสนับสนุน
การปฏิบัติการขยายผล เป็นการปฏิบัติแบบแยกการ ผู้บังคับหน่วยขยายผลต้องได้รับเสรีในการปฏิบัติอย่าง
มากที่สุด ส่วนขยายผลจะรุกคืบหน้าอย่างรวดเร็ว ด้วยกว้างด้านหน้าที่มาก ไปยังที่หมายต่าง ๆ และจะมีการ
เก็บกองหนุนของตนไว้ส่วนหนึง่ เพื่อให้เกิดความอ่อนตัวในการปฏิบัติ, การรักษาแรงหนุนเนื่อง รวมทั้งการระวัง
ป้องกันที่จาเป็น กองพันยานเกราะ และ กองพันทหารราบยานเกราะเฉพาะกิจ เป็นหน่วยที่เหมาะที่สุดใน
ภารกิจขยายผลทางพื้นดิน
ส่วน (กาลัง) เคลื่อนที่ติดตามและสนับสนุน เป็นกาลังส่วนหนึ่งของกาลังขยายผล แต่ไม่ใช่กองหนุน
ของส่วนขยายผล ส่วนเคลื่อนที่ติดตามและสนับสนุนจะถูกนามาใช้ขยายผลในการ
- ขยายหรือยึดรักษาบ่าการเจาะ
๒-๗

- ทาลายกาลังข้าศึกที่ถูกอ้อมผ่าน
- ทดแทนหน่วยรับการสนับสนุนซึ่งหยุดตรึงกาลังของข้าศึก
- สกัดกั้นการเคลื่อนที่ในการเพิ่มเติมกาลังของข้าศึก
- เปิด และระวังป้องกันเส้นทางคมนาคม
- ควบคุมเชลยศึก พื้นที่สาคัญ และที่ตั้งต่างๆ
- ควบคุมผู้อพยพ
หน่วยทหารราบ หน่วยทหารราบยานเกราะ มักจัดเป็นส่วนเคลื่อนที่ติดตามและสนับสนุน และต้อง
จัดให้มีการสนับสนุนด้วย ปืนใหญ่, ทหารช่าง และ ปตอ. อย่างเหมาะสม
แม้การขยายผลจะปฏิบัติแบบแยกการ แต่ผู้บังคับหน่วยโดยส่วนรวมต้องดารงความควบคุมไว้อย่าง
เพียงพอ
วัตถุประสงค์ของการขยายผล เพื่อป้องกันข้าศึกไม่ให้จัดระเบียบการตั้งรับที่มีประสิทธิ-ภาพขึ้นใหม่
สิ่งบอกเหตุของข้าศึก ที่จะบ่งบอกถึงโอกาสขยายผลได้ มีดังนี้
๑. จับเชลยได้มากขึ้น
๒. ข้าศึกละทิ้งยุทโธปกรณ์มากขึ้น
๓. ยึดที่ตั้งทางการบังคับบัญชา, ที่ตั้งอาวุธยิงสนับสนุน, คลังสิ่งอุปกรณ์ ฯลฯ ของข้าศึกได้
เหตุที่ผู้บังคับหน่วยโดยส่วนรวมต้องดารงความควบคุมไว้อย่างเพียงพอ (ทั้งที่การขยายผลเป็นการปฏิบัติแบบ
แยกการ) เพราะ
๑. สามารถเปลี่ยนทิศทางขยายผลได้
๒. ป้องกันไม่ให้ขยายผลลึกจนเกินไป
๓. ไม่ให้เกินขีดความสามารถของการส่งกาลังบารุงที่สนับสนุนกาลังขยายผลอยู่
การไล่ติดตาม เป็นการทาลายกาลังข้าศึกที่กาลังหลบหนี ความสาเร็จของการไล่ติดตามขึ้นอยู่กับการ
กดดันต่อข้าศึกอย่างไม่ลดละเพื่อไม่ให้ข้าศึกหลบหนี หรือปรับกาลังได้ การไล่ ติดตามเป็นการปฏิบัติที่ยอมรับ
เกณฑ์การเสี่ยงมากกว่าการปฏิบัติแบบอื่นของการรบวิธีรุก เนื่องจากปฏิบัติแบบแยกการในลักษณะการรุกราน
ต้องใช้กาลังทหารและยุทโธปกรณ์อย่างเต็มขีดความสามารถ จนถึงขีดจากัดสูงสุดตลอดเวลาทั้งกลางวันและ
กลางคืน
การปฏิบัติการไล่ติดตามจะกดดันโดยตรงต่อกาลังข้าศึกที่กาลังถอยหนีอย่างระส่าระสายอย่างไม่ลดละ
และจะโอบล้อมข้าศึกเพื่อไม่ให้ถอยหนีได้ในเวลาเดียวกันจนกว่ากาลังของข้าศึกถูกทาลายหมดสิ้นหรือจนกว่า
ข้าศึกจะผละหนีออกไปและสถาปนาการตั้งรับที่แข็งแรงได้
การไล่ติดตามจัดกาลังเป็น ๒ ส่วนคือ ๑. กาลังกดดันโดยตรง และ ๒. กาลังโอบล้อม แต่ละส่วนมี
หน้าที่ดังนี้
กาลังกดดันโดยตรง ทาให้ข้าศึกต้องถอยหนีตลอดเวลา ไม่มีโอกาสพักผ่อน รวมกาลัง หรือส่งกาลัง
บารุงเพิ่มเติม และทาลายข้าศึก
๒-๘

กาลังโอบล้อม โอบล้อมกาลังข้าศึก ตัดเส้นทางถอยหนี และทาลายกาลังข้าศึกร่วมกับกาลังกดดัน


โดยตรงแบบของการดาเนินกลยุทธ์ (FORMS OF MANEUVER)
แบบของการดาเนินกลยุทธ์ในการรบด้วยวิธีรุก มี ๕ แบบ ได้แก่ การตีโอบ การตีตลบการแทรกซึม
การตีเจาะ และ การเข้าตีตรงหน้า
การเข้าตีโอบ เป็นแบบพื้นฐานในทุกหลักนิยม ใช้ความแข็งแกร่งเข้าต่อสู้กับจุดอ่อน เลี่ยงข้าศึกที่อยู่
ตรงหน้ า โดยใช้การเข้าตีสนั บสนุนตรึงข้าศึกด้านหน้ า แล้วเข้าตีหลักทางปี ก หรือทางหลังข้าศึ ก ด้วยการ
ดาเนินกลยุทธ์, อ้อมผ่าน หรือข้ามผ่าน การโอบกระทาได้ทั้ง โอบปีกเดียว หรือโอบสองปีก ซึ่งทั้งสองลักษณะ
สามารถพัฒนาไปสู่การโอบล้อม การตีโอบต้องอาศัยความว่องไว สาหรับความสาเร็จในการตีโอบจะขึ้นอยู่กับ
การเคลื่อนที่เข้าสู่ส่วนหลังของข้าศึกที่ล่อแหลมได้ก่อนที่ข้าศึกจะโยกย้ายกาลังและการยิงของตนออกไป
การเข้าตีตลบ เป็นการแปรรูปของการตีโอบ ฝ่ายเข้าตีพยายามหลีกเลี่ยงการตั้งรับของข้าศึกอย่าง
สิ้น เชิง เข้ าควบคุ ม ภู มิ ป ระเทศส าคั ญ ลึ ก เข้ าไปข้า งหลั ง ตามเส้ น ทางคมนาคมของข้ าศึ ก การที่ ข้าศึ ก ต้ อ ง
เผชิญหน้ากับการคุกคามที่สาคัญในส่วนหลัง เป็นผลให้ข้าศึกต้อง “หันกลับ” จากที่มั่นตั้งรับและถูกบังคับให้
เข้าตีมาทางด้านหลังด้วยความเสียเปรียบ กาลังยกพลขึ้นบก, กาลังส่งทางอากาศ และกาลังเคลื่อนที่ทางอากาศ
มีคุณค่ามากในการตีตลบ อย่างไรก็ตาม การตีตลบต้องการการสนับสนุนทางอากาศและ/หรือ ทางเรืออย่าง
มากและต่อเนื่อง เนื่องจากต้องทาการรบพ้นระยะการสนับสนุนทางพื้นดินอื่น ๆ
การเข้าตีโอบ
๑. หลีกเลี่ยงข้าศึกตรงหน้า
๒. ใช้ส่วนเข้าตีสนับสนุนตรึงข้าศึกด้านหน้า ส่วนเข้าตีหลักอ้อมผ่าน/ข้ามผ่าน แล้วเข้าตีต่อปีก/หลังข้าศึก
๓. อยู่ในระยะการสนับสนุนทางพืน้ ดิน
การตีตลบ
๑. เลี่ยงการตั้งรับของข้าศึกโดยสิ้นเชิง
๒. กาลังทั้งหมดเข้าควบคุมภูมิประเทศข้างหลัง บังคับให้ข้าศึก “หันกลับ” เผชิญกับการเข้าตีของฝ่ายเรา
๓. ต้องการการสนับสนุนทางอากาศ/เรืออย่างมาก เนื่องจากพ้นระยะการสนับสนุนทางพื้นดิน
การแทรกซึม เป็นวิธีการเข้าถึงส่วนหลังข้าศึกวิธีการหนึ่ง โดยหลีกเลี่ยงการตั้งรับของข้าศึกที่ได้เตรียม
ไว้แล้ว ด้วยการเคลื่อนที่แบบปกปิดของกาลังบางส่วนหรือทั้งหมด หลีกเลี่ยงการตรวจพบและหลีกเลี่ยงการ
ปะทะให้มากที่สุด ลักษณะการปฏิบัติเช่นนี้ทาให้จากัดขนาดและกาลังของหน่วยแทรกซึม ดังนั้น จึงเป็นการ
ยากที่การแทรกซึมเพียงอย่า งเดียวจะเอาชนะข้าศึกได้ การแทรกซึมอาจถูกนามาใช้เข้าควบคุมภูมิประเทศ
สาคัญในการสนับสนุนการปฏิบัติหลัก หรือใช้รบกวนขัดขวางการปฏิบัติงานในส่วนหลังของข้าศึก (ภาพการ
แทรกซึมอยู่ต่อจากการเข้าตีเจาะ)
การเข้าตีเจาะ ใช้เมื่อปีกของข้าศึกไม่เปิด, ปัจจัยเวลาไม่อานวยให้ใช้การดาเนินกลยุทธ์แบบอื่น การ
เข้าตีเจาะเป็นความพยายามในการเจาะช่องการตั้งรับของข้าศึก ด้วยความกว้างด้านหน้าแคบ ทาให้ปีกทั้งสอง
ข้างของช่องเจาะเปิด และมีช่องทางพุ่งสู่ส่วนหลังของข้าศึกได้ การเข้าตีเจาะโดยทั่วไปประกอบด้วย ๓ ขั้น
๒-๙

เริ่มแรกเป็นการเจาะช่องในแนวที่มั่นของข้าศึก ติดตามด้วยการขยายบ่าการเจาะทั้งสองด้าน และขยายผลเพื่อ


ยึดที่หมายลึกเข้าไปด้านหลัง
การเข้าตีเจาะจะล่อแหลมต่อการถูกข้าศึกเข้าตีทางปีกของตนเอง โดยเฉพาะในขั้นแรกดังนั้น ส่วนเข้า
ตีเจาะต้องเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว และกาลังติดตามต้องเคลื่อนที่ตามส่วนเข้าตีเจาะอย่างใกล้ชิด เพื่อยึดรักษา
และขยายบ่าการเจาะให้กว้างขึ้น การเข้าตีเจาะอาจใช้แนวทางเดียวหรือหลายแนวทางก็ได้
การเข้าตีตรงหน้า เป็นการโจมตีข้าศึกตลอดกว้างด้านหน้า ด้วยแนวทางเคลื่อนที่ที่ตรงที่สุด การ
เข้าตีตรงหน้าเป็นการดาเนินการยุทธ์ที่ประหยัดน้อยที่สุด เพราะเปิดเผยกาลังของฝ่ายเข้าตี, ล่อแหลมต่อการ
ระดมยิงของฝ่ายตั้งรับ และจากัดประสิทธิภาพการยิงของฝ่ายเข้าตีเอง
การเข้าตีตรงหน้า เป็นแบบการดาเนินกลยุทธ์ที่ง่ายที่สุด จึงเหมาะนามาใช้บดขยี้การ ตั้งรับที่เบาบาง
,ส่วนกาบังของข้าศึกหรือกาลังข้าศึกที่กาลังเสียรูปขบวน การเข้าตีตรงหน้าต้องใช้ความเร็วและความง่าย จึง
เป็นการดาเนิ นกลยุทธ์ที่ดีที่ สุด สาหรับ การเข้าตีเร่งด่วน, การรบปะทะ, การขยายผลจากการยิงด้วยอาวุธ
นิวเคลียร์/เคมี หรืออาจนามาใช้ขยายผลและไล่ติดตามด้วยเหมือนกัน

โครงร่างของการรบด้วยวิธีรุกมี ๕ ส่วน คือ


๑. การปฏิบัติการทางลึก
๒. การปฏิบัติระวังป้องกัน
๓. การปฏิบัติการรบระยะใกล้
๔. การปฏิบัติในพื้นที่ส่วนหลัง
๕. กองหนุน
ผู้บังคับหน่วยจะจัดส่วนต่าง ๆ ตามโครงร่างของการปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุก เพื่อให้ทาหน้าที่เสริมส่ง
ซึ่งกันและกันได้ครบ (ในการปฏิบัติการเข้าตีของตน) ดังนี้
การปฏิบัติการทางลึก กระทาเพื่อให้แนวตั้งรับของข้าศึกถูกโดดเดี่ยว, ทาลายความเป็นระเบียบของ
กองหนุน, ขัดขวางการสนับสนุนของข้าศึก
ส่วนระวังป้องกัน จัดตั้งขึ้นเพื่อกาหนดที่ตั้งข้าศึก และค้นหาช่องว่างในการตั้งรับของข้าศึก ป้องกัน
ส่วนใหญ่จากการถูกจู่โจม คลี่คลายสถานการณ์ รั้งหน่วงข้าศึกให้ได้เวลาและระยะทางให้ผู้บังคับบัญชา มี
เวลาและมีพื้นที่ในการตอบโต้ข้าศึก
การรบระยะใกล้ ส่วนเข้าตีหลัก และส่วนเข้าตีสนับสนุน จะเอาชนะข้าศึกได้ด้วยการดาเนินกลยุทธ์
ตามแบบการดาเนินกลยุทธ์ อ้อมผ่านหรือเจาะผ่านการตั้งรับของข้าศึกเพื่อเข้ายึดที่หมาย
กองหนุนในการเข้าตี จัดขึ้นเพื่อใช้ขยายผลแห่งความสาเร็จ เพิ่มเติมหรือรักษาแรง หนุนเนื่องในการ
เข้าตี ทาลายการตีโต้ตอบของข้าศึก ให้การระวังป้องกัน, ทาลายกาลังข้าศึกให้หมดสิ้น, ยึดที่หมายทางลึก
๒ - ๑๐

การปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลัง จะช่วยเหลือการรบระยะใกล้ และการเข้าตี โดยจะประกันเสรีในการ


ปฏิบัติของกาลังทั้งที่เข้าปฏิบัติการแล้ว และที่ยังไม่เข้าปฏิบัติการ และป้องกันไม่ให้การสนับสนุนการรบ, การ
สนับสนุนทางการช่วยรบที่จาเป็นต้องหยุดชะงัก
มาตรการในการควบคุมในการเข้าตี ได้แก่ ที่หมาย, แนวออกตี, เวลาออกตี, เขตปฏิบัติการ, เส้น
หลักการรุก, ทิศทางเข้าตี, ที่รวมพล, ฐานออกตี, แนวขั้นการปฏิบัติ, จุดตรวจสอบ, จุดติดต่อ และช่องทางแทรก
ซึม มาตรการควบคุมเหล่านี้ควรกาหนดให้น้อยที่สุดเท่าจาเป็น เพื่อไม่ให้เป็นการจากัดเสรีการปฏิบัติของหน่วย
รอง
ในการรบด้วยวิธีรุก กองพลจะจัดปืนใหญ่ให้ช่วยโดยตรง (ชต.) หรือขึ้นสมทบกับ กรม ร.
ก็ได้ ผบ.กรม ร. จะควบคุมการใช้ปืนใหญ่ โดยการสนธิปืนใหญ่เข้ากับรูปขบวนเข้าตีและ กาหนดลาดับ
ความเร่งด่วนในการยิงให้ ในการเคลื่อนที่เข้าปะทะ ในการขยายผล หรือเมื่อ ที่หมายมีความลึก ป.ชต.
มักจะเคลื่อนที่ติดตามส่วนดาเนินกลยุทธ์ให้อยู่ในระยะที่สามารถให้การสนับสนุนได้
กองพลจะจัด ๑ กองร้อยทหารช่างให้สนับสนุนโดยตรงหรือขึ้นสมทบกับกรม ร. ก็ได้เมื่อกรมได้รับการ
สมทบ ผบ.กรม ร. อาจใช้ทหารช่างในการสนับสนุนส่วนรวมหรือให้ มว.ช.ขึ้นสมทบ พัน.ร. เมื่อกรมไม่สามารถ
ควบคุมแบบรวมการได้ เช่น เมื่อ กรม ร. ต้องปฏิบัติการที่เคลื่อนที่ด้วยความรวดเร็ว

การจัดให้มี ร้อย.ร. ยานเกราะสนับสนุน กรม ร. ในการเข้าตี มักจะใช้เป็นหน่วยสนับสนุนเป็นส่วนรวม


ให้กับ พัน.ร. ในการเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธี เช่น การขยายผล การไล่ ติดตาม หรือในการปฏิบัติเป็นหน่วยรบ
เฉพาะกิจร่วมกับรถถัง นอกจากนั้น ยังใช้เป็นกองหนุนเคลื่อนที่เร็วได้อีกด้วย
การยิงสนับสนุน ในการเข้าตีประกอบด้วยการยิง ๔ ชนิด คือ การยิงก่อนการยิงเตรียม, การยิงเตรียม,
การยิงระหว่างการเข้าตี และการยิงระหว่างการจัดระเบียบใหม่และเสริมความมั่นคง
แนวออกตี ควรจะมีลักษณะโดยทั่วไปตั้งฉากกับทิศทางเข้าตี, สังเกตและจดจาได้ง่ายใน
ภูมิประเทศ และใกล้ข้าศึกเท่าที่สามารถทาได้ ควรได้รับการป้องกันจากการยิงด้วยอาวุธเบาและกระสุนวิถีร าบ
อื่น ๆ และอยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยทหารฝ่ายเดียวกัน เมื่อหน่วยปะทะอยู่กับข้าศึก อาจกาหนดแนว
ปะทะเป็นแนวออกตี ส่วนหน่วยที่ไม่ได้ปะทะก็กาหนดขึ้นโดยอาศัยภูมิประเทศ ถ้า กรม ร. วางกาลังกระจาย
กันอยู่ทั้งทางกว้างและทางลึก ผบ.กรม ร. อาจจะแยกกาหนดแนวออกตีและเวลาออกตีให้กับกองพันที่เข้าตี
แตกต่างกัน
เขตปฏิบัติการ คือ เขตรับผิดชอบที่หน่วยเหนือกาหนดให้ มีลักษณะเป็นภูมิประเทศ ซึ่งล้อมรอบด้วย
เส้นแบ่งเขต แนวออกตี ที่หมาย และแนวจากัดการรุก เส้นแบ่งเขตนี้ต้องสังเกตได้ง่ายในภูมิประเทศ หากจาเป็น
หน่วยอาจเคลื่อนที่เข้าไปในเขตปฏิบัติการของหน่วยข้างเคียงได้ แต่ต้องหลังจากที่ได้ประสานงานกับ ผบ.หน่วย
นั้นแล้ว และต้องรายงานให้กับหน่วยเหนือทราบ
เส้น หลัก การรุก เป็น เครื่อ งหมายแสดงทิศ ทางโดยทั่ว ไปของการเคลื่อ นที่ข องหน่ว ยหากหน่ว ย
เคลื่อนที่ออกนอกแนวทางไปมาก จะต้องรายงานและถ้าจาเป็น ก็ต้องมีการประสานการปฏิบัติกันด้วย หน่วยที่
ทาการรุกไปตามเส้นหลักการรุกนี้ไม่ต้องทาการกวาดล้างข้าศึกนอกแนวเส้นหลักการรุก อาจอ้อมผ่านและ
รายงานกาลังข้าศึกซึ่งไม่คุกคามต่อการบรรลุภารกิจ เมื่อกรมได้รับมอบเส้นหลักการรุก กรม ร. อาจเลือกการ
เข้าตีด้วยรูปขบวนสองกองพันเคียงกัน หรืออาจกาหนดเส้นหลักการรุกให้แก่ พัน.ร. ที่ทาการเข้าตีได้
๒ - ๑๑

เมื่อหน่วยเหนือกาหนดทิศทางเข้าตีให้ หน่วยรองจะต้องเข้าตีด้วยการให้ส่วนเข้าตีหลัก หรือศูนย์กลาง


ของกาลังเข้าตีไปตามทิศทางที่กาหนดไว้ เนื่องจากทิศทางเข้าตีมีลักษณะจากัดเสรีในการปฏิบั ติ จึงไม่ใคร่ใช้ใน
การรบด้วยวิธีรุก เว้นแต่ในการตีโต้ตอบและการเข้าตีในเวลากลางคืน นอกจากนั้น อาจกาหนดให้กับการเข้าตี
สนับสนุนเพื่อให้บังเกิดผลสูงสุดแก่การเข้าตีหลัก
ที่รวมพล คือ พื้นที่ที่หน่วยใดหน่วยหนึ่งเข้ารวมพลเพื่อเตรียมปฏิบัติการต่อไป โดยปกติ พล.ร. เป็นผู้
กาหนดที่ตั้งโดยทั่วไปของที่รวมพลของ กรม ร. สาหรับภายในพื้นที่รวมพล กรม ร. จะกาหนดที่ตั้งที่แน่นอนให้
หน่วยรองของตน ซึ่งจะมีการสั่งการ, การส่งกาลัง, ซ่อมบารุง และการจัดกาลังเข้าทาการรบให้สมบูรณ์
ฐานออกตี ใช้เพื่ออานวยความสะดวกในการแปรรูปขบวนและประสานงานขั้นสุดท้ายก่อนผ่านแนว
ออกตี โดยปกติ กรม.ร.จะไม่ใช้ฐานออกตี ในการควบคุมหน่วยรอง
แนวขั้นการปฏิบัติ (PHASE LINE) ใช้เพื่อประสานการเคลื่อนที่ของหน่วยไปข้างหน้า และอาจใช้เพื่อ
ควบคุมความเร็วในการเคลื่อนที่การรุกของหน่วยที่เข้าตี แนวขั้นการปฏิบัตินี้ ควรกาหนดบนภูมิประเทศที่
สังเกตได้ง่าย และหน่วยจะรายงานเมื่อถึงแนวขั้นที่กาหนด แต่ไม่ต้องหยุดการเคลื่อนที่ถ้าไม่ได้รับคาสั่งให้หยุด
กรม ร. จะใช้ ม าตรการทั้ ง เชิ ง รุ ก และเชิ ง รั บ ก่ อ นการเข้ า ตี เพื่ อ ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ ข้ า ศึ ก สามารถ
กาหนดเวลาและตาบลที่จะทาการเข้าตี และในระหว่างการเข้าตี การระวังป้องกันจะได้จากการเคลื่อนที่อย่าง
ห้าวหาญและรวดเร็ว, ด้วยการเข้าควบคุมภูมิประเทศสาคัญ , ด้วยการใช้ประโยชน์จากเครื่องมือเฝ้าตรวจทุก
ชนิด, ด้วยการยิงสนับสนุน และด้วยการใช้ส่วนระวังป้องกัน
เมื่อ กรม ร. เข้าตีด้วยกว้างด้านหน้ามาก อาจเกิดช่องว่างขนาดใหญ่ระหว่างกองพัน ภายในกรมเอง
และระหว่างกรมข้างเคียง ความรับผิดชอบในการควบคุมช่องว่างเหล่านี้ต้องระบุให้แน่ชัด ถ้าเป็นภายในกรม
ผบ.กรม ร. จะเป็นผู้กาหนดให้หน่วยรองของตน การควบคุม ช่องว่างกระทาได้โดยใช้หน่วยลาดตระเวน, โดย
การเฝ้าตรวจทางอากาศและทางพื้นดิน และโดยการยิงเป็นหลัก

You might also like