You are on page 1of 208

ISBN : 978-974-7510-47-8

การยุทธ์หลายมิติ
พิมพ์ครั้งที่ 1 : พ.ศ. 2564
จำ�นวนพิมพ์ : 4,000 เล่ม
แปลและเรียบเรียงโดย : พ.อ.ชนะชัย พลเตชา และคณะทำ�งาน วิทยาลัยการทัพบก ร่วมกับ
ศูนย์พัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารบก
คณะผู้จัดทำ� : พล.ท.วิสันติ สระศรีดา จก.ยศ.ทบ.
พล.ต.ชูชาติ คำ�นุช รอง จก.ยศ.ทบ.(2)
พล.ต.ธิติพันธ์ ฐานะจาโร ผอ.ศพย.ยศ.ทบ.
พ.อ.สามารถ คงสาย รอง ผอ.ศพย.ยศ.ทบ.
พ.อ.สรายุทธ เทพแจ่มใจ ผอ.กพล.ศพย.ยศ.ทบ.
พ.อ.เฉลิมเกียรติ ชาติมงคลวัตน์ รอง ผอ.กพล.ศพย.ยศ.ทบ.
พ.อ.พงศ์วรัณ นาคฉัตรีย์ นักวิชาการ ศพย.ยศ.ทบ.
ร.อ.หญิง ทับทิม จารุเศรณี นักวิชาการ ศพย.ยศ.ทบ.

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
การยุทธ์หลายมิติ.-- กรุงเทพฯ : ศูนย์พัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธศึกษา
ทหารบก กระทรวงกลาโหม, 2564.
208 หน้า.

1. ยุทธวิธี. 2. การรบ. I. ชนะชัย พลเตชา. II. ชื่อเรื่อง.

355.42
ISBN 978-974-7510-47-8

จัดพิมพ์แจกจ่ายโดย
ศูนย์พัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารบก
41 ถนนเทอดด�ำริ เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
หมายเลขโทรศัพท์ 0-2241-4037, 0-2241-4067-69 ต่อ 89230-37
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ doctrinecdsd@gmail.com
เว็บไซต์ cdsd.rta.mi.th
ค�ำน�ำ

หนังสือเอกสารเผยแพร่ความรู้ เรือ่ ง การยุทธ์หลายมิติ (Multi - Domain


Operations 2028) เล่มนี้ ด�ำเนินการแปลและเรียบเรียง จากต้นฉบับ The Army
in Multi - Domain Operations (TRADOC pamphlet 525 - 3 - 1) โดย
วิ ท ยาลั ย การทั พ บก ร่วมกับศูนย์พัฒนาหลัก นิ ย มและยุ ท ธศาสตร์ ก รมยุ ท ธ
ศึกษาทหารบก เนื้อหาในภาพรวมจะกล่าวถึง การน�ำเสนอชุดแนวความคิดของ
กองทัพบกสหรัฐอเมริกา ในการแก้ปัญหาและเอาชนะล�ำดับชั้นในการยืนหยัด
ทางยุ ท ธศาสตร์ ข องฝ่ า ยตรงข้ า มในการยุ ท ธ์ ห ลายมิ ติ โดยมิ ติ ที่ ก ล่ า วถึ ง
ประกอบด้วย มิติพื้นดิน มิติทะเล มิติห้วงอากาศ มิติอวกาศ และมิติไซเบอร์
โดยได้ก�ำหนดศูนย์กลางแห่งความคิดในการแก้ปัญหาต่าง ๆ คือ ความว่องไว
และความหนุนเนื่องของการสนธิพลังอ�ำนาจจากทุกโดเมน หรือทุกมิติการ
ปฏิบัติการในการสงคราม รายละเอียดกล่าวถึงการจัดก�ำลัง และการปฏิบัติการ
ของกองทั พ บกสหรั ฐ อเมริ ก าภายใต้ แ นวความคิ ด หลั ก ๓ ประการ ได้ แ ก่
๑) เกณฑ์การวางก�ำลัง ๒) รูปแบบการยุทธ์หลายมิติ และ ๓) การหลอมรวม
พลังอ�ำนาจซึ่งน�ำพาไปสู่การพัฒนาหลักนิยม การจัดหน่วย อาวุธยุทโธปกรณ์
และระบบการฝึกหน่วยการศึกษาของก�ำลังพลกองทัพบกสหรัฐอเมริกา
กรมยุทธศึกษาทหารบก ในฐานะที่เป็นหน่วยรับผิดชอบด้านการฝึก
ศึกษาและการพัฒนาหลักนิยม ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการพัฒนาความรู้
ก�ำลังพล จึงได้จัดท�ำหนังสือเอกสารเผยแพร่ความรู้เล่มนี้ขึ้น มุ่งหวังเพื่อขยาย
ความรู้พื้นฐาน และวิทยาการทางทหารที่ทันสมัยของกองทัพมิตรประเทศให้
ก�ำลังพลกองทัพบกได้รับทราบ และน�ำความรู้ในส่วนที่เกี่ยวข้องไปประยุกต์ใช้
เป็นแนวทางในการฝึก ศึกษา และการปฏิบตั กิ ารตามภารกิจให้เกิดประโยชน์สงู สุด
ต่อกองทัพบกต่อไป
หากท่านผู้อ่านมีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ขอให้เสนอที่ กองพัฒนา
หลักนิยม ศูนย์พฒ
ั นาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารบก เลขที่ ๔๑
ถนนเทอดด�ำริ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ หรือที่ doctrinecdsd
@gmail.com โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๔๐๓๙

พลโท
(วิสันติ สระศรีดา)
เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก
ค�ำน�ำหน่วยบัญชาการฝึกและหลักนิยม U.S. ARMY

โดย ผบ.หน่วยบัญชาการฝึกและหลักนิยม

หน้าที่ของกองทัพบกประการหนึ่งภายใต้ความเป็นมืออาชีพ คือ ต้อง


มี ค วามคิ ด อั น ลึ ก ซึ้ ง และกระจ่ า งชั ด ในเรื่ อ งปั ญ หาความขั ด แย้ ง ทางอาวุ ธ
ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อที่เราจะสามารถเสริมสร้างและเตรียมก�ำลังของ
กองทัพบกเข้ายับยั้งขัดขวาง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสมทันเวลา
และเข้าต่อสู้เอาชนะเมื่อจ�ำเป็น ซึ่งในขณะที่เราก�ำลังพิจารณากันถึงอนาคต
นั้น ความท้าทายได้ปรากฏชัดเจนว่า ท่ามกลางการแข่งขันด้านพลานุภาพ
อันยิ่งใหญ่แห่งยุคใหม่นี้ ฝ่ายตรงข้ามของเราพยายามบรรลุความมุ่งหมาย
ทางยุทธศาสตร์ของพวกเขา โดยในช่วงเวลาอันใกล้ก่อนเข้าสู่ความขัดแย้ง
จะมีการใช้ล�ำดับชั้นแห่งการยืนหยัดทางยุทธศาสตร์ (Layered Stand – off)
ทางด้านการเมือง การทหาร และอาณาจักรทางเศรษฐกิจเพื่อพยายามแยก
สหรัฐอเมริกาให้โดดเดี่ยวจากพันธมิตร และเมื่อความขัดแย้งทางอาวุธเกิดขึ้น
ฝ่ายตรงข้ามจะเริ่มใช้ยุทธศาสตร์ (ในยุทธบริเวณ) ด้วยการยืนหยัดหลายชั้น
ในทุกโดเมน (มิติการปฏิบัติ) พื้นดิน ทะเล ห้วงอากาศ อวกาศ และมิติไซเบอร์
เพื่อแบ่งแยกกองก�ำลังของสหรัฐฯ และพันธมิตร ขัดขวางการเข้าถึงเรื่องเวลา
พื้นที่ปฏิบัติการระบบพันธกิจ เพื่อที่จะเอาชนะกองก�ำลังของสหรัฐอเมริกา
ถ้ า หากฝ่ า ยตรงข้ า มท�ำได้ ส�ำเร็ จ ตามที่ ก ล่ า วข้ า งต้ น ฝ่ า ยเรามี
ความเสี่ยงที่จะสูญเสียความลึกทางยุทธศาสตร์ ที่เกื้อกูลให้กองก�ำลังรบร่วม
มี ค วามได้ เ ปรี ย บในการปฏิ บั ติ ก ารและขี ด ความสามารถการรุ ก ทางทหาร
ในฐานะประเทศชาติเราพึ่งพาความสามารถของเราในการสร้างพลังอ�ำนาจ
จากทวีปอเมริกา เพื่อสนธิปฏิบัติการทางทหารของกองก�ำลังรบร่วมไปทั่วโลก
ฝ่ า ยตรงข้ า มของเราพยายามที่ จ ะแตกหั ก บนความสามารถนี้ พร้ อ มทั้ ง
กั ด กร่ อ นความได้ เ ปรี ย บทางยุ ท ธศาสตร์ ข องสหรั ฐ อเมริ ก า ความท้ า ทาย
อั น ยิ่ ง ใหญ่ ต ่ อ ความมั่ น คงของสหรั ฐ ฯ คื อ พลั ง อ�ำนาจและอิ ท ธิ พ ลที่ จ ะคง
ปรากฏในโลกของศตวรรษที่ 21 ดังนั้น วิถีแห่งสงครามของอเมริกันจึงต้อง
มีพัฒนาการ หากเราต้องการประสบความส�ำเร็จ ในการป้องกันจุดมุ่งหมาย
ทางยุทธศาสตร์ จากฝ่ายตรงข้าม ในการสัประยุทธ์ชิงชัย หรือสยบพวกเขา
ในการต่อสู้
กองทัพบกสหรัฐฯ ในการยุทธ์หลายมิติ 2028 เป็นการน�ำเสนอชุด
แนวความคิ ด ในการแก้ ป ั ญ หา และเอาชนะล�ำดั บ ชั้ น ในการยื น หยั ด ทาง
ยุทธศาสตร์ (Layered Stan - off ของจีนและรัสเซีย) ศูนย์กลางแห่งความคิด
ในการแก้ปัญหานี้ คือ ความว่องไวและหนุนเนื่องของการสนธิพลังอ�ำนาจ
จากทุกโดเมน (มิติการปฏิบัติการ) ในการสงคราม เพื่อขัดขวางยับยั้งและ
สร้างความเหนือกว่าในการเข้าชิงชัย ภายใต้ช่วงเวลาความขัดแย้งทางอาวุธ
ดังนั้น เมื่อการป้องปรามล้มเหลว รูปขบวนการปฏิบัติของ ทบ. ซึ่งเป็นส่วน
หนึ่ ง ของกองก�ำลั ง รบร่ ว มจะท�ำการเจาะทะลวงเข้ า ไปเพื่ อ สลายระบบต่ อ
ต้านการเข้าถึงและปฏิเสธห้วงมิติการรบของข้าศึก ขยายผลจากการมีเสรี
ในการด�ำเนินกลยุทธ์ เอาชนะระบบการต่อสู้ของข้าศึก วัตถุประสงค์ในการ
ปฏิบัติการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ และขยาย
ผลแห่งชัยชนะเพื่อบังคับวิถีการต่อสู้ไปสู่เงื่อนไข ซึ่งอ�ำนวยประโยชน์ให้แก่
สหรัฐอเมริกาและพันธมิตร
เพื่อให้บรรลุเรื่องดังกล่าวนี้ กองทัพบกสหรัฐฯ จ�ำเป็นต้องวิวัฒน์
ก�ำลังและการปฏิบัติการ ภายใต้แนวคิดแกนหลักส�ำคัญสามประการ ดังนี้
(1) เกณฑ์ของการวางก�ำลัง (Calibrated force posture) ด้วยการ
ผสมผสานต�ำแหน่งการวางก�ำลังและขีดความสามารถ เพื่อเข้าด�ำเนินกลยุทธ์
จากระยะการเข้าถึงทางยุทธศาสตร์
(2) รูปแบบการยุทธ์หลายมิติ (Multi - Domain Formations) ซึ่งมี
องค์รวมของความสามารถในการยืนหยัด ขีดความสามารถในการปฏิบัติการ
เพื่ อ การเข้ า ถึ ง ทางยุ ท ธการ และใช้ ขี ด ความสามารถเหล่ า นั้ น ผ่ า นโดเมน
(ห้ ว งมิ ติ ก ารรบ) ต่ า ง ๆ เพื่ อ การทวี พ ลั ง อ�ำนาจ ผสมผสานกั บ การท�ำให้
ฝ่ายตรงข้ามต้องตกอยู่ในฐานะที่เสียเปรียบ
(3) หลอมรวมพลังอ�ำนาจ (Convergence) ซึ่งจะสัมฤทธิผลด้วย
ความว่องไว การสนธิอ�ำนาจก�ำลังรบอย่างต่อเนื่องในทุกโดเมน ภายใต้เวลา
(Time) มิติพื้นที่ปฏิบัติการ (Space) และขีดความสามารถเพื่อเอาชนะข้าศึก
สนั บ สนุ น หลั ก การสามข้ อ นี้ ด้ ว ยการบั ง คั บ บั ญ ชาที่ มุ ่ ง เน้ น
ภารกิจ (Mission Command) และการริเริ่มอย่างมีวินัย ด้วยระลอกการ
ปฏิบัติทั้งหมดของพันธกิจในการต่อสู้สงคราม (War fighting echelons)
ดังนั้น เพื่อชัยชนะแห่งวันพรุ่งนี้ เราจะต้องพัฒนาการจัดหน่วยและ
การประกอบก�ำลังของ ทบ. เมื่อเป็นส่วนหนึ่งของกองก�ำลังรบร่วมอย่างไร
ซึ่งทั้งหมดนี้แนวทางของเราก็คือ (1) ด�ำรงความต่อเนื่องในการพัฒนาปรับปรุง
แนวความคิ ด ในการต่ อ สู ้ ส งคราม เตรี ย มทิ ศ ทาง เพื่ อ มุ ่ ง สู ่ อ นาคต ได้ แ ก่
“กองทั พ บกสหรั ฐ ฯ ในการยุ ท ธหลายมิ ติ 2028” นี้ คื อ แนวความคิ ด หลั ก
(2) พัฒนายุทธศาสตร์ของ ทบ. ให้ทันสมัยครอบคลุม เพื่อเชื่อมประสานเข้ากับ
แนวทางปฏิบัติการร่วมของการพัฒนาก�ำลังรบ (3) ขับเคลื่อน โดยรวดเร็ว
ในสิ่งต่อไปนี้ คือ หลักนิยมของ ทบ. เพื่อเผชิญสภาพปัญหาการยุทธ์ที่ไม่เป็นแนว
(non - linear Solutions) รวมถึงการจัดหน่วย การฝึกหน่วย อาวุธยุทโธปกรณ์
ระบบการศึกษาของผู้น�ำการก�ำลังพล สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และการก�ำหนด
นโยบาย (4) เพิ่ ม ความเข้ ม ข้ น ของการบู ร ณาการทางยุ ท ธการ ระหว่ า ง
ความมุ ่ ง หมายของการปฏิ บั ติ ห ลั ก กั บ การปฏิ บั ติ ก ารพิ เ ศษ และระหว่ า ง
สหรัฐอเมริกากับพันธมิตร
นี่ เ ป็ น แนวความคิ ด เกี่ ย วกั บ การต่ อ สู ้ ส งคราม และส่ ว นที่ เ ด่ น อยู ่
ตรงกลางของเรื่ อ งนี้ ก็ คื อ ทหารอเมริ กั น ตั้ ง แต่ ยุ ค เริ่ ม ต้ น จนถึ ง ปั จ จุ บั น
แห่งประวัติศาสตร์ 234 ปี ของกองทัพบกสหรัฐฯ ก้อนกรวดหนึ่งก้อน ซึ่ง
มี ค วามเฉลี ย วฉลาด มี ค วามคิ ด ริ เริ่ ม ก็ คื อ ทหารอเมริ กั น หนึ่ ง คนที่ ยื น อยู ่
แถวหน้า ยืนอยู่บนความส�ำเร็จของชาติทั้งยามสงบ ในยามช่วงชิงแข่งขัน และ
ยามต่อสู้ขัดกันด้วยอาวุธ (Armed Conflict)
เป็ น แนวความคิ ด ที่ ยั ง ไม่ ใช่ ค�ำตอบสุ ด ท้ า ย เรายั ง คงต้ อ งปรุ ง แต่ ง
แนวทางนี้ต่อไป ในขณะที่เราเรียนรู้จากการปฏิบัติการ การฝึก และการทดสอบ
ทดลองของเรา เช่นเดียวกันกับการเรียนรู้จากแหล่งอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นชาติ
พันธมิตร หุ้นส่วน หรือแม้แต่จากฝ่ายตรงข้ามของเราเอง วิวัฒนาการของ
แนวความคิดนี้น�ำไปสู่หลักนิยมและการฝึกฝนที่กองทัพบกจะแสดงออกด้วย
การเกณฑ์ทหาร การฝึก การศึกษา การปฏิบัติการ และขับเคลื่อนการพัฒนา
ปรั บ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ งจนมั่ น ใจได้ ว ่ า กองทั พ บกสหรั ฐ ฯ มี ค วามสามารถ
ยับยั้ง ขัดขวาง ต่อสู้และเอาชนะได้ในทุกสมรภูมิ ต่อกรกับศัตรูใด ๆ ได้ทั้ง
ในปัจจุบันและอนาคต

ชัยชนะเริ่มต้นที่นี่ Stephen J. Townsend


General, U.S. Army
Commander, TRADOC
The Army in Multi - Domain Operations
กองทัพบกในการยุทธ์หลายมิติ

สภาพแวดล้อมทางยุทธการ : Operational Environment


l ทุ ก โดเมน (มิ ติ ห ้ ว งปฏิ บั ติ ก าร) เป็ น พื้ น ที่ ช ่ ว งชิ ง

l อาวุ ธ ร้ า ยแรงเพื่ อ การสั ง หารเพิ่ ม ทวี คู ณ , สนามรบถู ก ขยายขอบเขต

l สภาพแวดล้ อ มที่ ซั บ ซ้ อ นเพิ่ ม มากยิ่ ง ขึ้ น

l ท้ า ทายยิ่ ง ต่ อ การป้ อ งปรามทางยุ ท ธศาสตร์

Russian and Chinese Anti - Access and Area Denial Systems


Create Multiple Layers of Stand - off
ระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธพื้นที่ (ห้วงมิติการรบ) ของรัสเซียและ
จีนได้สร้างปราการป้องกันหลายชั้น (Stand – off : ยุทธศาสตร์ป้องกันและ
การยืนหยัด)
ยามแข่งขันและช่วงชิง (Competition)
ท�ำการสร้างยุทธศาสตร์ป้องกันและยืนหยัด ซึ่งเป็นการแบ่งแยกสหรัฐฯ และ
พันธมิตรทางการเมืองออกจากกัน ด้วยวิธีการและเครื่องมือเหล่านี้
l กองก�ำลั ง ระดั บ ชาติ แ ละระดั บ ท้ อ งถิ่ น

l การสงครามนอกแบบ

l การสงครามข่ า วสาร

l ก�ำลังรบตามแบบ ทั้งระบบอาวุธระยะไกล ปานกลาง และระยะใกล้

ท�ำการแยกสลายพันธมิตร เพื่อเอาชนะโดยไม่ต้องรบ (win without fighting)


ยามขัดแย้งกันด้วยอาวุธ (Armed Conflict)
ใช้ ยุ ท ธศาสตร์ ป ้ อ งกั น และการยื น หยั ด สร้ า งปราการป้ อ งกั น หลายชั้ น
(Multiple Layers of Stand – off) แยกสลายกองก�ำลังรบร่วม (Joint Force)
ป้องกันการเข้าถึงเรื่อง เวลา (Time) มิติพื้นที่ปฏิบัติการ (Space) และพันธกิจ
การรบ (Function) ด้วยวิธีการและเครื่องมือเหล่านี้
l กองก�ำลั ง ระดั บ ชาติ แ ละระดั บ ท้ อ งถิ่ น

l ก�ำลั ง รบตามแบบ ทั้ ง ระบบอาวุ ธ ระยะไกล ปานกลาง และระยะใกล้

l การสงครามนอกแบบ

l การสงครามข่ า วสาร

เข้าเอาชนะอย่างรวดเร็วด้วยการจู่โจม เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของ
การทัพ
ศูนย์กลางแห่งความคิด (Central Idea)
ก�ำลังกองทัพบกในฐานะองค์ประกอบหนึ่งของกองก�ำลังรบร่วม เข้า
ปฏิบัติการยุทธ์หลายมิติ (Multi – Domain Operations) ด้วยความเหนือกว่า
ในการสัประยุทธ์ชิงชัยเมื่อจ�ำเป็น ก�ำลังของกองทัพบกจะท�ำการเจาะทะลวง
สลายระบบต่ อ ต้ า นการเข้ า ถึ ง และการปฏิ เ สธพื้ น ที่ (ห้ ว งมิ ติ ก ารรบ) ของ
ข้าศึก ขยายผลจากการมีเสรีในการด�ำเนินกลยุทธ์ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
ทางยุทธศาสตร์ (win) และกลับเข้าวางก�ำลังใหม่ภายใต้สภาพเงื่อนที่อ�ำนวย
ประโยชน์
1. กองก�ำลั ง รบร่ ว มจะเข้ า ต่ อ สู ้ อ ย่ า งไร จึ ง จะสามารถเอาชนะ
การปฏิ บั ติ ก ารของข้ า ศึ ก ลงได้ และท�ำให้ เ กิ ด เสถี ย รภาพในภู มิ ภ าค ด้ ว ย
การยับยั้งการเพิ่มความรุนแรงรวมถึงพื้นที่ที่ซึ่งจะมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น และ
อาจน�ำไปสู่ความขัดแย้งด้วยอาวุธได้อย่างรวดเร็ว
2. ท�ำอย่างไรกองก�ำลังรบร่วมจะสามารถเจาะทะลวงระบบต่อต้าน
การเข้าถึง และการปฏิเสธพื้นที่ (ห้วงมิติการรบ) ของข้าศึก เพื่อสามารถ
ด�ำเนิ น กลยุ ท ธ์ ใ นระดั บ ยุ ท ธศาสตร์ แ ละยุ ท ธการเข้ า ไปยั ง พื้ น ที่ ส นั บ สนุ น
ทางลึก
3. ท�ำอย่างไรกองก�ำลังรบร่วมจะสามารถสลายระบบต่อต้านการ
เข้าถึงและการปฏิเสธพื้นที่ (ห้วงมิติการรบ) ในพื้นที่ทางลึกของข้าศึกลงได้
เพื่อสามารถเข้าด�ำเนินกลยุทธ์ในระดับยุทธการและยุทธวิธี
4. กองก�ำลังรบร่วมจะขยายผลที่ได้รับจากการมีเสรีในการด�ำเนิน
กลยุทธ์อย่างไร เพื่อให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ในทางยุทธการและยุทธศาสตร์
รวมตลอดถึงยังความพ่ายแพ้ให้แก่ข้าศึกในพื้นที่การรบระยะใกล้ และพื้นที่
การรบทางลึก
5. ท�ำอย่างไรเมื่อกองก�ำลังรบร่วมต้องกลับเข้าสู่พื้นที่การรบ เพื่อ
เสริมความมั่นคงขึ้นใหม่ สร้างผลลัพธ์ที่ยั่งยืน ก�ำหนดเงื่อนไขการป้องปราม
ทางยุทธศาสตร์ในระยะยาวและปรับเปลี่ยนไปสู่สภาพแวดล้อมความมั่นคง
ใหม่ได้
หลักการของการยุทธ์หลายมิติ
(Tenets of Multi-Domain Operation)

เกณฑ์ของการวางก�ำลัง (Calibrated Force Posture)


l กองก�ำลั ง ที่ มี อ ยู ่ ใ นแนวหน้ า : Forward presence forces

l กองก�ำลั ง ที่ ร บนอกประเทศ : Expeditionary forces

l ขี ด ความสามารถในระดั บ ชาติ : National-Level capabilities

l ผู ้ มี อ�ำนาจ : Authorities

รูปขบวนการปฏิบัติ (Multi-Domain Formations)


l เข้ า ด�ำเนิ น กลยุ ท ธ์ ไ ด้ อ ย่ า งเสรี

l ใช้ ก ารยิ ง ข้ า มโดเมน (มิ ติ ก ารปฏิ บั ติ )

l ท�ำให้ ม นุ ษ ย์ มี ศั ก ยภาพสู ง สุ ด

การรวมพลังอ�ำนาจ (Convergence : time, space, capabilities)


l ความสอดคล้ อ งร่ ว มกั น ระหว่ า งโดเมน : Cross-domain synergy

l แนวทางและเครื่ อ งมื อ ตามระดั บ ชั้ น : Layered option

l การบั ง คั บ บั ญ ชาที่ มุ ่ ง เน้ น ภารกิ จ /ความริ เริ่ ม ที่ เ ปี ่ ย มด้ ว ยความ

มีวินัย : Mission Command /disciplined initative


การรวมพลังอ�ำนาจตามล�ำดับขั้น
(Convergence at Echelon)

XXXX
Army กองทัพบกยุทธบริเวณ (ภาคพื้น)
Theater
จัดเตรียมพื้นที่ยุทธบริเวณ ปรับปรุงขีดความสามารถของก�ำลัง
l

l ด�ำรงรั ก ษาความริ เริ่ ม

l การจั ด ยุ ท ธบริ เวณ (Sets the theater)

l ท�ำให้ ก�ำลั ง รบนอกประเทศมี ค วามสามารถในการด�ำเนิ น กลยุ ท ธ์

l ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในภูมิภาคอย่างรวดเร็ว
l ป้ อ งกั น ฐานที่ ตั้ ง สถานี เชื่ อ มต่ อ ที่ ส�ำคั ญ  (Key nodes) และระบบ
เครือข่าย
XXXX

Field
กองทัพบกสนาม
l เข้าท�ำการชิงชัยกับคู่ต่อสู้ที่อยู่ใกล้เคียง
l เข้าปฏิบัติทางยุทธการในทุกโดเมน (ห้วงมิติการรบ)
l จัดเตรียมสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติการ
l เปิดช่องให้มีการยับยั้งอย่างน่าเชื่อถือ
l บังคับบัญชากองทัพน้อยได้หลายกองทัพ
l ให้อ�ำนาจแก่พันธมิตรร่วมรบ และหน่วยรบพิเศษ (SOF)
l ใช้การยิงระยะไกล
XXX
Corps

l ท�ำการจั ด เฉพาะกิ จ เพื่ อ ท�ำหน้ า ที่ แ ละภารกิ จ ได้ อ ย่ า งกว้ า งขวาง
ในลักษณะของกองก�ำลังเฉพาะกิจร่วม (Joint task Force)
l ประสานงานการด�ำเนินกลยุทธ์ข้ามโดเมน
l บังคับบัญชากองพลได้หลายกองพล
l จัดรูปแบบพื้นที่การรบระยะใกล้ เอาชนะข้าศึก ใช้อ�ำนาจการยิงระยะ
ปานกลาง และสนธิระบบป้องกันภัยทางอากาศ ( IADS )
l ต่อต้านเอาชนะการยิงระยะไกลของข้าศึก
บทสรุปผู้บริหาร

1. ความมุง่ หมาย : จากการสูร้ บหลายมิติ (Multi – Domain Battle)


จนถึงการปฏิบัติการหลายมิติ (Multi – Domain Operation) จุลสาร
TRADOC 525-3-1 เรื่อง “กองทัพสหรัฐฯ ในการปฏิบัติการหลายมิติ 2028”
ได้ขยายความจากแนวความคิดที่ถูกเขียนไว้ก่อนหน้านี้ในหนังสือเรื่อง “การ
ต่อสู้หลายมิติ : วิวัฒนาการการรบผสมเหล่าในศตวรรษที่ 21” ซึ่งอธิบายถึง
วิธีการว่ากองทัพบกจะมีบทบาทในภารกิจหลักของกองก�ำลังรบร่วมอย่างไร
ดังที่ก�ำหนดไว้ในบทสรุปย่อของยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ (NDS) เกี่ยว
กั บ การยั บ ยั้ ง และเอาชนะ การคุ ก คามของจี น และรั ส เซี ย ทั้ ง ทางด้ า นการ
แข่งขันและความขัดแย้ง แนวความคิดการปฏิบัติการหลายมิติของกองทัพ
สหรัฐฯ (Multi – Domain Operations) ดังกล่าว มุ่งประสงค์จะเสนอวิธี
แก้ไขปัญหาและเงื่อนไขทางทหารที่เกิดขึ้นในโลกยุคหลังอุตสาหกรรม ภายใต้
พื้นฐานข้อมูลของประเทศที่มีท่าที เช่น จีนและรัสเซีย อย่างไรก็ดีแม้ว่าแนว
ความคิดนี้จะเจาะจงไปที่จีนและรัสเซีย แต่ก็สามารถพัฒนาเพื่อรับมือกับภัย
คุกคามอื่นที่นอกเหนือจากนั้นได้ด้วย
2. ปัญหาและความส�ำคัญ
ก. สภาพแวดล้ อ มการปฏิ บั ติ ก ารที่ เ กิ ด ใหม่ (Emerging
operational environment) ปั จ จั ย ที่ สั ม พั น ธ์ กั น สี่ ป ระการที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด
สภาวะการแข่งขันและความขัดแย้ง อันได้แก่ : (1) ฝ่ายตรงข้ามที่ต่อสู้กัน
ในทุกมิติ (2) สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า (EMS) (3) สภาพแวดล้อมด้านข้อมูล
ข่าวสาร (4) ความเหนือกว่าของสหรัฐฯ ที่ไม่แน่นอน
เนื่ อ งจากกองทั พ ขนาดเล็ ก ต้ อ งต่ อ สู ้ ใ นสงครามขนาดใหญ่
ซึ่งทวีความรุนแรงและมากเกินกว่าจะควบคุมได้ รัฐชาติเผชิญปัญหา อุปสรรค
และมีความยากต่อการก�ำหนดเป้าประสงค์ได้อย่างเปิดเผย ทั้งในเชิงการเมือง
ในทางวัฒนธรรม และเทคโนโลยี และจากสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ที่มี
ความซับซ้อน รัฐข้างเคียงที่พร้อมจะแข่งขันและขัดแย้งกันด้วยอาวุธทุกเมื่อ
ท�ำให้การป้องปรามท้าทายยิ่งขึ้น อัตราการขยายตัวของพื้นที่เมืองที่เพิ่มขึ้น
อย่างมาก ประกอบกับเมืองขนาดใหญ่และเมืองหลวงกลายเป็นจุดยุทธศาสตร์
ที่ส�ำคัญ ดังนั้นจึงเป็นที่แน่ใจว่าการปฏิบัติการทางทหารจะเกิดขึ้นภายในพื้นที่
เมืองอันหนาแน่น
คู่แข่งส�ำคัญอย่าง เช่น จีนและรัสเซีย ได้ใช้ปัจจัยแนวโน้มเหล่านี้
มาขยายขอบเขตของสนามรบในเรื่องของปัจจัยเวลา (ช่วงแห่งความแตกต่าง
ระหว่างสันติภาพและสงครามที่ไม่ชัดเจน), มิติของการปฏิบัติการทางอวกาศ
และไซเบอร์ และมิติทางภูมิศาสตร์ ที่ขณะนี้ขยายขอบเขตออกไปถึงพื้นที่
สนั บ สนุ น ทางยุ ท ธศาสตร์ อั น หมายรวมถึ ง เขตภายในของประเทศ ทั้ ง นี้
เพื่ อ เป็ น การออกแบบการปฏิ บั ติ ท างยุ ท ธวิ ธี ยุ ท ธการ และยุ ท ธศาสตร์
ที่ครอบคลุมผลกระทบต่อความส�ำเร็จในทุกๆ ปัจจัย (Stand – Off) จุดประสงค์
ของเอกสารเล่มนี้ รัสเซียเป็นเสมือนภัยคุกคาม แต่ความเป็นจริงแล้วรัสเซีย
และจีน มีกองทัพที่มีสมรรถนะแตกต่างกัน แต่มีการด�ำเนินการในลักษณะที่
คล้ายคลึงกัน มีทิศทางสอดคล้องกัน เพื่อมุ่งไปสู่ประสิทธิภาพสูงสุดร่วมกัน
ข. การแข่ ง ขั น กั บ จี น และรั ส เซี ย ในสภาวะการแข่ ง ขั น อย่ า ง
ต่อเนื่อง จีนและรัสเซียได้แสวงประโยชน์จากสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติ
การ เพื่ อ บรรลุ เ ป้ า หมายโดยปราศจากมาตรการความขั ด แย้ ง ทางทหาร
ที่แตกหัก กับทางฝ่ายสหรัฐฯ และพันธมิตรทั้งสองประเทศพยายามออกแบบ
วิ ธี ก ารทางยุ ท ธศาสตร์ อ ย่ า งผสมผสาน (Stand - Off) ผ่ า นการทู ต และ
เศรษฐกิ จ ใช้ ก ารปฏิ บั ติ ก ารนอกแบบและสงครามสารสนเทศ (สื่ อ โซเชี ย ล
การให้ข่าวลวงการโจมตีทางไซเบอร์) และตามความเป็นจริงในขณะนี้ คือ
การใช้ทหารรับจ้างที่เป็นกองก�ำลังธรรมดาทั่วไป กุศโลบายการสร้างความ
ไร้ เ สถี ย รภาพขึ้ น ในประเทศที่ เ ป็ น หมู ่ พั น ธมิ ต ร จี น และรั ส เซี ย ได้ พ ยายาม
สร้างความขัดแย้งทางการเมืองขึ้นภายในประเทศและประเทศพันธมิตร และ
นี่ เ ป็ น เหตุ ผ ลในระดั บ ยุ ท ธศาสตร์ อั น น่ า เคลื อ บแคลงของพวกเขา คื อ ถึ ง
การฉุดดึงพันธมิตรให้ค่อยๆ โตอย่างช้าๆ จีนและรัสเซียเชื่อว่าพวกเขาสามารถ
บรรลุวัตถุประสงค์ของตนภายใต้ประตูทางเข้าที่เป็นจุดเริ่มต้นของความขัดแย้ง
ทางอาวุธ
ค. จี น และรั ส เซี ย กั บ ความขั ด แย้ ง ทางอาวุ ธ ในความขั ด แย้ ง
ทางอาวุธ จีนและรัสเซียพยายามค้นหาวิธีการทางกายภาพระดับยุทธการ
และยุทธศาสตร์ เพื่อบรรลุผลส�ำเร็จ โดยการสร้างระบบต่อต้านการเข้าถึง
(anti-access) และระบบการปฏิเสธไม่ให้เข้าพื้นที่ (area denial) เพื่อตอบโต้
อย่ า งรวดเร็ ว สร้ า งความเสี ย หายและการสู ญ เสี ย ให้ แ ก่ ก องทั พ สหรั ฐ ฯ
และกองทั พ พั น ธมิ ต ร ในระดั บ ที่ ไ ม่ ส ามารถยอมรั บ ได้ และต้ อ งบรรลุ
วัตถุประสงค์ ของกองทัพภายในไม่กี่วัน เร็วเกินกว่าที่สหรัฐฯ จะสามารถ
ตอบสนองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในช่วงยี่สิบห้าปีที่ผ่านมา จีนและรัสเซีย
ลงทุ น และพั ฒ นาระบบที่ เรี ย กว่ า “การหั ก กระดู ก การรบอากาศพื้ น ดิ น ”
(Fracture) ซึ่งเป็นการโต้ตอบกองก�ำลังรบร่วม (Joint Force) ในระบบ
การสู้รบ โดยการต่อต้านความคมชัดของภาพสถานการณ์ ต่อต้านการปฏิบัติ
ตามขั้นตอนของเส้นเวลา Time – Phase เวลาและการรวมมิติของการรบ
ร่วม ในการเข้าถึงการปฏิบัติการความขัดแย้งทางอาวุธ ส่งผลให้ระบบต่อต้าน
การเข้าถึงและการปฏิเสธไม่ให้พื้นที่ห้วงการรบนี้ เป็นการสร้างผลกระทบ
ระดั บ ยุ ท ธการ – ยุ ท ธศาสตร์ ด้ ว ยปฏิ บั ติ ก ารที่ แ ยกองค์ ป ระกอบของ
กองก�ำลังรบร่วมขัดขวางความประสานสอดคล้องในเรื่องเวลา พื้นที่ และ
พั น ธกิ จ การรบ ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น จี น และรั ส เซี ย ยั ง คงพั ฒ นาระบบต่ อ ต้ า น
การเข้าถึงและการปฏิเสธไม่ให้เข้าถึงพื้นที่ (Space) นี้อย่างต่อเนื่อง พร้อม
กับก�ำลังแพร่กระจายเทคโนโลยีและหลักการทางเทคนิคเหล่านี้ไปยังรัฐอื่นๆ
ซึ่งกองก�ำลังรบร่วม (ของสหรัฐฯ) ยังไม่เท่าทันกับการพัฒนาเหล่านี้ เพราะ
กองก�ำลั ง รบร่ ว มถู ก ออกแบบมาเพื่ อ ปฏิ บั ติ ก ารในสภาพแวดล้ อ มที่ ถู ก จั ด
รูปแบบขึ้นเป็นการเฉพาะและยังไม่มีข้อโต้แย้ง ดังเช่น ล�ำดับขั้นความต่อ
เนื่องการปฏิบัติของแผนการทัพ ซึ่งอยู่บนพื้นฐานวิธีการอันคาดการณ์ไว้ว่า
เราจะมีความเหนือกว่าด้านก�ำลังกองทัพอากาศและกองทัพเรือ : จะมีการ
โจมตีทางอากาศและทางเรือเป็นบริเวณกว้างในขั้นจัดรูปแบบของการยุทธ์
ก่ อ นที่ จ ะใช้ ก�ำลั ง รบร่ ว มผสมเข้ า ท�ำการรบ ในขั้ น ตอนสุ ด ท้ า ยของการ
ลดประสิทธิภาพและท�ำลายก�ำลังของข้าศึก
3. การปฏิบัติการยุทธ์หลายมิติ (Multi – Domain Operations)
ก. หลักการส�ำคัญ ก�ำลังกองทัพบกในฐานะที่เป็นองค์ประกอบ
ส�ำคัญของกองก�ำลังรบร่วมจะเข้าปฏิบัติการ การยุทธ์หลายมิติด้วยหลักการ
ความเหนื อ กว่ า เพื่ อ ชิ ง ชั ย ในการสั ป ระยุ ท ธ์ ในกรณี จ�ำเป็ น กองทั พ บก
จะแทรกซึมหรือเจาะผ่านเข้าไป เพื่อสลายและท�ำลายระบบต่อต้านการเข้าถึง
และระบบการปฏิเสธไม่ให้เข้าพื้นที่ (ห้วงมิติการรบ : Space) ของข้าศึก เพื่อให้
ฝ่ า ยเรามี เ สรี ใ นการด�ำเนิ น กลยุ ท ธ์ แ ละบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ท างยุ ท ธศาสตร์
ในยุทธบริเวณ (ชัยชนะ) และบังคับให้เข้าสู่สภาพเงื่อนไขทางยุทธการที่เรา
ต้องการ
ข. หลักการของการปฏิบัติการยุทธ์หลายมิติ กองทัพบกมุ่งแก้ไข
ปัญหาที่ก�ำลังเผชิญอยู่ในขณะนี้ ในท่ามกลางความขัดแย้งและการแข่งขันกับ
จีน-รัสเซีย ด้วยการประยุกต์ใช้หลักการ 3 ข้อ ที่มีสัมพันธภาพต่อกัน ดังนี้
1) เกณฑ์ของการวางก�ำลัง (Calibrated force posture), 2) รูปขบวนการยุทธ์
หลายมิติ (Multi - domain formations) 3) การรวมพลังอ�ำนาจ เกณฑ์ของ
การวางก�ำลั ง คื อ การผสมผสานต�ำแหน่ ง ของการวางก�ำลั ง และขี ด ความ
สามารถการด�ำเนินกลยุทธ์ การเคลื่อนที่เข้าสู่เส้นปฏิบัติการและการเข้าถึง
ทางยุทธศาสตร์ รูปขบวนการยุทธ์หลายมิติ สร้างขีดความสามารถ สมรรถนะ
และการยืนหยัดที่จ�ำเป็นต่อการปฏิบัติการในหลายมิติ เพื่อการช่วงชิงห้วงมิติ
การรบกับคู่ต่อสู้ ซึ่งใกล้เคียงการรวมพลังอ�ำนาจ คือ การสนธิขีดความสามารถ
การรบในทุ ก มิ ติ แ บบบู ร ณาการน�ำเอาสมรรถนะในหลายมิ ติ ม ารวมกั น ,
the EMS (Electromagnetic spectrum) และสภาพแวดล้อมด้านข้อมูล
ข่าวสารที่เหมาะสม เพื่อเอาชนะศัตรูผ่านการรบร่วมหลายมิติ ในลักษณะ
ของการโจมตี ห ลายรู ป แบบ การบั ง คั บ บั ญ ชาที่ มุ ่ ง เน้ น ภารกิ จ (Mission
Command) และภายใต้ ค วามริ เริ่ ม ที่ มี วิ นั ย หลั ก สามประการของวิ ธี ก าร
ดังกล่าวนี้ เป็นการเสริมก�ำลังอ�ำนาจซึ่งกันและกัน ส�ำหรับการปฏิบัติการ
ยุ ท ธ์ ห ลายมิ ติ ทั้ ง หมดโดยทั่ ว ไป ซึ่ ง แม้ ว ่ า จะเป็ น อย่ า งไรก็ ต าม การปฏิ บั ติ
ทั้งหมดจะท�ำให้บรรลุได้นั้นมันขึ้นอยู่กับการจัดล�ำดับในการปฏิบัติ และขึ้นอยู่
กับสถานการณ์เฉพาะในการปฏิบัติการแต่ละครั้ง
ค. การปฏิบัติการยุทธ์หลายมิติและวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์
(Strategic Objective) กองก�ำลังรบร่วมจะต้องท�ำให้ฝ่ายตรงข้ามพ่ายแพ้
และบรรลุเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ในยุทธบริเวณในการชิงชัย เมื่อขัดแย้ง
ด้วยอาวุธ รวมถึงการกลับสู่การวางก�ำลังใหม่อีกครั้ง ซึ่งในการสัประยุทธ์
ชิงชัยนี้ กองก�ำลังรบร่วมจะขยายพื้นที่ขอบเขตห้วงการยุทธ์ออกไป ด้วยความ
คล่องแคล่วในการรบปะทะ ด้วยสงครามนอกแบบ และสงครามข้อมูลข่าวสาร
ที่ มุ ่ ง ไปยั ง คู ่ ต ่ อ สู ้ ป ฏิ บั ติ ก ารอั น พร้ อ มเพรี ย งกั น นี้ จะยั บ ยั้ ง การยกระดั บ
ของสงคราม เป็นการเอาชนะความพยายาม ในการต่อสู้ของฝ่ายตรงข้าม
ด้วยการ “ชนะโดยไม่ต้องรบ (Win without fighting)” และเป็นการจ�ำกัด
เงื่อนไขส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความขัดแย้งทางอาวุธ ในสถานการณ์
ความขั ด แย้ ง ทางอาวุ ธ กองก�ำลั ง รบร่ ว มจะเอาชนะการรุ ก รานโดยการ
ใช้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพของการปฏิ บั ติ ห ลายมิ ติ อ ย่ า งเหมาะสม ณ ห้ ว งการรบ
แตกหั ก (Decisive Spaces) เพื่ อ เจาะทะลวงยุ ท ธศาสตร์ ข องข้ า ศึ ก คื อ
ระบบปฏิ บั ติ ก ารต่ อ ต้ า นการเข้ า ถึ ง และการปฏิ เ สธไม่ ใ ห้ เข้ า พื้ น ที่ ห ้ ว งมิ ติ
การรบ ท�ำลายระบบการเชื่ อ มต่ อ และความประสานสอดคล้ อ งในการรบ
เช่น ระบบควบคุมบังคับบัญชา ระบบข่าวกรอง และระบบ ปภอ. ของข้าศึก
และใช้ประโยชน์จากเสรีในการด�ำเนินกลยุทธ์ที่จ�ำเป็น เพื่อให้ฝ่ายเราบรรลุ
วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นระดั บ ยุ ท ธการและยุ ท ธศาสตร์ เป็ น การสร้ า งเงื่ อ นไข
ที่เอื้ออ�ำนวยต่อผลทางการเมือง และในกรณีหวนกลับสู่การวางก�ำลังใหม่
กองก�ำลังรบร่วมจะใช้ประโยชน์จากผลลัพธ์ที่ผ่านมาในการยับยั้งความขัดแย้ง
ซึ่งจะเกิดขึ้นต่อไป เพื่ออนุญาตให้มีการเพิ่มก�ำลังและปฏิบัติการด้านความ
มั่นคงในระดับภูมิภาคให้สอดคล้องกับเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ
ง. ปั ญ หาและวิ ธี แ ก้ ไขปั ญ หาของการยุ ท ธ์ ห ลายมิ ติ ในการ
บรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ท างยุ ท ธศาสตร์ เ หล่ า นี้ กองทั พ บกในฐานะที่ เ ป็ น ส่ ว น
ของกองก�ำลั ง รบร่ ว มสหรั ฐ ฯ และพั น ธมิ ต ร ต้ อ งแก้ ไขปั ญ หาการปฏิ บั ติ
ในทางยุทธการ ห้าประการ ดังนี้
(1) กองก�ำลั ง รบร่ ว มจะเข้ า สั ป ระยุ ท ธ์ ชิ ง ชั ย อย่ า งไร เพื่ อ
สามารถท�ำให้ฝ่ายตรงข้ามที่สั่นคลอนเสถียรภาพของภูมิภาค ต้องประสบ
ความพ่ายแพ้ยับยั้งความรุนแรงที่ขยายตัวและการท�ำลายที่เพิ่มขึ้น ซึ่งท�ำให้
สามารถน�ำไปสู่ความขัดแย้งทางอาวุธอย่างรวดเร็ว ในอดีตที่ผ่านมา การทหาร
ของสหรัฐอเมริกานั้น สืบเนื่องมาจากเหตุผลทางวัฒนธรรม กฎหมาย และ
นโยบายทางการเมื อ งมั ก เป็ น สาเหตุ ใ ห้ เ กิ ด การชิ ง ชั ย ภายใต้ ค วามขั ด แย้ ง
ทางอาวุ ธ การช่ ว งชิ ง ชั ย ชนะที่ ป ระสบความส�ำเร็ จ ต้ อ งมี ก�ำลั ง กองทั พ บก
เข้ า ร่ ว มมี บ ทบาทอย่ า งเข้ ม แข็ ง เสมอในทุ ก ส่ ว นของมิ ติ ก ารปฏิ บั ติ เช่ น ใน
มิติอวกาศ ไซเบอร์สเปซ แถบสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า (EMS) และสภาพ
แวดล้ อ มด้ า นข้ อ มู ล ข่ า วสาร ก�ำลั ง กองทั พ บกสามารถท�ำให้ ก องก�ำลั ง
รบร่ ว มและหน่ ว ยอื่ น สามารถยึ ด ครองและด�ำรงรั ก ษาไว้ ซึ่ ง ความริ เริ่ ม
ในการปฏิบัติการ ในลักษณะของการยับยั้งความขัดแย้งในแง่ที่ส่งผลประโยชน์
ต่ อ สหรั ฐ อเมริ ก า ด้ ว ยการเอาชนะความพยายามของฝ่ า ยตรงข้ า ม โดย
การขยายมิ ติ พื้ น ที่ ห ้ ว งการรบและการช่ ว งชิ ง ภายใต้ ส ภาพเงื่ อ นไขของ
ความขั ด แย้ ง พร้ อ มกั บ จั ด รู ป แบบสถานการณ์ เพื่ อ ที่ จ ะให้ ก องก�ำลั ง รบ
ร่วมเปลี่ยนแปลงไปสู่ความขัดแย้งทางอาวุธโดยเร็ว สถานะของกองทัพบก
(รวมถึงหน่วยงานที่จ�ำเป็น) และขีดความสามารถ (รวมถึงเจ้าหน้าที่ส�ำคัญๆ)
มี ค วามพร้ อ มในการปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ ด้ ว ยการยั บ ยั้ ง การยกระดั บ
สถานการณ์ของฝ่ายตรงข้าม ไม่ว่าจะเป็นการตอบโต้ข้อมูลข่าวสารและการท�ำ
สงครามนอกแบบ ความพยายามที่ จ ะบี บ บั ง คั บ พั น ธมิ ต รของสหรั ฐ ฯ โดย
ใช้ ค วามขั ด แย้ ง ทางอาวุ ธ ตลอดจนการสร้ า งเงื่ อ นไขอื่ น ๆ ในทางปฏิ ป ั ก ษ์
การที่สหรัฐฯ ปฏิเสธหรือการสร้างข้อจ�ำกัดในการสนับสนุนกองก�ำลังติดอาวุธ
ของฝ่ายตรงข้ามผ่านตัวแทนหุ้นส่วนที่เป็นทางการ ก็สามารถตอบโต้ความ
พยายามในการที่จะท�ำให้ประเทศของพันธมิตรเราไม่มั่นคง ความสามารถ
ที่แสดงให้เห็นว่า จีนและรัสเซียเหนือกว่าในเรื่องความขัดแย้งด้วยอาวุธนั้น
เป็ น เพี ย งเรื่ อ งเล่ า โดยฝ่ า ยตรงข้ า มที่ พ ยายามวาดภาพให้ เ ห็ น ว่ า สหรั ฐ ฯ
เป็ น พั น ธมิ ต รที่ อ ่ อ นแอหรื อ ไม่ แ น่ น อน ดั ง นั้ น การปฏิ บั ติ ที่ ผ สมผสานกั น
เหล่ า นี้ เ ป็ น การสร้ า งสภาพแวดล้ อ มที่ เ อื้ อ อ�ำนวยต่ อ กองก�ำลั ง รบร่ ว มของ
เราให้เปลี่ยนแปลงเข้าสู่ความขัดแย้งทางอาวุธได้อย่างรวดเร็ว
(2) กองก�ำลั ง รบร่ ว มจะสามารถเจาะทะลวงระบบต่ อ ต้ า น
การเข้ า ถึ ง และการปฏิ เ สธไม่ ใ ห้ เข้ า พื้ น ที่ ห ้ ว งมิ ติ ก ารรบของศั ต รู ตลอดทั้ ง
พื้ น ที่ ส นั บ สนุ น ในทางลึ ก เพื่ อ ให้ ส ามารถโจมตี ท างยุ ท ธศาสตร์ แ ละด�ำเนิ น
กลยุ ท ธ์ ในระดั บ ยุ ท ธการได้ อ ย่ า งไร ในกรณี ที่ มี ค วามขั ด แย้ ง ทางอาวุ ธ
การสู้รบของก�ำลังกองทัพบก จะท�ำการเจาะและแทรกซึมเข้าไป เพื่อตัดรอน
ระบบป้องกันการเข้าถึงและการปฏิเสธไม่ให้เข้าพื้นที่ห้วงมิติการรบของข้าศึก
ซึ่งเป็นระบบต่อต้านระยะไกลทันที จากนั้นเข้าท�ำการต่อสู้กับกองก�ำลังหน่วย
ด�ำเนินกลยุทธ์ของข้าศึก ด้วยการปรับรูปขบวนกรีธาทัพจากระยะการเข้าถึง
ทางยุทธการและยุทธศาสตร์ การผสมผสานขีดความสามารถหลายมิติของ
กองก�ำลังรบร่วมและพันธมิตร เพื่อโจมตีระบบระยะไกลของศัตรูอย่างรวดเร็ว
จะส่งผลให้กองก�ำลังที่อยู่แนวหน้าเข้าท�ำการต่อสู้กับข้าศึกได้ทันที ท่ามกลาง
การโจมตีมิติต่าง ๆ ของศัตรู กองก�ำลังแนวหน้าของฝ่ายเรายังคงรักษาเส้น
การสื่อสาร ด้วยการพยายามลดระดับขีดความสามารถในการลาดตระเวน
และการค้นหาเป้าหมายระยะไกลของข้าศึก โดยใช้การผสมผสานระหว่าง
การลวง การกระจายก�ำลังและการพิทักษ์หน่วย ความสมดุลของสมรรถนะที่
เหมาะสมทั่วทั้งกองก�ำลังในยุทธบริเวณ จะส่งผลต่อเนื่องให้กองก�ำลังในแนว
หน้ามีความสามารถอย่างเต็มที่ในการรุกไปข้างหน้า สามารถเข้าวางก�ำลังได้
ในช่วงเวลาซึ่งเกี่ยวข้องอย่างมีนัยส�ำคัญทางยุทธศาสตร์ในยุทธบริเวณ
(3) กองก�ำลั ง รบร่ ว ม จะสามารถท�ำลายระบบต่ อ ต้ า น
การเข้าถึงและการปฏิเสธไม่ให้เข้าพื้นที่ห้วงมิติการรบของศัตรู ในพื้นที่ทาง
ลึกได้อย่างไร เพื่อให้ฝ่ายเราสามารถเข้าด�ำเนินกลยุทธ์ในระดับยุทธการและ
ยุทธวิธี กองก�ำลังรบร่วมจะต้องสลายระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธ
ไม่ ใ ห้ เข้ า พื้ น ที่ ห ้ ว งมิ ติ ก ารรบของข้ า ศึ ก (Anti-acces and area denial
systems) เพื่อเอาชนะขีดความสามารถในการยืนหยัดในระดับยุทธการและ
ยุทธศาสตร์ (ซึ่งท�ำให้รัสเซียและจีนมีเสรีในการปฏิบัติ ทั้งทางด้านการเมือง
และการทหาร)
(4) กองก�ำลังรบร่วมจะขยายผลจากการมีเสรีในการด�ำเนิน
กลยุทธ์อย่างไร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในระดับยุทธการและยุทธศาสตร์
จนถึงการเอาชนะข้าศึกในพื้นที่การรบระยะใกล้และในพื้นที่ด�ำเนินกลยุทธ์
ทางลึ ก ในพื้ น ที่ ก ารรบระยะใกล้ แ ละพื้ น ที่ ด�ำเนิ น กลยุ ท ธ์ ท างลึ ก นี้ ก�ำลั ง
กองทั พ บกจะขยายผลจากจุ ด อ่ อ นในระบบควบคุ ม บั ง คั บ บั ญ ชาของข้ า ศึ ก
จากการต้องพึ่งพาระบบป้องกันภัยทางอากาศและการยิงสนับสนุนภาคพื้น
เพื่อท�ำให้มีชัยเหนือข้าศึกอย่างสมบูรณ์ กองก�ำลัง ทบ. จะใช้การลวงและ
การปฏิบัติร่วมกับมิติอื่นๆ เพื่อให้ข้าศึกวางก�ำลังอย่างไม่เหมาะสม ด้วยการ
ลวงทางกายภาพ การสร้างภาพเสมือนจริง การลวงทางการรับรู้ผ่านหน่วย
รองของข้าศึก เพื่ออ�ำนวยให้ก�ำลังฝ่ายเราบรรลุความส�ำเร็จด้วยอัตราส่วน
ก�ำลั ง ที่ เ หมาะสม ในขณะที่ ก องก�ำลั ง รบร่ ว มยั ง คงด�ำรงการท�ำลายความ
เป็นปึกแผ่น ของระบบต่อต้านการเข้าถึง และการปฏิเสธไม่ให้เข้าพื้นที่ห้วง
การรบของข้ า ศึ ก เพื่ อ การขยายผลในอนาคตจนกระทั่ ง ฝ่ า ยเราบรรลุ
วัตถุประสงค์ของการทัพ
(5) กองก�ำลังรบร่วมจะปฏิบัติการซ�้ำอีกครั้ง เพื่อการสถาปนา
เสริมความมั่นคงแห่งความมีชัย ด�ำรงผลลัพธ์ที่ยั่งยืน สร้างเงื่อนไขส�ำหรับ
มาตรการป้องปรามในระยะยาว เพื่อปรับเข้าสู่สภาพแวดล้อมความปลอดภัย
ใหม่ และทั้งหมดนี้กองก�ำลังรบร่วมจะท�ำอย่างไร กองก�ำลัง ทบ. ท�ำการสถาปนา
เสริมความมั่นคงจากชัยชนะที่ได้มาโดยสร้างเงื่อนไขส�ำหรับสภาพแวดล้อม
ด้ า นความมั่ น คงที่ ดี ที่ สุ ด ด้ ว ยการรั ก ษาและควบคุ ม ภู มิ ป ระเทศส�ำคั ญ
ประชากร เพื่ อ อ�ำนวยให้ ผู ้ ก�ำหนดนโยบายด้ า นต่ า งๆ ของสหรั ฐ ฯ สร้ า ง
ความได้ เ ปรี ย บทางการเมื อ ง การเสริ ม ความมั่ น คงแห่ ง ชั ย ชนะเหล่ า นี้
จะส�ำเร็จโดยมุ่งเน้นการปฏิบัติที่พร้อมเพรียงกัน 3 ประการ คือ การพิทักษ์
ประชาชนและทรัพยากร เพื่อเสถียรภาพอันยั่งยืนสร้างเงื่อนไขเพื่อการยับยั้ง
ระยะยาว โดยการสร้างพันธมิตร และเสริมขีดความสามารถกองก�ำลังรบร่วม
ความเข้ ม แข็ ง ของหน่ ว ยองค์ ก รตามพั น ธกิ จ ของแต่ ล ะโดเมน (มิ ติ ) และ
มิติด้านข้อมูลข่าวสาร อ�ำนวยปัจจัยเวลาให้กองทัพสหรัฐฯ สร้างสมดุลอ�ำนาจ
ทางทหารขึ้นใหม่ในภูมิภาค และสร้างความน่าเชื่อถือต่อไป

4. การประยุกต์ของกองทัพบก
ก. ส่งเสริมให้มีการด�ำเนินยุทธ์ผสมเหล่าอย่างกว้างขวาง สภาพ
แวดล้ อ มทางยุ ท ธการที่ เ กิ ด ใหม่ ความท้ า ทาย ซึ่ ง ถู ก จั ด วางโดยจี น และ
รัสเซีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งขีดความสามารถของพวกเขาในด้านการเมืองและ
การทหาร เพื่อสร้างการยืนหยัดทางยุทธศาสตร์ (stand-off), ความต้องการ
ให้กองก�ำลังรบร่วมพัฒนาใช้ตามหลักการที่พิสูจน์แล้ว ในเรื่องการด�ำเนิน
กลยุทธ์ผสมเหล่า การรวมพลังอ�ำนาจบังคับวิถี ณ พื้นที่มิติการรบแตกหัก
ส่ ว นที่ แ ตกต่ า งออกไปคื อ กองก�ำลั ง ทบ. ต้ อ งพั ฒ นาใช้ ขี ด ความสามารถ
การรบร่ ว มให้ ก ว้ า งขวางยิ่ ง ขึ้ น รวดเร็ ว ขึ้ น ขี ด ความสามารถที่ สู ง ขึ้ น และ
หนทางใหม่ท่ีรวดเร็วและคล่องแคล่วกว่า การพัฒนารูปแบบการรบหลายมิติ
ท�ำให้ ก องก�ำลั ง รบร่ ว มมี ส ่ ว นแจ้ ง เตื อ น เฝ้ า ระวั ง และโจมตี อ งค์ ป ระกอบ
ส�ำคัญของเหล่าทัพและจุดอ่อนหรือช่องโหว่ในระบบของข้าศึก กองก�ำลัง ทบ.
ด�ำเนิ น การยึ ด พื้ น ที่ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ท�ำลายกองทั พ ของข้ า ศึ ก และพิ ทั ก ษ์
ประชาชนที่เป็นมิตร ก�ำลังกองทัพบกจะรักษาสมรรถนะให้มีความเหนือกว่า
ข้าศึกเสมอ โดยการรวบรวมขีดความสามารถของทุกมิติสเปกตรัมแม่เหล็ก
ไฟฟ้า (EMS) และสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร
ข. เข้าปฏิบัติการเป็นระลอก กองก�ำลัง ทบ. เข้าปฏิบัติการยุทธ์
หลายมิ ติ ด ้ ว ยล�ำดั บ การใช้ รู ป ขบวน ซึ่ ง ประกอบไปด้ ว ย การข่ า วกรอง
การด�ำเนิ น กลยุ ท ธ์ ปฏิ บั ติ ก ารโจมตี 5 มิ ติ (อากาศ, บก, เรื อ , อวกาศ
และไซเบอร์) สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร และสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า
(EMS) ความสามารถของการรวมตัวของก�ำลัง ทบ. เป็นระลอก เพื่อที่จะสนธิ
ขีดความสามารถจากหลายหนทางและล�ำดับการปฏิบัติจาก ผบ. ก�ำลังรบร่วม
เพื่ อ ท�ำให้ ข ้ า ศึ ก สั บ สน ล�ำดั บ ของการใช้ ก�ำลั ง คื อ ป้ อ งกั น การโดดเดี่ ย ว
ของก�ำลั ง ในแนวหน้ า จากการยื น หยั ด ของข้ า ศึ ก ด้ ว ยยุ ท ธศาสตร์ ร ะบบต่ อ
ต้านการเข้าถึงและปฏิเสธพื้นที่ในช่วงความขัดแย้งเริ่มขึ้น จากนั้นใช้ความ
สามารถทางยุ ท ธศาสตร์ แ ละการด�ำเนิ น กลยุ ท ธ์ ร ะดั บ ยุ ท ธการจากก�ำลั ง ที่
อยู่นอกระยะ ของระบบต่อต้านการเข้าถึงและปฏิเสธไม่ให้เข้าพื้นที่ โดยที่
กองก�ำลัง ทบ. ด�ำเนินกลยุทธ์เป็นระลอก เพื่อให้กองก�ำลังรบร่วมสามารถ
เอาชนะกองทัพจีนและรัสเซียอย่างเด็ดขาด โดยการสร้างอ�ำนาจที่เหนือกว่า
เพื่อความมีเสรีในการด�ำเนินกลยุทธ์
ค. หลอมรวมขีดความสามารถผ่านโดเมน (มิติ) ต่างๆ การหลอม
รวมขีดความสามารถต่างๆ ของแต่ละมิติ ท�ำประโยชน์ได้มากกว่ามิติเดี่ยว
2 ประการ คือ การท�ำงานร่วมกันในหลายมิติสร้างความเหนือกว่าและการ
โจมตีหลายรูปแบบสร้างล�ำดับชั้นระหว่างมิติ เพื่อเปิดโอกาสให้ก�ำลังฝ่ายเรา
และท�ำให้ข้าศึกเกิดความสับสน ความสามารถในการหลอมรวมผ่านโดเมน
(มิติ) ต่าง ๆ ท�ำให้กองก�ำลังรบร่วม สร้างภาพสนามรบ, มองเห็นข้าศึก, และ
โจมตีจุดอ่อนของกองทัพจีนและรัสเซีย ท�ำลายความพยายามในการยืนหยัด
ทางยุทธศาสตร์ในปัจจุบันกองก�ำลังรบร่วม หลอมรวมขีดความสามารถผ่าน
การประสานสอดคล้องและสนธิแนวทางของแต่ละโดเมน แต่จะต้องกระท�ำ
อย่างต่อเนื่อง และหลอมรวมขีดความสามารถของแต่ละโดเมนอยู่เสมอๆ
โดยการน�ำหลักการของ การบังคับบัญชาแบบมอบภารกิจ และการริเริ่มที่มี
วินัยเพื่อเผชิญกับภัยคุกคามที่ปรากฏชัดเจนในอนาคต
ง. ศั ก ยภาพอั น สู ง สุ ด ของมนุ ษ ย์ กองทั พ บกได้ ส ร้ า ง และด�ำรง
การพั ฒ นารู ป แบบการปฏิ บั ติ ห ลายมิ ติ โ ดยการคั ด เลื อ ก การฝึ ก และ
การศึกษาให้แก่เหล่าทหาร ผู้น�ำ และหน่วย การใช้ก�ำลังของขีดความสามารถ
หลายมิติ ต้องมีแรงจูงใจของทหาร ในการด�ำรงรักษาภารกิจของ ทบ. เหล่าทหาร
และผู้น�ำต้องมีความรู้และความเชี่ยวชาญในสายงานนั้น ๆ ทบ. ควรบริหาร
จัดการความเชี่ยวชาญ เพื่อที่จะผลิตก�ำลังพลที่มีคุณภาพ และน�ำมารวมอยู่ใน
กลุ่มของผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับการยอมรับ ผู้ที่สามารถก้าวไปข้างหน้าท่ามกลาง
สถานการณ์ อั น คลุ ม เครื อ และสั บ สนวุ ่ น วาย ต้ อ งพั ฒ นาความยื ด หยุ ่ น
ของเหล่าทหารและผู้น�ำ เพื่อขีดความสามารถสูงสุดของ ทบ. การฝึก การศึกษา
ยุ ท โธปกรณ์ สิ่ ง เหล่ า นี้ จ ะช่ ว ยเหลื อ พวกเขา ในการปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ
โดยเฉพาะในช่วงเวลาตึงเครียด คับขัน และสถานการณ์ที่ซับซ้อน
จ. ต้องการชุดพันธกิจตามขีดความสามารถ ทบ. แนวความคิดของ
กองทัพบกสหรัฐฯ ในการปฏิบัติการหลายมิติ จะต้องพัฒนาขีดความสามารถ
เพื่ อ ที่ จ ะเข้ า ร่ ว มในปฏิ บั ติ ก ารข้ า มมิ ติ (Cross-domain) ในก�ำลั ง รบร่ ว ม
โดยการ :
(1) ต�ำแหน่งการวางก�ำลังทางภูมิศาสตร์ตามเส้นแบ่งเขต และ
รวมถึงส่วนประกอบที่ส�ำคัญต่างๆ ของ ทบ. เพื่อที่จะเอาชนะจีนและรัสเซีย
ในสภาวะการแข่งขัน และขัดขวางมิให้เกิดความขัดแย้ง
(2) จัดเตรียมสภาพแวดล้อมทางการยุทธ์ด้วยการสร้างขีดความ
สามารถของพันธมิตรและการปฏิบัติการร่วมกันการจัดเตรียมยุทธบริเวณโดย
พันธกิจในการสถาปนาพื้นที่วางก�ำลังและอ�ำนาจในการเข้าถึง การเตรียม
อาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ์ และสิ่ ง อุ ป กรณ์ , การจั ด เตรี ย มหน่ ว ยข่ า วกรอง, และ
การวางเครือข่ายสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า (EMS) และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
(สนั บ สนุ น โดย Army Materiel Modernization priorities: Army
Network)
(3) สร้างขีดความสามารถของพันธมิตร และขีดความสามารถ
ในการเอาชนะสงครามนอกแบบ และสงครามสารสนเทศที่ จี น และรั ส เซี ย
เป็นผู้อยู่เบื้องหลัง
(4) จั ด เตรี ย มสภาพแวดล้ อ มทางการยุ ท ธ์ ส�ำหรั บ การศึ ก และ
การชิงชัย โดยการสร้างความเข้าใจและขีดความสามารถในการคัดเลือกพื้นที่
ส�ำคัญทางการยุทธ์หรือยุทธศาสตร์ในเขตเมือง
(5) สถาปนาระบบส่ ง ก�ำลั ง บ�ำรุ ง ที่ มี ค วามแน่ น อนสามารถ
เชื่อถือได้ มีความคล่องแคล่วว่องไว และด�ำรงขีดความสามารถที่ส�ำคัญใน
การโต้ ต อบ เพื่ อ สนั บ สนุ น อ�ำนาจในการยิ ง อย่ า งรวดเร็ ว , การปฏิ บั ติ ก าร
หลายมิติ และการด�ำเนินกลยุทธ์โดยอิสระจากพื้นที่สนับสนุนทางยุทธศาสตร์
ไปยังพื้นที่ด�ำเนินกลยุทธ์ในทางลึก
(6) สถาปนาอ�ำนาจการบั ง คั บ บั ญ ชาและการอนุ มั ติ ที่ จ�ำเป็ น
ซึ่งสงวนไว้ใช้ในระหว่างความขัดแย้ง หรือล�ำดับเหนือขึ้นไป เพื่อปฏิบัติการ
ในการแข่งขันช่วงชิง และเปลี่ยนผ่านไปสู่ความขัดแย้งอย่างมีประสิทธิผล
ด้วยความรวดเร็ว
(7) พั ฒ นาขี ด ความสามารถในการปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ ใ น
เขตเมื อ งในทุ ก ระดั บ โดยการพั ฒ นายุ ท ธวิ ธี แ ละขี ด ความสามารถเพื่ อ เพิ่ ม
ความแม่ น ย�ำ ความรวดเร็ ว และประสานสอดคล้ อ งอาวุ ธ ที่ ห วั ง ผลสั ง หาร
กับอาวุธที่ไม่ท�ำลายชีวิต
(8) สนั บ สนุ น ข้ อ มู ล การบรรยายที่ น ่ า เชื่ อ ถื อ ของสหรั ฐ ฯ ถึ ง
การปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ ที่ ใ ห้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ การเผชิ ญ กั บ ภั ย คุ ก คามจาก
ขีดความสามารถของการลาดตระเวน การโจมตี ก�ำลังผสมเหล่าและสงคราม
นอกแบบของจีนและรัสเซีย
(9) ท�ำให้ ผู ้ บั ง คั บ หน่ ว ยและฝ่ า ยอ�ำนวยการแต่ ล ะระดั บ เห็ น
ภาพสนามรบและบั ง คั บ บั ญ ชาการรบได้ ใ นทุ ก มิ ติ ของสเปกตรั ม แม่ เ หล็ ก
ไฟฟ้า เตรียมสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร รวบรวมขีดความสามารถ
พิเศษในห้วงมิติการรบแตกหัก นี่เป็นสาเหตุที่ท�ำให้ ทบ. ต้องใช้เครื่องมือ
ใหม่ที่สามารถรวบรวมขีดความสามารถภายในกองก�ำลังรบร่วม ปรับเปลี่ยน
โครงร่างทฤษฎีการฝึก และปรับเปลี่ยนก�ำลังพลและการบริหารจัดการคน
เก่งในกองก�ำลังรบร่วมได้ ส่วนที่จ�ำเป็นต้องมี คือ การฝึก การจัดการ และ
การเตรี ย มพร้ อ มในด้ า นข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ รั บ จากหน่ ว ยงานรั ฐ บาล ภาคเอกชน,
หรือจากข้อมูลที่สะสมไว้ในช่วงเวลาที่ผ่านมา
(10) ด�ำเนินการสิ่งเหล่านี้ให้แก่ ผบ.กองก�ำลังรบร่วม รูปขบวนรบ
และระบบหลายมิติที่สามารถหลอมรวมขีดความสามารถเพื่อเข้าต่อสู้โจมตี
ระบบและจุดอ่อนของระบบป้องกันหลายชั้น ที่มันต้องเสริมความเข้มแข็ง
ซึ่ ง กั น และกั น ของกองทั พ จี น และรั ส เซี ย ซึ่ ง นั่ น หมายรวมถึ ง เราต้ อ งสร้ า ง
ผู้น�ำและฝ่ายอ�ำนวยการที่มีความสามารถ มีความว่องไวทางสติปัญญาในการ
เชื่อมโยง และใช้ขีดความสามารถของกองก�ำลังรบร่วม
(11) จัดหารูปแบบการยุทธ์หลายมิติที่มีระบบ มีผู้น�ำ และทหาร
ที่มีความทนทาน สามารถปฏิบัติภายใต้สภาพแวดล้อมการปฏิบัติการที่มีความ
ขั ด แย้ ง สู ง ไม่ ย อมละทิ้ ง แยกตั ว ออกจากกองก�ำลั ง รบร่ ว มที่ เ หลื อ หรื อ
สหายร่ ว มรบ และเป็ น หน่ ว ยที่ ส ามารถด�ำเนิ น กลยุ ท ธ์ ไ ด้ อ ย่ า งอิ ส ระและ
ท�ำการยิงข้ามมิติได้ อันจะส่งผลให้มีความสามารถในการด�ำรงสภาพที่ยืนยาว
ของระบบและรู ป ขบวนรบ ทั้งนี้ก ารมีผู้น�ำและทหารที่ ปฏิ บัติก ารในสภาพ
แวดล้อม และเงื่อนไขที่มีความตึงเครียดนั้น เป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่ง
(12) เสริ ม ความมั่ น คงจากชั ย ชนะโดยการแสดงออกที่ ชั ด เจน
ในภาระผู ก พั น ด้ า นความมั่ น คงของสหรั ฐ ฯ ไปยั ง พั น ธมิ ต รในรู ป แบบของ
การปฏิบัติการร่วม การฝึก การแลกเปลี่ยนข้อมูล และการแสดงออกอื่นๆ
(13) ใช้ ม าตรการและขี ด ความสามารถของหน่ ว ยประกอบ
ก�ำลังในมิติทางพื้นดิน อากาศ และทางทะเล ผสมผสานกันเข้าปฏิบัติการ
ในห้วงมิติการรบในไซเบอร์และแถบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EMS) เครื่องมือและ
วิธีการเหล่านี้ จะถูกใช้เพื่อสนับสนุนการเจาะทะลวงและการขยายผลจากช่วง
เวลาแห่งความเหนือกว่าที่จะสร้างภาวะวิกฤตต่อศัตรู ในระหว่างการป้องกัน
ความสามารถของพวกเขาในการปฏิ บั ติ ก าร ภายใต้ ส ภาพแวดล้ อ มของ
การปฏิบัติที่ถูกฝ่ายเราลดค่าลง ไม่ว่าจะเป็นความยุ่งยาก และ/หรือระบบ
การปฏิเสธพื้นที่ต่างๆ
(14) การดึงดูดและจูงใจ การด�ำรงรักษา และการสร้างประสิทธิภาพ
ของก�ำลั ง พลที่ ดี ที่ สุ ด ในด้ า นร่ า งกายที่ แข็ ง แรง ทหารผู ้ ที่ มี จิ ต ใจเข้ ม แข็ ง
กล้ า หาญ ผู ้ ที่ มีฝีมือและความเชี่ยวชาญในการปฏิ บัติ ก ารหลายมิ ติ ให้ เข้ า
มารับใช้กองทัพและประเทศชาติ
ฉ. ความส�ำเร็ จ ในการปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ ทั้ ง หมดนี้ จะต้ อ งมี ก าร
พัฒนาขีดความสามารถ การฝึกฝน และซักซ้อมอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใน
กองทัพบก ควบคู่ไปกับก�ำลังรบร่วมและพันธมิตรของสหรัฐอเมริกา
สารบัญ

เนื้อหา หน้า
บทที่ 1 บทน�ำ 1
1-1 วัตถุประสงค์ 1
1-2 ทฤษฎีและโครงสร้าง 1
1-3 การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่จากการรบหลายมิติ 2

บทที่ 2 บริบทของปฏิบัติการ 3
2-1 สภาพแวดล้อมของการปฏิบัติการที่เกิดขึ้น 3
2-2 รัสเซีย : บรรลุเป้าหมายของการชิงชัย 7
2-3 รัสเซียกับความขัดแย้งทางอาวุธ 12
2-4 ปฏิบัติการเสริมความมั่นคงของรัสเซีย 17
2-5 ความไม่มั่นคงและการพึ่งพาอย่างเป็นระบบ 18
2-6 ภัยคุกคามอื่นในสภาพแวดล้อมปฏิบัติการ 19
2-7 ความสัมพันธ์ต่อเนื่องส�ำหรับการปฏิบัติการหลายมิติ 20

บทที่ 3 การปฏิบัติการร่วม MDO 21


3-1 การแก้ไขปัญหาทางทหาร 21
3-2 แนวคิดหลักของกองทัพบก 23
3-3 ทฤษฎีของการปฏิบัติการหลายมิติ 23
3-4 MDO และวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ 43
3-5 MDO ในห้วงการแข่งขัน 49
3-6 MDO ในความขัดแย้งด้วยกองก�ำลังติดอาวุธ 60
เนื้อหา หน้า

3-7 MDO ในความขัดแย้งโดยการใช้อาวุธ 75


3-8 MDO ในความขัดแย้งทางอาวุธ 88
3-9 การปฏิบัติการหลายมิติ ในการคืนกลับไปสู่ห้วง 96
ของการแข่งขัน

บทที่ 4 บทสรุป 101


ภาคผนวก 106
ผนวก ก สมมติฐาน 106
ผนวก ข ขีดความสามารถหลักที่ต้องการ 108
ผนวก ค แนวความคิดการสนับสนุน MDO 112
ผนวก ง MDO ในพื้นที่หนาแน่นในเมือง (DUT) 130
ผนวก จ การเชื่อมโยงไปยังแนวคิดอื่นๆ 142
ผนวก ฉ บทเรียนที่ได้เรียนรู้จากก�ำลังที่ปฏิบัติการในสนาม 146
ผนวก ช การอ้างอิงที่ส�ำคัญ 153

อภิธานศัพท์ 158
ส่วนที่ 1 อักษรย่อ และ ค�ำย่อชื่อ 158
ส่วนที่ 2 ค�ำศัพท์ และค�ำจ�ำกัดความ 160
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

บทที่ 1
บทน�ำ

1-1 วัตถุประสงค์
จุลสาร 525-3-1 จัดท�ำโดยกองบัญชาการฝึกและหลักนิยม ทบ. สหรัฐฯ
เรือ่ ง "กองทัพบกสหรัฐฯ ในการปฏิบตั กิ ารหลายมิต"ิ ซึง่ อธิบายถึงการทีก่ องทัพบก
เข้าไปมีสว่ นร่วมในกองก�ำลังรบร่วม อย่างทีถ่ กู ก�ำหนดไว้ในบทสรุปของยุทธศาสตร์
ความมั่นคงชาติ : การยับยั้งและเอาชนะ การคุกคามของจีนและรัสเซีย ทั้งทาง
ด้านการแข่งขันและความขัดแย้งกองทัพบกสหรัฐฯ ในการปฏิบัติการหลายมิติ
ได้เสนอวิธกี ารแก้ปญ
ั หาและเงือ่ นไขทางทหารทีเ่ กิดขึน้ ในโลกยุคหลังอุตสาหกรรม
ภายใต้ฐานข้อมูลของประเทศที่มีท่าที เช่น จีน และรัสเซีย แนวความคิดนี้ คือ
เป้าหมายของกองทัพในปี ค.ศ. 2028 ถึงแม้ว่าขีดความสามารถที่อธิบายไว้
บางส่วนอาจยังไม่ถูกน�ำมาใช้ตามเวลาที่ก�ำหนด

1-2 ทฤษฎีและโครงสร้าง
แนวความคิดของการปฏิบตั กิ ารหลายมิตขิ องกองทัพบกสหรัฐฯ อธิบาย
ถึงแนวทางการปฏิบัติว่ากองก�ำลัง ทบ. จะต่อสู้ผ่านมิติต่าง ๆ ทุกมิติอย่างไร
สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า (EMS) และสภาวะแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารตามล�ำดับ
ชัน้ แนวความคิดเกิดจากการวิเคราะห์ในวงกว้าง การซ้อมรบ การทดลอง และการ
ร่วมมือกันกับหน่วยงานอื่น และการปฏิบัติของฝ่ายเสนาธิการร่วม (Joint Staff)
บทที่ 2 อธิบายเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะขีดความสามารถและจุดอ่อนของระบบ
ต่อต้านการเข้าถึง (anti-access) และระบบการปฏิเสธไม่ให้เข้าพืน้ ที่ (area denial)
ในการแข่งขันและความขัดแย้งของจีนและรัสเซีย บทที่ 3 อธิบายเกีย่ วกับปัญหา

1
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ทางทหารให้รายละเอียดค�ำอธิบายทางหลักการของการปฏิบตั กิ ารหลายมิติ และ


ได้อธิบายอย่างละเอียดเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นทั้ง 5 มิติ
บทที่ 4 กล่าวสรุปถึงการประยุกต์ใช้การปฏิบัติการหลายมิติ และอธิบายถึงเส้น
ทางการพัฒนาแนวความคิดในอนาคต คัดกรองวิธีการแก้ปัญหา

1-3 การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่จากการรบหลายมิติ
ก. หัวข้อถูกเปลี่ยนเป็น “กองทัพสหรัฐฯ ในการปฏิบัติการหลายมิติ”
เพือ่ สะท้อนให้เห็นถึงอาณาเขตของการแข่งขันและความขัดแย้งทีก่ ว้างขึน้ และ
แก่นแท้ของธรรมชาติ การรบร่วมส�ำหรับการท�ำสงครามในรูปแบบใหม่
ข. ข้อมูลเชิงลึกจากกรณีศกึ ษา ทบ. สหรัฐฯ ในโมซุล (US Army Monsul
Study) และองค์กรสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (and North Atlantic Treaty
Organization (NATO)) ได้ศกึ ษาค�ำนิยามของ สภาวะแวดล้อมของการปฏิบตั กิ าร
แบบฉุกเฉิน และการสูร้ บในเมือง การปรับแต่เพือ่ การแก้ไขปัญหา และภูมปิ ระเทศ
ในเมืองที่มีความหนาแน่นใหม่ ๆ ที่เพิ่มเติมมาได้รับข้อมูลเชิงลึกจากการจ�ำลอง
ยุทธ์และการจ�ำลองยุทธ์สงคราม การประเมินผล พันธกิจรวมในการต่อสูส้ งคราม
การท�ำงานร่วมกันของชุดบริการร่วมซึง่ ถูกรวมเข้าด้วยกันในค�ำอธิบายทีล่ ะเอียด
อ่อนเกี่ยวกับระบบของจีนและรัสเซีย, หลักการของการยุทธ์หลายมิติ และ
ขีดความสามารถที่ต้องการ
ง. การปฏิบัติการหลายมิติ จะเป็นรายละเอียดในการประยุกต์พื้นฐาน
พัฒนาแนวคิด การทดลอง พัฒนาก�ำลังรบในล�ำดับต่อมา

2
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

บทที่ 2
บริบทของปฏิบัติการ

2-1 สภาพแวดล้อมของการปฏิบัติการที่เกิดขึ้น
ก. เอกสาร The Joint Operating Environment 2035 คาดการณ์วา่
ในอนาคตอั น ใกล้ ผ ลประโยชน์ ร ะดั บ ชาติ ข องสหรั ฐ อเมริ ก าจะเผชิ ญ กั บ
ความท้าทายจากบรรทัดฐานใหม่ของการแข่งขันระหว่างประเทศ แนวคิดนี้
กล่าวถึงความท้าทายที่สองในขณะที่กองก�ำลังร่วมต้องตอบโต้กับบรรทัดฐาน
ใหม่ของการแข่งขันระหว่างประเทศทีไ่ ม่เป็นมิตรในรูปแบบของการแข่งขัน หรือ
ความขัดแย้งทางอาวุธ ที่ด�ำเนินการ ในสภาพแวดล้อมการปฏิบัติการใหม่โดย
มี ลั ก ษณะที่ สั ม พั น ธ์ กั น สี่ อ ย่ า ง : 1) ก� ำ ลั ง ฝ่ า ยตรงข้ า มท้ า ทายในทุ ก มิ ติ ,
2) EMS และสภาพแวดล้อมข้อมูลข่าวสารและการเป็นผู้ก�ำหนดทิศทางของ
สหรัฐฯ ไม่สามารถยืนยันได้ 3) กองทัพขนาดเล็กต่อสูใ้ นสนามรบทีก่ ว้างขึน้ รัฐชาติ
มีความยากล�ำบากมากขึน้ ในการก�ำหนดเจตจ�ำนงในสภาพแวดล้อมทางการเมือง
วัฒนธรรมเทคโนโลยีและยุทธศาสตร์ที่ซับซ้อน, 4) รัฐใกล้เคียงก็จะแข่งขันกัน
ภายใต้ความขัดแย้งทางอาวุธได้ง่ายขึ้น ท�ำให้การยับยั้งมีความท้าทายมากยิ่งขึ้น
ลักษณะเหล่านี้ช่วยให้ฝ่ายตรงข้ามโดยเฉพาะภัยคุกคาม เช่น จีนและรัสเซีย
สามารถขยายสนามรบได้ทันเวลา (ความแตกต่างที่ไม่ชัดเจนระหว่างสันติภาพ
และสงคราม) ในมิติ (อวกาศและไซเบอร์) และภูมิศาสตร์ (ซึ่งปัจจุบันขยาย
เข้าสู่พื้นที่ภายในประเทศ) เพื่อสร้างสถานการณ์การเผชิญหน้าที่ไม่มีทางออก
ด้าน ยุทธวิธี ยุทธการ และยุทธศาสตร์
ข. คุณลักษณะที่ส�ำคัญของสภาพแวดล้อมปฏิบัติการที่เกิดขึ้นใหม่
คือธรรมชาติของสภาพเมือง ความส�ำคัญเชิงกลยุทธ์ของสภาพเมืองแสดงให้เห็นว่า

3
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

กองก�ำลังทหารจะต้องด�ำเนินการภายในพืน้ ทีท่ หี่ นาแน่นของเมือง ความหนาแน่น


ทางกายภาพและทางประชากรของสภาพแวดล้อมนี้สร้างลักษณะทางกายภาพ
ความรูค้ วามเข้าใจและการปฏิบตั กิ ารทีแ่ ตกต่างกัน เพิม่ จ�ำนวนของงาน ทีต่ อ้ งการ
ภายในพื้นที่ทางกายภาพหรือทางโลกที่ก�ำหนดในขณะที่การเพิ่มขึ้นของตัวแปร
ยุทธวิธี การด�ำเนินงาน และกลยุทธ์ทผี่ บู้ งั คับบัญชาและฝ่ายเสนาธิการต้องน�ำมา
พิจารณา การปฏิบตั กิ ารในเขตเมืองทีห่ นาแน่นอาจเป็นการตอบสนองต่อความไร้
ระเบียบที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องหรือต่อบรรทัดฐานที่ขัดแย้งกัน ในกรณีหลังนี้
ฝ่ายตรงข้ามจะใช้ประโยชน์จากสภาพในเมืองที่หนาแน่นเพื่อให้ได้เปรียบหรือ
เพื่อลดทอนอ�ำนาจของกองก�ำลังร่วม
ค. ในบรรดารัฐส่วนใหญ่มีแนวโน้มที่จะแข่งขันกันด้านความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ ซึ่งประเทศจีนและรัสเซียมีความสามารถมากที่สุด ดังนั้น
พวกเขาจึงเป็นจุดสนใจ ทั้งจีนและรัสเซียก�ำลังแสวงหาความสามารถ และ
แนวทางในการสร้างผลกระทบเดียวกันของการเผชิญหน้าทั้งทางยุทธศาสตร์
และยุทธวิธี แม้วา่ จะใช้วธิ กี ารทีแ่ ตกต่างกันบ้าง แนวคิดนีถ้ อื ว่า - เพือ่ จุดประสงค์
ในการจัดโครงสร้างเชิงกลยุทธ์และการด�ำเนินงาน - แนวคิดและการพัฒนาก�ำลัง
ของจีนและรัสเซียนั้นคล้ายคลึงกันมากพอส�ำหรับกองทัพบกในการแก้ปัญหา
ที่เกิดจากรัสเซีย ในระยะสั้นและกลาง และน�ำไปใช้ในการเปลี่ยนแปลงของจีน
ในระยะสั้นและกลาง เอกสารฉบับนี้ จึงพิจารณาทั้งแนวคิดของจีนและรัสเซีย
ในการเผชิญหน้า แต่ใช้รัสเซียเป็นตัวอย่างภัยคุกคามเพื่อวัตถุประสงค์ทางด้าน
เทคนิคและยุทธวิธี
(1) รัสเซียได้แสดงให้เห็นถึงเจตนาและการรวมกันของระบบ และ
แนวความคิดที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการท้าทายสหรัฐฯ และพันธมิตร
ในระยะเวลาอันใกล้นี้ การกระท�ำของรัสเซียในจอร์เจีย ยูเครนและซีเรียได้แสดง
ให้เห็นถึงความตัง้ ใจทีจ่ ะแตกหักความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ กับพันธมิตร รัสเซีย

4
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ใช้สงครามไม่ตามแบบและสงครามข้อมูลข่าวสารเพื่อเผยแพร่เรื่องราวที่ก่อให้
เกิดความคลุมเครือและชะลอปฏิกิริยาของการเป็นศัตรูในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
รัสเซียได้เพิม่ การลงทุนด้านความสามารถในการป้องกันการเข้าถึงและการปฏิเสธ
พื้นที่และระบบแจ้งเตือน กองก�ำลังร่วมในการเข้าถึงพื้นที่ที่มีการแข่งขันและ
ก�ำหนดเงื่อนไขส�ำหรับการโจมตีที่ด�ำเนินการส�ำเร็จแล้ว
(2) จีนมีวสิ ยั ทัศน์และยุทธศาสตร์ทล่ี กึ ซึง้ ในการเป็นคูแ่ ข่งทีม่ อี ำ� นาจ
มากที่สุดของสหรัฐฯ ในเวลานี้ ที่ไม่เหมือนรัสเซียคือจีนมีฐานเศรษฐกิจและ
เทคโนโลยี เช่น อุตสาหกรรมไมโครอิเล็กทรอนิกส์ และกระบวนการพัฒนา
ปัญญาประดิษฐ์ชั้นน�ำของโลก ซึ่งจีนมีอยู่เพียงพอที่จะแซงหน้าระบบของ
รัสเซียปัจจุบันได้แล้ว 10-15 ปีข้างหน้า จีนก�ำลังสร้างกองทัพระดับโลกอย่าง
รวดเร็วเพื่อจุดประสงค์ในการเป็นมหาอ�ำนาจของโลก ในอนาคตประเทศจีน
จะกลายเป็นภัยคุกคามต่อหลักความคิดของกองก�ำลังร่วม ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้อง
กับสมมติฐานนี้จะได้รับการประเมินอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจว่าความสามารถ
ในการปรับตัวทางความคิด หากจีนมีการเร่งการพัฒนาความสามารถของตน
ง. ความพยายามของจีนและรัสเซียในการเผชิญหน้าทางการเมือง
และการทหาร เป็นสิ่งท้าทายความสามารถของกองก�ำลังร่วมในการครอบครอง
ในทุกมิต,ิ EMS และสภาพแวดล้อมข่าวสาร หากประสบความส�ำเร็จ สถานการณ์
นี้จะช่วยให้ทั้งจีนและรัสเซีย มีอิสระในเชิงยุทธศาสตร์ในการด�ำเนินการตาม
วัตถุประสงค์โดยส่งผลเสียต่อสหรัฐฯ และพันธมิตร จีนและรัสเซียร่วมถึง
รัฐพันธมิตรอื่น ๆ หรือตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐอื่น ๆ จะเพิ่มความท้าทายต่อสันติภาพ
ของสหรัฐฯ และพันธมิตร รัฐทีเ่ ปราะบางเป็นเป้าหมายหลักของการปฏิบตั กิ ารรุก
ของจีนและรัสเซียทีเ่ กิดจากความขัดแย้งทางอาวุธซึง่ จะถูกค�ำนวณ เพือ่ หลีกเลีย่ ง
การกระตุ้นการตอบสนองเด็ดขาดของสหรัฐฯ ความสามารถของจีนและรัสเซีย
ในที่เพิ่มขึ้นนี้ผ่านการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วไปสู่การปฏิบัติการทางทหาร

5
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

อย่างเปิดเผยท�ำให้พวกเขารักษาความคิดริเริ่มก่อนที่สหรัฐฯ และกองก�ำลัง
พันธมิตรจะเตรียมการตอบโต้
จ. ภายใต้สภาพแวดล้อมการด�ำเนินงานที่เกิดขึ้นใหม่นี้ จีนและรัสเซีย
ใช้ยุทธศาสตร์และระบบป้องกันการเข้าถึงทางการเมืองและการทหารและ
การปฏิเสธพื้นที่เพื่อสร้างการเผชิญหน้าทางด้านการแข่งขันและความขัดแย้ง
ในการแข่งขันทั้งสองรัฐพยายามที่จะแบ่งแยกพันธมิตรของสหรัฐอเมริกาและ
พันธมิตรผ่านการผสมผสานระหว่างการด�ำเนินการทางการทูตและเศรษฐกิจ,
สงครามนอกแบบ, สงครามข่ า วสาร, การแสวงหาผลประโยชน์ จ ากความ
ตึ ง เครี ย ดทางสั ง คมชาติ พั น ธุ ์ ห รื อ ชาติ นิ ย มในภู มิ ภ าค, และการแสดงก� ำ ลั ง
ทางทหารประจ� ำ การที่ มี อ ยู ่ จ ริ ง หรื อ ที่ เ ป็ น ภั ย คุ ก คามจริ ง ด้ ว ยการสร้ า ง
ความไม่มั่นคงภายในประเทศและพันธมิตร จีนและรัสเซียได้สร้างการแบ่งแยก
ทางการเมืองซึ่งส่งผลให้เกิดความก�ำกวมเชิงยุทธศาสตร์ ท�ำให้ลดความเร็ว
ในการรับรู้ การตัดสินใจ และปฏิกิริยาที่เป็นมิตร ในความขัดแย้งด้านอาวุธจีน
และรั ส เซี ย ใช้ ร ะบบปฏิ เ สธการเข้ า ถึ ง และการปฏิ เ สธพื้ น ที่ เพื่ อ สร้ า ง
การเผชิ ญ หน้ า เชิ ง ยุ ท ธการและยุ ท ธศาสตร์ เพื่ อ แยกองค์ ป ระกอบของ
กองก�ำลังร่วมในเรื่องเวลา พื้นที่ และการปฏิบัติงานออกจากกัน
ฉ. สภาพแวดล้ อ มในการปฏิ บั ติ ง านที่ เ กิ ด ขึ้ น ใหม่ แ ละการคุ ก คาม
สร้างความจ�ำเป็นให้กองก�ำลังร่วมต้องปรับความเข้าใจในเรื่องสนามรบ ฝ่ายตรง
ข้ามได้ขยายสนามรบในสี่ด้าน : ด้านเวลา (ขั้นตอน), มิติ, ภูมิศาสตร์ (อวกาศ
และทางลึก) และตัวแสดง ฝ่ายตรงข้ามท�ำให้เกิดความไม่ชัดเจนในความแตก
ต่างระหว่างการปฏิบัติ “ต�่ำกว่าความขัดแย้งทางอาวุธ” และ “ความขัดแย้ง”
ท�ำให้การบรรลุเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ต�่ำกว่าเกณฑ์ที่สหรัฐฯ ถือว่าเป็น
“สงคราม” สภาพแวดล้อมดังกล่าวได้ขยายสนามรบไปสู่ อวกาศ ไซเบอร์สเปซ
สงครามอิเล็กทรอนิกส์และข้อมูล ให้เป็นองค์ประกอบส�ำคัญในการปฏิบัติการ

6
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ฝ่ายตรงข้ามที่มีศักยภาพได้ขยายสนามรบในเชิงภูมิศาสตร์ด้วย เนื่องจาก
ผลกระทบของความสามารถหลายโดเมนของพวกเขานั้นมิได้ถูกจ�ำกัด ด้วย
ลั ก ษณะทางภู มิ ศ าสตร์ แ ละเวลา และขยายขอบเขตของการก่ อ ตั ว ภายใต้
“การติดต่อ” ประการสุดท้ายจีนยังคงขึ้นกับตัวแสดงนอกแบบจ�ำนวนมาก
รวมถึงตัวแทนหรือตัวแสดงแทนเพื่อด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์
ช. กรอบความคิ ด ตามที่ อ ธิ บ ายไว้ ใ นรู ป ภาพ 2-1 แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง
ความกว้างของกิจกรรม ช่องว่าง ระยะทาง และความสัมพันธ์ซึ่ง MDO ต้อง
พิจารณา แนวคิดนี้ใช้กรอบความคิดนี้เพื่อแสดงถึงการปฏิบัติของฝ่ายเป็นมิตร
และของฝ่ายตรงข้ามในพื้นที่ แม้จะมีการอธิบายเชิงเส้นในรูปที่ 2-1 พื้นที่นั้น
ไม่ได้ถูกก�ำหนดโดยความสัมพันธ์ทางภูมิศาสตร์หรือมิติคงที่ แต่โดยบริบท
การปฏิบัติงาน, การมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันของความสามารถที่เป็นมิตร
และศัตรู และภูมิประเทศ พื้นที่ที่ไม่ได้อยู่ได้ด้วยตัวเอง อย่างไรก็ตามหลักการ
ของกรอบความคิดนี้คือให้ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการ เห็นความสัมพันธ์
ระหว่างการกระท�ำที่เกิดขึ้นในระดับลึกของสนามรบที่ขยายออกไป ค�ำอธิบาย
โดยละเอียดเกี่ยวกับกรอบความคิดนี้สามารถอ่านได้จากภาคผนวก ค

2-2 รัสเซีย : บรรลุเป้าหมายของการชิงชัยด้วยการปฏิบัติในระดับ ที่ต�่ำกว่า


การขัดกันด้วยอาวุธ
ก. ในการชิงชัยนัน้ รัสเซียพยายามทีจ่ ะแยกสหรัฐอเมริกา และพันธมิตร
ของสหรัฐฯ ทั้งทางการเมือง จ�ำกัด การตอบสนองของพันธมิตรที่มีความร่วมมือ
และท�ำให้รัฐเป้าหมายขาดเสถียรภาพ เพื่อให้ภารกิจนี้ส�ำเร็จ รัสเซียด�ำเนินการ
โดยใช้การรณรงค์ทปี่ ระสานงานกัน โดยใช้ความสามารถระดับชาติและระดับพืน้ ที,่
สงครามข่าวสาร (โซเชียลมีเดียข่าวปลอม และการโจมตีทางไซเบอร์) และสงคราม
นอกแบบ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ รัสเซียยกระดับสถานะและ
ท่าทางของกองก�ำลังตามแบบเพื่อสนับสนุนความพยายามเหล่านี้อย่างแข็งขัน
7
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

รูปที่ 2-1 กรอบความคิด MDO

และแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ความขัดแย้งทางอาวุธ
อย่างรวดเร็ว (เช่น “snap drills”) ท่าทีนี้ยังช่วยให้รัสเซียมีข้อได้เปรียบเพิ่มขึ้น
เนื่องจากกองก�ำลังตามแบบของพวกเขาคุกคามอิสรภาพของกองก�ำลังร่วม
ในอากาศและพื้นที่ และความสามารถในการด�ำเนินกลยุทธ์ การเคลื่อนที่
(ดูรูปที่ 2-2) รัสเซียบรรลุวัตถุประสงค์ โดยไม่ต้องเสี่ยงกับความขัดแย้งทางอาวุธ
กับสหรัฐฯ จากการด�ำเนินการดังกล่าว
8
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

รูปที่ 2-2 การชิงชัยของรัสเซียและจีนและการขัดกันด้วยอาวุธ

ข. ขีดความสามารถระดับชาติและระดับพื้นที่ ขีดความสามารถ
ระดับชาติและระดับพื้นที่ของรัสเซียท�ำให้สหรัฐอเมริกาตกอยู่ในความเสี่ยงและ
คุกคามต่อการเคลื่อนย้ายก�ำลังไปนอกประเทศ
(1) เครื่องมือรวบรวมข่าวสาร ระบบลาดตระเวนและการเฝ้าตรวจ
(ISR) ระดับประเทศของรัสเซีย รวบรวมข้อมูลเป้าหมายต่างๆ ที่เป็นที่ตั้ง
(กองบั ญ ชาการ, การสื่ อ สาร, โครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ ส� ำ คั ญ และแหล่ ง จ่ า ย
พลังงาน) ตรวจจับรูปแบบปฏิบัติการที่เป็นมิตรและติดตามการเปลี่ยนที่ตั้ง
การวางก�ำลัง สถานีอวกาศ, กองก�ำลังหน่วยปฏิบัติการพิเศษ (SOF) และ
แนวร่ ว ม, การรวบรวมข่ า วสารทางเปิ ด , สถานี ดั ก รั บ สั ญ ญาณภาคพื้ น ดิ น
และเครื อ ข่ า ยการสื่ อ สารที่ เชื่ อ มต่ อ เซ็ น เซอร์ เ หล่ า นี้ ไ ปยั ง กองบั ญ ชาการ
ถือว่าเป็นขีดความสามารถในการเฝ้าตรวจ ISR ที่ส�ำคัญที่สุด อาวุธนิวเคลียร์
และอาวุธอื่นๆ ที่มีการท�ำลายล้างสูง (รวมถึงการโจมตีทางไซเบอร์สเปซอย่าง
กว้างขวาง) คุกคามสหรัฐฯ พันธมิตร และกองก�ำลังทหารที่เป็นพันธมิตร

9
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(2) รัสเซียด�ำเนินการเฝ้าตรวจอย่างต่อเนื่อง ต่อรัฐที่อยู่ติดกัน


พันธมิตรระดับภูมิภาค และพื้นที่ของสหรัฐอเมริกา พวกเขามุ่งเน้นไปที่การ
สอดส่องขีดความสามารถของสหรัฐอเมริกาในการตอบสนองอย่างรวดเร็ว เช่น
การรวบรวมและการส่งข้อมูลข่าวกรองร่วม การควบคุมและครองน่านฟ้า และ
ที่ตั้งในการขยายก�ำลังการเฝ้าระวังของรัสเซียช่วยให้สามารถโจมตีด้วยขีปนาวุธ
ระยะยาว, จรวดน�ำร่อง, การโจมตีไซเบอร์ และการปฏิบัติโดยตรงโดยหน่วย
รบพิเศษ ขีดความสามารถในการโจมตีเหล่านี้สนับสนุนข้อมูลของพวกเขาใน
การแข่งขันโดยช่วยพวกเขาในการควบคุมการยกระดับตามเงื่อนไขของพวกเขา
ขีดความสามารถ ISR ระดับประเทศและระดับภูมิภาคช่วยให้รัสเซียสามารถ
พิจารณาได้ว่า พวกเขาประสบความส�ำเร็จในการเชื่อมโยงกองก�ำลังที่จ�ำเป็น
เพื่อปฏิบัติการเชิงรุก ระบบ ISR ที่ครอบคลุมทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่
ในการแข่งขันยังช่วยให้กองก�ำลังตามแบบของรัสเซียเปลีย่ นผ่านไปสูค่ วามขัดกัน
ทางอาวุธได้อย่างรวดเร็ว
ค. การรบนอกแบบ หน่วยรบพิเ ศษรัสเซี ย ก� ำ ลั ง ประจ� ำ ถิ่ น และ
นักเคลื่อนไหวด�ำเนินสงครามนอกแบบเพื่อท�ำให้รัฐบาลเป้าหมายไม่มั่นคง
โดยแยกการควบคุมเฉพาะภูมิภาคหรือประชากรบางกลุ่มออกจากกัน กิจกรรม
การสงครามนอกแบบของรัสเซียช่วยให้ตัวแทนและเครือข่ายนักเคลื่อนไหว
สามารถด�ำเนินการต่าง ๆ ได้ เช่น การก่อการร้าย, การโค่นล้ม, กิจกรรมทาง
อาชญากรรมที่ส่งผลต่อความสั่นคลอน, การลาดตระเวน, การท�ำสงคราม
ข่าวสาร, และการโจมตีโดยตรง การกระท�ำเหล่านีเ้ พิม่ การสนับสนุนทางกายภาพ
ต่อภาพลักษณ์ข้อมูลที่สร้างขึ้น ความสามารถในการท�ำสงครามนอกแบบนี้
สนับสนุนกองก�ำลังตามแบบ ด้วยการลาดตระเวนและความสามารถในการสร้าง
อิทธิพลหรือการควบคุมองค์ประกอบของภูมิประเทศและประชากรภายใน
อาณาเขตของประเทศที่เป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกา
ง. สงครามข่าวสาร สงครามข่าวสารของรัสเซียประกอบด้วย ขีดความ
สามารถในการบรรยายตามล�ำดับของเหตุการณ์ความสามารถในการสงคราม
10
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ข่าวสารได้รับการสนับสนุนโดยความสามารถระดับชาติและกิจกรรมจากการท�ำ
สงครามนอกแบบและสงครามตามแบบ ฝ่ายตรงข้ามพยายามที่จะมีอิทธิพล
ต่อผู้รับข่าวสารทั้งในและต่างประเทศการท�ำสงครามข่าวสารมักเกี่ยวข้องกับ
การลาดตระเวนไซเบอร์และการโจมตีทสี่ นับสนุนการลาดตระเวนอืน่  ๆ กิจกรรม
การท�ำสงครามตามแบบและนอกแบบ สงครามข่าวสารสามารถท�ำลายล้างได้
โดยใช้ความสามารถทางไซเบอร์เชิงรุกในการปิดการใช้งาน, ติดตาม, หรือหลอกลวง
เครือข่ายบังคับบัญชาของพันธมิตรและพลเรือน รูปแบบของการท�ำสงคราม
ข่าวสารทีแ่ พร่หลายมากขึน้ คือ “ความเท็จ” – เรือ่ งราวทีจ่ ดั ท�ำขึน้ ใหม่ โดยผูร้ บั จ้าง
หรือ “บอทอัตโนมัติ” ที่ประชาชนทั่วไปรับทราบโดยไม่สงสัย ขยายออกผ่านสื่อ
สังคมออนไลน์หรือวิธีอื่น ๆ - ท�ำให้ผู้รับข่าวสารสับสนหรือเบี่ยงเบนความสนใจ
สงครามข่าวสารเหล่านี้สร้างความคลุมเครือในการป้องกันหรือชะลอการรับรู้
ทางการเมือง, การตัดสินใจ และการตอบโต้
จ. กองก�ำลังตามแบบ รัสเซียวางก�ำลังรบตามแบบในการชิงชัยเพือ่ สร้าง
ความสัมพันธ์ทดี่ ขี องกองก�ำลังในประเด็นของกองก�ำลังร่วมและพันธมิตร การฝึก,
การสาธิต และ “การฝึกฝนอย่างรวดเร็ว” สร้างความพร้อมด้านการเตรียมก�ำลัง
และกระตุ้นรูปแบบการตอบสนองที่เป็นมิตรส�ำหรับขีดความสามารถ ISR ระดับ
ประเทศและระดับพื้นที่ในการรวบรวมและวิเคราะห์ กองก�ำลังตามแบบของ
รัสเซียมีความสามารถในการท�ำการโจมตีแบบยั่วยุโดยมีการเตือนอย่างจ�ำกัด
ขีปนาวุธจากพื้นถึงพื้นผิวของรัสเซีย, ขีปนาวุธจากพื้นสู่อากาศระยะไกล (SAM),
การต่อต้านอวกาศ, และกองก�ำลังภาคพืน้ ดินร่วม นัน้ อยูใ่ นต�ำแหน่งทีจ่ ะสามารถ
แบ่งแยกพันธมิตรของสหรัฐฯ ออกจากกัน และท�ำลายแนวตั้งรับหน้าก่อนที่
กองก�ำลังร่วมจะสามารถตอบสนองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความเหนือกว่า
ทางทหารในพื้นที่นี้สนับสนุนล�ำดับเหตุการณ์ความแข็งแกร่งของรัสเซีย และ
วางทัพของตนเพือ่ สนับสนุนการท�ำสงครามนอกแบบโดยตรง ผ่านความช่วยเหลือ
ที่ซ่อนเร้นหรือทางอ้อมโดยการเพิ่มความได้เปรียบที่เหนือกว่า

11
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ฉ. บทสรุปของระบบรัสเซียในการแข่งขัน
จุดศูนย์ดลุ ของปฏิบตั กิ ารรัสเซียในการแข่งขันคือการบูรณาการอย่าง
ใกล้ชดิ ของการท�ำสงครามข่าวสาร, การท�ำสงครามนอกแบบ, และการท�ำสงคราม
ตามแบบความสามารถในการใช้องค์ประกอบทัง้ หมดในแบบทีม่ กี ารประสานงาน
อย่างใกล้ชดิ ช่วยให้รสั เซียมีความได้เปรียบมากขึน้ ซึง่ ปฏิกริ ยิ าตอบโต้ใด ๆ ทีเ่ ป็น
มิตรมีความเสี่ยงต่อการตอบโต้ที่เข้มแข็ง ในการแข่งขัน การยกระดับที่รุนแรง
ที่สุดคือการเปลี่ยนผ่านไปสู่ความขัดแย้งทางอาวุธซึ่งเป็นคุณต่อฝ่ายตรงข้าม
เรื่องความสามารถในการโจมตีแบบยั่วยุด้วยกองก�ำลังตามแบบ ความสามารถ
ในการแสดงให้เห็นถึงความส�ำเร็จในการโจมตีแบบยัว่ ยุ เป็นการสร้างความน่าเชือ่ ถือ
ให้กับการเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นโดยฝ่ายรัสเซีย การผสมผสานของการท�ำสงคราม
ข่าวสาร, สงครามบอกแบบและตามแบบ และกองก�ำลังนิวเคลียร์ท�ำให้รัสเซีย
มีทงั้ การเผชิญหน้าทัง้ ทางการเมืองและการทหาร ทีท่ ำ� ให้รสั เซียบรรลุวตั ถุประสงค์
เชิงยุทธศาสตร์ โดยปราศจากความขัดแย้งทางอาวุธกับสงครามข่าวสารและ
สงครามนอกแบบกับสหรัฐฯ ทีส่ ง่ ผลต่อความไม่มนั่ คงของภูมภิ าค แต่ไม่เพียงพอ
เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ของรัสเซียทัง้ หมด ข้อได้เปรียบทีเ่ พิม่ ขึน้
จากกองก�ำลังรบตามแบบช่วยเสริมปฏิบตั กิ ารสงครามข่าวสารและการสูร้ บนอก
แบบ ท�ำให้รัสเซียสามารถรักษาความริเริ่มในการแข่งขัน
2-3 รัสเซียกับความขัดแย้งทางอาวุธ : แบ่งแยกกองก�ำลังร่วมและท�ำให้เกิด
การเผชิญหน้าทางยุทธศาสตร์และยุทธการ
ก. กองก�ำลังรบตามแบบของรัสเซียพยายามที่จะเพิ่มประสิทธิภาพ
ทางกายภาพของการเผชิญหน้า โดยการสร้างเลเยอร์ของระบบต่อต้านการเข้าถึง
และการปฏิเสธพื้นที่ ที่ออกแบบมาเพื่อสร้างความสูญเสียที่ไม่อาจยอมรับได้
ต่อสหรัฐอเมริกาและกองก�ำลังทหารของพันธมิตร และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ของปฏิบตั กิ ารภายในไม่กวี่ นั ก่อนทีส่ หรัฐฯ จะสามารถตอบโต้ได้ กองก�ำลังเหล่า
มีขีดความสามารถได้อันเนื่องมาจากการใช้งาน โดยการลาดตระเวนในทุกมิติ
12
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ที่ท�ำงานในทางลึก ซึ่งอาจลึกถึงพื้นที่ตอนในของสหรัฐอเมริกาจนถึงพื้นที่ปฏิบัติการ
การคุกคามเหล่านี้สามารถด�ำเนินการโจมตีพร้อมกันตลอดทั้งความลึกของ
สนามรบด้วยการสนับสนุนจากการลาดตระเวนที่ซับซ้อน ระบบของรัสเซียได้
รับการออกแบบมาเพื่อแยกกองก�ำลังร่วมในเรื่อง เวลา ห้วง และการปฏิบัติ โดย
การใช้ระบบควบคุมระยะไกลเพื่อป้องกันการเคลื่อนย้ายก�ำลังออกนอกประเทศ
ของพันธมิตร ในระยะทางเชิงยุทธศาสตร์และยุทธการ และโดยการจัดให้มกี ารยิง
วิถีตรงและวิถีโค้ง จากระบบการยิงสนับสนุนระยะกลางและระยะสั้น เพื่อ
โดดเดี่ยวและท�ำลายกองก�ำลังพันธมิตรที่ถูกส่งมาแนวหน้า

รูปที่ 2-3 ระดับชั้นของการเผชิญหน้าของฝ่ายตรงข้าม

ข. ระบบการยิงสนับสนุนระยะไกล
(1) ภายในหน่วยกองก�ำลังผสมภาคพื้นดินของรัสเซียนั้น ระบบการ
ยิงระยะไกลจะถูกปกปิดอย่างระมัดระวังจากระบบ ISR ของมิตรประเทศและได้รบั
การป้องกันอย่างดีจากชัน้ ของระบบป้องกันทางอากาศ ในยุทธบริเวณระดับทวีป
ขีปนาวุธพิสัยระยะสั้น (SRBMs) และ SAM ระยะไกล เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญ

13
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ในการสร้างการเผชิญหน้าทางทหาร และเสริมด้วยจรวดระยะไกล (MRL), ไซเบอร์


เชิงรุก, การต่อต้านอวกาศ, และสงครามนอกแบบ ระบบอาวุธระยะไกลของข้าศึก
ใช้ข่าวกรองที่ได้จากหน่วยรบพิเศษและเครือข่ายข่าวลับ, ระบบฐานปฏิบัติการ
ในอวกาศ, ระบบอากาศยานไร้คนขับ (UAS) และเซ็นเซอร์ภาคพื้นดิน
(2) ระบบอาวุธระยะไกลของรัสเซียได้ขยายสนามรบเข้าสู่พื้นที่
สนับสนุนในความขัดแย้งข้าศึกจะก�ำหนดเป้าหมายไปยัง ระบบการควบคุม
บังคับบัญชาและระบบการสนับสนุนต่อเนือ่ งของสหรัฐฯ เพือ่ ลดขีดความสามารถ
ทางอากาศและทางทะเลและการลาดตระเวน, การโจมตี และการเคลื่อน
ย้ า ยทางยุ ท ธศาสตร์ ขี ด ความสามารถในการโจมตี ด ้ ว ยอาวุ ธ ระยะไกลจะ
พุ่งเป้าไปที่ก�ำลังที่ประจ�ำการในส่วนหน้า, ยุทโธปกรณ์ที่ประจ�ำการไว้แล้ว
และคลังกระสุน สงครามอิเล็กทรอนิกส์เชิงรุก, การต่อต้านด้านอวกาศและ
ขี ด ความสามารถเชิ ง รุ ก ทางไซเบอร์ ที่ ขั ด ขวางจะท� ำ การรบกวนสั ญ ญาณ,
ส่งสัญญาณลวงไปยังเซิร์ฟเวอร์, แสวงประโยชน์ หรือท�ำลายขีดความสามารถ
ในการเฝ้าตรวจทางอวกาศและระบบติดต่อสื่อสาร เพื่อป้องกันการท�ำงาน
ที่มีประสิทธิภาพของส่วนบังคับบัญชาและเฝ้าตรวจของพันธมิตร ขีดความ
สามารถในการโจมตี ร ะยะไกลจะถู ก น� ำ ไปใช้ กั บ เป้ า หมายที่ เ ป็ น โครงสร้ า ง
พื้ น ฐานทางพลเรื อ นและทรั พ ยากรที่ ใช้ ส นั บ สนุ น กิ จ การทางทหาร เช่ น
เครื อ ข่ า ยการขนส่ ง , แหล่ ง ผลิ ต พลั ง งานและจ่ า ยพลั ง งาน และฐานผลิ ต
อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
ค. ระบบอาวุธระยะกลางและระยะสั้น
(1) ส� ำ หรั บ การจั ด หน่ ว ยของกองก� ำ ลั ง ร่ ว มของภาคพื้ น ดิ น ของ
รัสเซียนั้นระบบอาวุธระยะกลางเป็นตัวจัดการเป็นส่วนใหญ่ เรดาร์ระดับกลาง
ขั้นสูงและ SAM ซึ่งสามารถท�ำงานร่วมกับระบบระยะไกลก่อให้เกิดภัยคุกคาม
ที่ส�ำคัญต่อกองทัพอากาศที่เป็นพันธมิตร น�้ำหนักของการยิงที่เกิดจาก MRL

14
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

มาตรฐานและกระสุนปืนใหญ่ทใี่ ช้ยงิ จ�ำนวนมาก ก่อให้เกิดอันตรายยิง่ ต่อกองก�ำลัง


ภาคพื้นดินพันธมิตร ซึ่งสามารถถูกท�ำลายได้ก่อนที่จะมีการเคลื่อนย้ายก�ำลัง
เครือข่ายหน่วยเฝ้าตรวจในทุกมิตถิ กู น�ำมาใช้งานในทางลึกท�ำให้สามารถใช้อาวุธ
ระยะกลางได้ดี หน่วยลักษณะเช่นนี้ประกอบด้วย ทีมสังเกตการณ์ภาคพื้นดิน
จ�ำนวนมาก, ระบบตรวจการณ์ทางอากาศไร้คนขับ, เรดาร์ และเครื่องมือ
ดั ก รั บ สั ญ ญาณ นอกจากนี้ ศั ต รู ส ามารถโจมตี ไซเบอร์ , ปฏิ บั ติ ก ารพิ เ ศษ,
การโจมตีทางอากาศ และความสามารถทางทะเล เพื่อเสริมทัพกองก�ำลังร่วม
ภาคพื้นเมื่อต้องเป็นความพยายามหลักการป้องกันทางอากาศระยะกลางและ
ระยะสั้นจะจ�ำกัดขีดความสามารถในการเฝ้าระวังทางอากาศของพันธมิตร,
การโจมตีทางอากาศ, อากาศยานโจมตี และการสนับสนุนทางอากาศอย่างใกล้ชดิ
ลดประสิทธิภาพลงของการปฏิบัติระยะเผชิญหน้า
(2) ในสถานการณ์ ก ารเผชิ ญ หน้ า ที่ เ กิ ด จากระบบอาวุ ธ ระยะ
ปานกลางนัน้ ระบบอาวุธระยะสัน้ ของข้าศึก (ก�ำลังเคลือ่ นทีภ่ าคพืน้ ดิน) เคลือ่ นที่
เข้ายึดภูมปิ ระเทศส�ำคัญและสร้างทีต่ งั้ รับทีส่ ามารถปกป้องทัง้ ระบบยิงระยะไกล
และระยะกลางของข้ า ศึ ก ได้ ในการรุ ก นั้ น ระบบระยะสั้ น ของข้ า ศึ ก ได้ รั บ
การออกแบบมาเพื่อค้นหาและท�ำลายก�ำลังที่เป็นมิตรที่จะถูกท�ำลายโดยการยิง
ระยะไกลและระยะกลาง เมื่ออยู่ในต�ำแหน่งตั้งรับกองก�ำลังร่วมภาคพื้นดินของ
รัสเซียใช้การซ่อนพรางและการลวงล่อเพือ่ เอาชนะการสอดแนมและการเฝ้าตรวจ
ของกองก�ำลังร่วม
ง. สงครามนอกแบบ
ภารกิจรบนอกแบบสนับสนุนก�ำลังรบตามแบบของรัสเซียในการ
ขัดกันทางอาวุธ ด้วยการเฝ้าตรวจ การโจมตีโดยตรง และการสนับสนุนที่
เป็นประโยชน์อื่น ๆ ขีดความสามารถของปฏิบัติการสงครามนอกแบบยังเป็น
เครื่องมือส�ำคัญในการโจมตีที่ตั้งส่วนสนับสนุนด้วยการปฏิบัติการลาดตระเวน
และการปฏิบัติโดยตรง

15
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

จ. สงครามข่าวสาร
การปฏิบัติของหน่วยตามแบบทั้งในระดับพื้นที่และระดับชาติของ
รัสเซียและการรบนอกแบบท�ำให้เพิ่มและขยายพลังของการสงครามข่าวสาร
การปฏิบัติการข่าวสารพุ่งเป้าไปที่ ผู้น�ำมิตรประเทศ, ประชากร และกองก�ำลัง
ประสิทธิผลของสงครามข่าวสารของรัสเซียส่งเสริมความส�ำเร็จของกองก�ำลังรบ
ตามแบบ
ช. ขีดความสามารถระดับพื้นที่และระดับชาติ
ขี ด ความสามารถระดั บ ชาติ แ ละระดั บ พื้ น ที่ ส นั บ สนุ น กองก�ำ ลั ง
ตามแบบของรัสเซียในการสูร้ บโดยปฏิบตั กิ ารลาดตระเวน การขัดขวางยุทธศาสตร์
การวางและเคลื่อนก�ำลังของกองก�ำลังร่วม และป้องกันการตอบโต้โดยประณีต
กองก�ำลังนิวเคลียร์, สงครามข่าวสาร, ความสามารถในทางไซเบอร์, ขีปนาวุธ
น�ำร่อง, สถานีอวกาศและทีมปฏิบตั กิ ารพิเศษให้ทางเลือกทีห่ ลากหลายแก่รสั เซีย
ในการคุกคามสหรัฐอเมริกาและประเทศหุน้ ส่วนทีอ่ ยูน่ อกขอบเขตของการปฏิบตั ิ
ของกองก�ำลังรบตามแบบ รัสเซียใช้ (หรือขู่ว่าจะใช้) ความสามารถเหล่านี้
เพื่อแยกยุทธบริเวณ และเปลี่ยนผ่านไปสู่ปฏิบัติการรวมเข้าด้วยกันหลังจาก
กองก�ำลังตามแบบบรรลุวัตถุประสงค์
ซ. สรุปเกี่ยวกับระบบรัสเซียในความขัดแย้ง
ระบบการยิงระยะไกลและระยะกลางของรัสเซียเป็นจุดศูนย์ดลุ ของ
การขัดกันทางอาวุธ ระบบเหล่านี้สร้างการเผชิญหน้าที่ท�ำให้การโจมตีแบบยั่วยุ
ส�ำเร็จ รัสเซียใช้ระบบเหล่านี้เพื่อท�ำลายขีดความสามารถสูงสุดของกองก�ำลัง
ฝ่ายพันธมิตร เช่น กองบัญชาการ อากาศยาน และหน่วยพร้อมรบ ที่ยาก
ต่อการสร้างใหม่และจ�ำเป็นต่อการบรรลุเป้าหมายการปฏิบตั งิ านและยุทธศาสตร์
ของสหรัฐอเมริกา การท�ำลายขีดความสามารถของพันธมิตรที่คุ้มค่าสูงเหล่านี้
จะช่วยเพิ่มความแข็งแกร่งให้กับสงครามข่าวสารของรัสเซีย และสร้างเวลาและ

16
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

พื้นที่ในการได้ผลประโยชน์จากปฏิบัติการรวมเข้าด้วยกันในแง่การเมืองที่เป็น
ประโยชน์ต่อรัสเซีย

2-4 ปฏิบตั กิ ารเสริมความมัน่ คงของรัสเซียในการแข่งขัน การขัดกันทางอาวุธ


และการกลับเข้าสู่การแข่งขัน
ก. กองก�ำลังรัสเซียเริม่ ปฏิบตั กิ ารเสริมความมัน่ คงระหว่างความขัดแย้ง
ทางอาวุธและด�ำเนินการต่อเพื่อกลับสู่การแข่งขัน ในระหว่างปฏิบัติการเสริม
ความมัน่ คงรัสเซียจะสร้างและปรับก�ำลังทหารอีกครัง้ ในขณะทีร่ กั ษาผลประโยชน์
ทางการเมืองใด ๆ ทีเ่ กิดจากความขัดแย้ง หากปฏิบตั กิ ารเสริมความมัน่ คงเกิดขึน้
ในสถานการณ์ที่กองก�ำลังร่วมและพันธมิตรได้รับความได้เปรียบทางทหาร
การใช้หรือการคุกคามของระบบนิวเคลียร์รัสเซียกลายเป็นองค์ประกอบส�ำคัญ
ในการรักษาผลประโยชน์
ข. ปฏิบัติการข่าวสารเป็นความพยายามหลักในปฏิบัติการเสริมความ
มั่นคงของรัสเซียในระหว่างการกลับสู่การแข่งขัน ปฏิบัติการข่าวสารสร้างความ
ชอบธรรมตามกฎหมายขณะที่ฉายภาพของความแข็งแกร่งทางทหารได้เป็น
อย่างดีในความพยายามสนับสนุน สงครามนอกแบบ, ก�ำลังตามแบบ และกองก�ำลัง
รักษาความปลอดภัยขยายการควบคุมในดินแดนข้าศึก ก�ำจัดความขัดแย้งและ
การปิดกั้นปฏิบัติข่าวสารของพันธมิตรจากการเข้าถึงประชากรหรือกองก�ำลัง
ของตนเอง ความสามารถในการลาดตระเวนของรัสเซียทีเ่ หลืออยูจ่ ะยังคงท�ำงาน
ในสหรัฐอเมริกาและดินแดนของพันธมิตร กองก�ำลังภาคพืน้ ดินของรัสเซียสามารถ
ควบคุมอาณาเขตด้วยการท�ำลายหน่วยปฏิบัติการพิเศษของมิตรประเทศและ
ก�ำลังรบนอกแบบ
ค. อาวุธผลกระทบสูงจัดให้มีการเผชิญหน้าทางทหารในช่วงที่กลับสู่
การแข่งขัน ซึ่งท�ำให้รัสเซียสามารถสร้างใหม่และปรับต�ำแหน่งความสามารถ

17
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ทางทหารและเสริมความมั่นคง การผสมผสานระหว่างอาวุธผลกระทบสูง,
สงครามข่าวสาร การท�ำสงครามนอกแบบ และสงครามตัวแทน ท�ำให้รัสเซีย
สามารถแข่งขันกับกองก�ำลังร่วมเพื่อกลับสู่การแข่งขันต่อไป แม้ว่ากองก�ำลัง
ตามแบบจะลดขีดความสามารถลงอย่างมาก การเผชิญหน้าสร้าง เวลา และ
พื้นที่ส�ำหรับกองก�ำลังข้าศึกที่พ่ายแพ้เพื่อจัดระเบียบใหม่ และจ�ำกัดขอบเขตที่
กองก�ำลังร่วมสามารถใช้ประโยชน์จากความได้เปรียบทางทหารในการปฏิบตั กิ าร

2-5 ความไม่มั่นคงและการพึ่งพาอย่างเป็นระบบ
ก. จุดอ่อนที่แฝงในขีดความสามารถ รัสเซีย :
(1) ใช้สงครามข่าวสาร (ขับเคลื่อนการใช้งานโดยไซเบอร์) และ
กองก�ำลังตามแบบในรูปแบบที่เมื่อได้รับการเปิดเผยและท�ำให้แข็งแกร่งมากขึ้น
มากกว่าที่จะท�ำแยกสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรออกจากกัน
(2) จัดระเบียบและจัดการก�ำลังผ่านโครงสร้างการควบคุมและสั่ง
การจากส่วนกลาง ที่มีความยากล�ำบากในการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง
หรือความซับซ้อนทางยุทธวิธีอย่างรวดเร็ว
(3) ไม่สามารถรับได้กับการสูญเสียสูงต่อรูปแบบชั้นสูงหรือระบบ
ป้องกันภัยทางอากาศแบบรวมที่ส�ำคัญ (IADS) และระบบการยิง
(4) ขึ้นอยู่กับการครองอากาศที่เหนือกว่าจากพื้นดินเพื่อป้องกัน
ระบบยิง
(5) อาศัยระบบการโจมตีระยะไกลในจ�ำนวนจ�ำกัด และกระสุนที่มี
(6) ท�ำงานในพืน้ ทีแ่ ละในหมูป่ ระชากรบางส่วนหรือทัง้ หมดเป็นมิตร
กับสหรัฐอเมริกา ดังนั้นผู้เปลี่ยนแปลงประวัติศาสตร์ใหม่จึงมีอิสระในการเข้าถึง
การแข่งขันอย่างจ�ำกัดและจะถูกโต้แย้งในความขัดแย้ง

18
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(7) มีความสามารถจ�ำกัดในการสร้างขีดความสามารถใหม่ในอวกาศ
ข. กองทั พ ของจี น และรั ส เซี ย นั้ น ทรงพลั ง แต่ ก็ มี ช ่ อ งโหว่ ที่ MDO
พยายามหา ทั้งจีนและรัสเซียต่างฝ่ายต่างสนับสนุนระบบที่ออกแบบมาเพื่อ
ให้มีประสิทธิภาพต่อรูปแบบการวางก�ำลัง และความสามารถของกองก�ำลัง
ร่วมในปัจจุบัน การปรับเปลี่ยนรูปแบบการด�ำเนินงานของกองก�ำลังร่วม จะ
ช่วยลดช่องว่างความสามารถและขีดความสามารถที่มีอยู่และสร้างโอกาส
ในการใช้ประโยชน์จากความบกพร่องในการด�ำเนินงานของจีนและรัสเซีย
กองทัพของจีนและรัสเซียยังคงมีขีดจ�ำกัดของขีดความสามารถที่ส�ำคัญ เช่น
กันความสามารถที่แสดงให้เห็นของกองก�ำลังร่วมในการท�ำลายหรือเอาชนะ
ความสามารถที่ส�ำคัญเหล่านี้ จะป้องกันไม่ให้จีนและรัสเซียบรรลุวัตถุประสงค์
ในการแข่งขันประสบความส�ำเร็จในการขัดกันทางอาวุธ หรือเปลี่ยนผ่านอย่างมี
ประสิทธิภาพไปสู่ปฏิบัติการเสริมสร้างความมั่นคง

2-6 ภัยคุกคามอื่นในสภาพแวดล้อมปฏิบัติการ
แนวคิดกองทัพบกสหรัฐฯ ในการด�ำเนินงานหลายมิติถูกน�ำไปใช้กับ
ภัยคุกคามอืน่  ๆ นอกเหนือจากจีนและรัสเซีย เกาหลีเหนือและอิหร่านยังพยายาม
สร้ า งความโดดเด่ น ทางการเมื อ งและการทหารเพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายเชิ ง
ยุทธศาสตร์ด้วยการสร้างความไม่มั่นคงในภูมิภาค ในบางกรณีเกาหลีเหนือและ
อิหร่านใช้หรือแพร่กระจายโดยตรงหรือเพิ่มความสามารถในการต่อต้านการเข้า
ถึงและการปฏิเสธการเข้าถึงพื้นที่ของจีนและรัสเซียเพื่อสร้างการเผชิญหน้าทาง
ทหาร นอกจากนี้ประเทศเหล่านี้ยังใช้ความสามารถหรือกลยุทธ์ที่พัฒนาขึ้นใน
ประเทศเพื่อสร้างการเผชิญหน้า ดังนั้นกองก�ำลังร่วมจะใช้ MDO ที่ดัดแปลงให้
เหมาะกับบริบททางภูมิศาสตร์และการทหารที่มีลักษณะเฉพาะต่อภัยคุกคาม
เหล่านี้และการคุกคามอื่น ๆ ในอนาคต

19
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

2-7 ความสัมพันธ์ตอ่ เนือ่ งส�ำหรับการปฏิบตั กิ ารหลายมิติ Implications for


Multi-Domain Operations (MDO)
ลักษณะร่วมทั่วไปของภัยคุกคามปัจจุบันและที่เกิดขึ้นใหม่ที่อธิบาย
ไว้ในบทนี้คือเจตนารมณ์ และขีดความสามารถในการท้าทายสหรัฐอเมริกา
โดยใช้ วิ ธี ก ารที่ ห ลากหลายในการสร้ า งการเผชิ ญ หน้ า ที่ ใช้ ป ระโยชน์ จ าก
ความคลุ ม เครื อ ทางการเมื อ งและท่ า ที เชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ ข องกองก� ำ ลั ง ร่ ว ม
กรอบแนวคิดในปัจจุบันของกองก�ำลังร่วมและกองทัพบกไม่ได้เป็นสาเหตุ
ของปัญหาการเผชิญหน้า หรือการไม่ยอมรับความจ�ำเป็นที่จะต้องแข่งขัน
ต�ำ่ กว่าเกณฑ์ของความขัดกันทางอาวุธกับฝ่ายตรงข้าม เพือ่ ขยายพืน้ ทีก่ ารแข่งขัน
ส�ำหรับผู้ก�ำหนดนโยบาย การตอบโต้ภัยคุกคามเหล่านี้จะต้องใช้แนวคิดการ
ปฏิบตั กิ ารทีร่ วมความสามารถจากทุกมิต,ิ EMS และสภาพแวดล้อมข้อมูลข่าวสาร
เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาที่หลากหลายทั้งในการแข่งขันและการขัดกัน
ทางอาวุธ

20
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

บทที่ 3
การปฏิบัติการร่วม MDO

3-1 การแก้ไขปัญหาทางทหาร
ก. กองทั พ บกจะช่ ว ยให้ ก องก� ำ ลั ง รบร่ ว มสามารถด� ำ เนิ น การใน
การแข่งขันกับจีนและรัสเซียได้อย่างไรภายใต้ความขัดแย้งก่อนที่จะถึงขั้นการ
ใช้ก�ำลังเจาะและท�ำลายระบบการปฏิเสธการเข้าถึงและการปฏิเสธการเข้าใช้
พื้นที่และท้ายที่สุดเอาชนะฝ่ายปรปักษ์ในความขัดแย้งทางอาวุธและรวบรวม
สิ่งต่าง ๆ ที่เป็นผลในทางบวกกับกองทัพเข้าด้วยกันและด�ำเนินการเพื่อให้กลับ
คืนเข้าสู่สภาพการแข่งขันก่อนที่จะมีการแก้ไขความขัดแย้ง โดยการใช้กองก�ำลัง
ติดอาวุธได้อย่างไร
ข. การแก้ไขปัญหาทางทหารในภาพรวมนั้นกองก�ำลังของกองทัพต้อง
ด�ำเนินการเพือ่ จัดการกับปัญหาห้าข้อทีจ่ นี และรัสเซียร่วมกันก่อไว้ในบรรยากาศ
ของการแข่งขันและความขัดแย้ง (ดูรูปภาพ 3-1)
# 1. กองก�ำลังรบร่วม ด�ำเนินการอย่างไร ในการแข่งขันเพือ่ เอาชนะ
การปฏิบัติการของฝ่ายตรงข้ามที่มีความมุ่งหมายให้ขาดเสถียรภาพในแต่ละ
ภูมิภาค ยับยั้งการยกระดับความรุนแรงซึ่งถ้าความรุนแรงถูกยกระดับแล้ว จะ
เกิดการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การใช้กองก�ำลังติดอาวุธอย่างรวดเร็ว
# 2. กองก�ำลังร่วมจะด�ำเนินการในการเจาะทะลวง (penetrate)
ระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธพื้นที่ในพื้นที่ด�ำเนินกลยุทธ์ในทางลึก
(Deep Areas) เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในการด�ำเนินกลยุทธ์และปฏิบตั กิ ารของ
ฝ่ายเราได้อย่างไร

21
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

# 3. กองก�ำลังรบร่วมจะด�ำเนินการในการสลาย (dis-integrate)
ระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธของข้าศึกในพื้นที่ลึกเพื่อเปิดใช้งาน
การปฏิบัติการและยุทธวิธีได้อย่างไร
# 4. กองก�ำลังรบร่วมจะแสวงประโยชน์ (exploit) เพื่อให้เกิด
เสรีภาพในการด�ำเนินกลยุทธ์โดยมุ่งหมายให้บรรลุเป้าหมายการทั้งทางยุทธการ
และยุทธศาสตร์ โดยการเอาชนะศัตรูในพื้นที่การรบระยะใกล้และพื้นที่ด�ำเนิน
กลยุทธ์ในทางลึกได้อย่างไร
# 5. กองก�ำลังรบร่วมจะด�ำเนินการเพื่อให้กลับเข้าสู่สภาพของ
การแข่งขัน (re-compete) กันอีกครั้งเพื่อรวมสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นผลในทางบวก
ต่อกองทัพเข้าด้วยกันและสร้างสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่ท�ำให้เกิดการป้องปราม
ฝ่ายตรงข้ามในระยะยาว และปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทางความมั่นคง
ที่เกิดขึ้นใหม่ได้อย่างไร

รูปภาพ 3-1 ปัญหาต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นกับกองก�ำลังฝ่ายเราในกรอบการด�ำเนินงาน


การปฏิบัติการหลายมิติ
22
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

3-2 แนวคิดหลักของกองทัพบก
กองทัพบกซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งของกองก�ำลังรบร่วมด�ำเนินการ
ปฏิบัติการหลายมิติ (Multi Domain Operation) เพื่อให้เกิดความได้เปรียบ
ในการแข่งขัน โดยการเจาะทะลวง และสลายการรวมระบบต่อต้านการเข้าถึง
และการปฏิเสธพื้นที่ของข้าศึกที่ด�ำเนินการต่อฝ่ายเราและแสวงประโยชน์
จากเสรีภาพในการด�ำเนินกลยุทธ์ เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ (ชนะ)
และบังคับให้กลับสูบ่ รรยากาศของการแข่งขันตามเงือ่ นไขทีเ่ อือ้ อ�ำนวยประโยชน์
กับฝ่ายเรา

3-3 ทฤษฎีของการปฏิบตั กิ ารหลายมิติ (Multi Domain Operation: MDO)


ก. การปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ แก้ ป ั ญ หาห้ า ข้ อ ด้ ว ยการประยุ ก ต์ ใช้
สามทฤษฎีรวมกันคือ ท่าทีของกองก�ำลังที่ได้ปรับแก้แล้ว รูปแบบการจัดเรียง
การปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ และการมารวมตั ว กั น ของสองสิ่ ง ดั ง กล่ า วทฤษฎี
ต่าง ๆ เหล่านี้เสริมแรงกันและกันในทุก ๆ การปฏิบัติการหลายมิติที่จะเกิดขึ้น
ถึงแม้ว่าวิธีการที่แต่ละกองก�ำลังปฏิบัติจะแตกต่างกันไปตามล�ำดับการบังคับ
บัญชา และขึ้นอยู่กับสถานการณ์ทางยุทธการในแต่ละพื้นที่ การใช้ทฤษฎี
เหล่านี้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ท่าทีของกองก�ำลังทีไ่ ด้ปรับแก้แล้ว และการบรรจบกัน
ของแต่ละทฤษฎี - ยังอ�ำนวยการให้การบูรณาการก�ำลังรบร่วมในทุกพืน้ ทีท่ วั่ โลก
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อต่อต้านประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและ
รัสเซียในระหว่างห้วงการแข่งขันและห้วงการแก้ไขความขัดแย้งโดยการใช้
กองก�ำลังติดอาวุธ
ข. ท่าทีของกองก�ำลังทีไ่ ด้ปรับแก้แล้ว (Calibrated force posture)
คือ การรวมกันของก�ำลังในเรือ่ งต่อไปนี้ คือ ขนาดของกองก�ำลังขีดความสามารถ
ที่ตั้งและความสามารถในการด�ำเนินกลยุทธ์ได้ตลอดระยะทางยุทธศาสตร์
ท่าทีของกองก�ำลังทีไ่ ด้ปรับแก้แล้ว ท�ำให้กองทัพบกสามารถสนับสนุนกองก�ำลัง
23
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

รบร่วมในการบรรลุวตั ถุประสงค์ตา่ ง ๆ ทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ ในห้วงของการแข่งขัน ยับยัง้


การจัดการความขัดแย้งโดยใช้กองก�ำลังติดอาวุธโดยการป้องกันมิให้ฝา่ ยตรงข้าม
เลือกกระท�ำได้ตามใจชอบ โดยที่ฝ่ายเราไม่สามารถแก้ไขอะไรได้ และอ�ำนวย
ความสะดวกให้กองก�ำลังฝ่ายพันธมิตรให้สามารถเป็นผูร้ เิ ริม่ ในการปฏิบตั กิ ารรบ
ขนาดใหญ่ได้อย่างรวดเร็ว โดยการก�ำหนดให้มยี ทุ ธบริเวณส�ำหรับกองก�ำลังทีเ่ ป็น
กองก�ำลังบุกเบิกเข้าสู่ยุทธบริเวณ (Expeditionary forces) การบรรลุกิจเหล่านี้
จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ารจั ด กองก� ำ ลั ง ให้ มี ก ารผสมผสานของก� ำ ลั ง ประเภทต่ า ง ๆ
ที่หลากหลายสามารถเปลี่ยนการจัดหน่วยให้เหมาะสมตามสถานการณ์ และ
มี ค วามสามารถในการปรั บ ตั ว และเปลี่ ย นแปลงไปตามสภาพแวดล้ อ มทาง
ยุทธศาสตร์ เช่น กองก�ำลังที่ส่งไปเป็นส่วนล่วงหน้าในยุทธบริเวณ (สหรัฐฯ
และพันธมิตร, กองก�ำลังรบตามแบบ และกองก�ำลังรบพิเศษ), กองก�ำลังบุกเบิก
(กองทัพบกและหน่วยก�ำลังรบร่วมและขีดความสามารถที่จัดมาจากหน่วย
ต่าง ๆ ), ขีดความสามารถทางด้านไซเบอร์สเปซในระดับประเทศ, ขีดความสามารถ
ทางด้านอวกาศ และความสามารถในการโจมตีความสมดุลที่พอเหมาะของ
ขี ด ความสามารถต่ า ง ๆ จากทั้ ง กองก� ำ ลั ง รบร่ ว มจะท� ำ ให้ ก องก� ำ ลั ง เกิ ด
ความแน่นแฟ้น เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และจะท�ำให้กองก�ำลังที่ส่งไปเป็นส่วน
ล่ ว งหน้ า ในยุ ท ธบริ เวณ และกองก� ำ ลั ง บุ ก เบิ ก (expeditionary forces)
สามารถแสดงก�ำลังได้อย่างเต็มที่และสามารถด�ำเนินการในการเคลื่อนย้าย
ก� ำ ลั ง ทางยุ ท ธศาสตร์ ไ ด้ อ ย่ า งสอดคล้ อ งกั บ ห้ ว งเวลาที่ ต ้ อ งการ กองก� ำ ลั ง
จะต้ อ งมี ส ายการบั ง คั บ บั ญ ชาที่ เ หมาะสม และที่ อ� ำ นาจการบั ง คั บ บั ญ ชา
ที่อ่อนตัวเพียงพอที่จะสามารถปฏิบัติการได้ในทุกมิติ ทั้ง Electromagnetic
Spectrum: ESM และสภาพแวดล้อมทางด้านการข่าวสารโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในห้วงของการแข่งขัน (Competition) กองก�ำลังร่วม (Joint Force) เหล่านี้
ต้ อ งมี ค วามสามารถในการที่ จ ะปรากฏตั ว อย่ า งรวดเร็ ว และฝ่ า ยตรงข้ า ม

24
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ไม่ ส ามารถที่ จ ะคาดเดาได้ ด้ ว ยการจั ด กองก� ำลั ง และขี ด ความสามารถที่


แตกต่ า งออกไปทุ ก ครั้ ง ที่ ป รากฏตั ว ต่ อ ฝ่ า ยตรงข้ า ม เพื่ อ ขยายพื้ น ที่ ใ นการ
แข่งขัน (Competitive space) ของฝ่ายเราออกไป และช่วยยับยั้งการรุกราน
โดยท� ำ ให้ ฝ ่ า ยตรงข้ า มประสบความยุ ่ ง ยากในการบรรลุ ค วามเหนื อ กว่ า ใน
พื้ น ที่ ใ นสถานการณ์ ที่ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง การประยุ ก ต์ ใช้ ท ่ า ที ข องกองก� ำ ลั ง
ที่ได้แก้ไข จะท�ำให้เกิดส่วนผสมที่ลงตัวของกองก�ำลังและขีดความสามารถ
ต่ า ง ๆ ที่ พิ จ ารณาแล้ ว ว่ า ลงตั ว กั บ สถานการณ์ ใ นพื้ น ที่ เ ป็ น ผลให้ ก องก� ำ ลั ง
ดังกล่าวมีความสามารถที่จะเปลี่ยนผ่านไปสู่การปฏิบัติการรบ สามารถเจาะ
ทะลวง และสลายระบบการปฏิเสธพื้นที่ของข้าศึกในระยะเวลาอันสั้น และ
สามารถแสวงประโยชน์จากความมีเสรีในการด�ำเนินกลยุทธ์ทเี่ กิดขึน้ และเอาชนะ
ข้าศึกได้ภายในเวลาไม่นาน
(1) กองก�ำลังที่ส่งไปในยุทธบริเวณล่วงหน้า (Forward presence
forces) กองก� ำ ลั ง ส่ ว นนี้ ป ระกอบด้ ว ยกองก� ำ ลั ง ส่ ง ไปประจ� ำ อยู ่ ใ นพื้ น ที่
ก่ อ นหน้ า และกองก� ำ ลั ง รวมทั้ ง ขี ด ความสามารถต่ า ง ๆ อั น หลากหลาย
ที่หมุนเวียนไปปฏิบัติหน้าที่ กองก�ำลังดังกล่าวนั้น หมายรวมถึงขีดความสามารถ
ของกองทัพที่กว้างขวาง แต่มีคุณสมบัติพิเศษเหล่านั้นจะเกี่ยวเนื่องกับบทบาท
ของในห้วงของการแข่งขันและการเปลี่ยนผ่านไปสู่ห้วงของความขัดแย้งโดย
การใช้ก�ำลัง ได้แก่สิ่งต่อไปนี้คือ การบังคับบัญชาแบบมอบภารกิจ (Mission
Command), การข่าวกรอง, การยิง, การด�ำรงสภาพ, ความช่วยเหลือทาง
ด้านความมั่นคงของกองก�ำลัง, กิจการพลเรือน, การปฏิบัติการจิตวิทยา และ
กองก�ำลังรบพิเศษ กองก�ำลังเหล่านี้ยังได้รับการเสริมขีดความสามารถในการ
ปฏิบัติการร่วมกับหน่วยอื่น ๆ ทั้งหน่วยทหาร และหน่วยที่มิใช่หน่วยทหาร
โดยการน�ำกองก�ำลังเหล่านี้รวมเข้ากับโครงสร้างทางการบังคับบัญชา, การข่าว,
การก�ำหนดเป้าหมาย และความสามารถในทางไซเบอร์สเปซ ซึง่ กองก�ำลังบุกเบิก

25
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(Expeditionary forces) ขาดแคลน ไม่สามารถสร้างขึ้นมาได้ในห้วงของ


วิกฤติการณ์หรือในห้วงของความขัดแย้ง การมีอยู่ของกองก�ำลังที่ส่งไปล่วงหน้า
จะเป็นส่วนพื้นฐานของการใช้ก�ำลังรบร่วมที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพ
แวดล้อมได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะช่วยกองก�ำลังรบร่วมในการเคลื่อนย้ายก�ำลังทาง
ยุทธศาสตร์โดยมีขีดความสามารถทางการรบที่ส�ำคัญ การด�ำรงสภาพ การระวัง
ป้องกัน และขีดความสามารถในการปฏิบัติการบังคับบัญชาแบบมอบภารกิจ
(Mission Command capabilities)
(2) กองก�ำลังบุกเบิก (Expeditionary Forces) กองก�ำลังบุกเบิก
เป็นรูปแบบที่พร้อมที่จะด�ำเนินกลยุทธ์จากสหรัฐอเมริกาหรือภูมิภาคอื่น ๆ
ได้ทั่วระยะทางยุทธศาสตร์ ในขณะที่มีการปะทะกับหน่วยของฝ่ายตรงข้ามที่มี
ขีดความสามารถในการลาดตระเวน, หน่วยที่มีอาวุธยิงระยะไกล หน่วยปฏิบัติ
การทางอวกาศ และหน่วยที่มีขีดความสามารถทางไซเบอร์สเปซ กองก�ำลัง
ทีเ่ คลือ่ นย้ายทางอากาศไม่วา่ จะน�ำยุทโธปกรณ์ในอัตราไปเองหรือใช้ยทุ โธปกรณ์
ที่ เ คลื่ อ นย้ า ยไปล่ ว งหน้ า ก็ ต ามมี ค วามพร้ อ มที่ จ ะต่ อ สู ้ ภ ายในไม่ กี่ วั น หรื อ
ไม่กี่สั ป ดาห์ ห ลั ง การแจ้งเตือน กองก�ำลังบุก เบิก ที่ เ คลื่ อ นย้ า ยทางทะเลก็ มี
พร้อมที่จะต่อสู้ภายในไม่กี่สัปดาห์กองก�ำลังบุกเบิกอาจต้องด�ำเนินการเข้าร่วม
ในการเข้าพื้นที่ด้วยการปฏิบัติการเข้าพื้นที่ด้วยการบังคับด้วยก�ำลัง (Joint
forcible entry) โดยที่ ไ ม่ มี ก องก� ำ ลั ง ฝ่ า ยเดี ย วกั น ที่ อ ยู ่ ใ นพื้ น ที่ หรื อ มี
ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น  ๆ มาเพิ่ ม เติ ม ในการปฏิ บั ติ ก ารในระหว่ า งความขั ด แย้ ง นั้ น
ความเร็ ว และประสิ ท ธิ ผ ลที่ ก องก� ำ ลั ง บุ ก เบิ ก สามารถจะมี ขึ้ น ได้ ต ามเส้ น
การส่งก�ำลัง (line of communication) ซึง่ มีการรบกวนของฝ่ายตรงข้ามด�ำเนิน
อยู่ด้วยนั้นไม่สามารถด�ำเนินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถ้าปราศจากการเตรียมการ
และสนับสนุนของกองก�ำลังที่อยู่ประจ�ำในพื้นที่ส่วนหน้า ก�ำลังส�ำรอง และ
กองก�ำลังของเหล่าทัพอื่น  ๆ และพันธมิตรที่ร่วมปฏิบัติการด้วย

26
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(3) ขีดความสามารถในระดับพลังอ�ำนาจของชาติ (National-level


capabilities) ได้แก่ การข่าวกรอง, ขีดความสามารถทางไซเบอร์สเปซ ขีด
ความสามารถในการปฏิบัติการทางอวกาศ และขีดความสามารถในการจู่โจม
คลื่นแม่เหล็ก ซึ่งโดยปกติแล้วการใช้ขีดความสามารถเหล่านี้จะอยู่เหนืออ�ำนาจ
ความควบคุมและสั่งการในระดับยุทธบริเวณ ความสามารถในระดับพลังอ�ำนาจ
ของชาติเหล่านี้จะเป็นตัวเติมเต็มความสามารถในการปฏิบัติการของกองก�ำลัง
ทีป่ ระจ�ำการอยูใ่ นส่วนหน้า และกองก�ำลังบุกเบิก ด้วยลักษณะพิเศษทีไ่ ม่สามารถ
หาได้จากในระดับยุทธบริเวณ ความสามารถในการเข้าถึงได้ทุกภูมิภาคทั่วโลก
และการปฏิบัติการอย่างรวดเร็วที่ต้องการ การเคลื่อนไหวทางกายภาพเพียง
เล็ ก น้ อ ยไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี เ ลยก็ ไ ด้ จ ากการที่ ท รั พ ยากรเหล่ า นี้ มี จ� ำ กั ด และ
มีโอกาสที่จะเกิดผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์จากการใช้งานอาจท�ำให้ผู้ก�ำหนด
นโยบายสงวนสิทธิ์หรือจ�ำกัดสิทธิ์ในการใช้งานและการอนุมัติการใช้งานไว้
เหนือระดับยุทธบริเวณขึ้นไปการใช้ทรัพยากรเหล่านี้จะต้องมีการเตรียมการ
ล่วงหน้าเป็นอย่างดีมาก โดยเตรียมการตั้งแต่ในระยะก่อนที่จะเกิดการขัดแย้ง
ด้วยก�ำลัง ซึ่งคือระยะเริ่มต้นในการแข่งขัน (Competition) กองก�ำลังต้องมี
การเตรียมการการพัฒนาการข่าวกรองในรายละเอียดโดยระบุความล่อแหลม,
ขอเพิ่มหรือเตรียมการในการขอรับการสนับสนุนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ
ด�ำเนินการฝึกเพื่อที่จะใช้ขีดความสามารถระดับประเทศเหล่านี้
(4) เจ้าหน้าที่/อ�ำนาจหน้าที่ (Authorities) ในการปฏิบัติงาน
ในทุกมิติ, คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัม (EMS) และในสภาพแวดล้อมทาง
ด้านสารสนเทศ ระดับของกองก�ำลังของกองทัพในระดับที่ต�่ำที่สุดที่เหมาะสม
มีความต้องการอ�ำนาจหน้าที่ที่ก�ำหนดเฉพาะในการด�ำเนินการในสามพื้นที่ คือ
การเข้าถึง การลาดตระเวน และการสั่งใช้ ในห้วงของการแข่งขันกองทัพบก
มี ค วามจ� ำ เป็ น ต้ อ งเข้ า ถึ ง และปรากฏตั ว ในพื้ น ที่ ท างภู มิ ศ าสตร์ รวมทั้ ง

27
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

เครื อ ข่ า ยทางทหารและพลเรื อ นที่ ท� ำ ให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ก ารได้ ทั้ ง ในห้ ว ง


การแข่งขันและห้วงความขัดแย้งที่ต้องใช้กองก�ำลังติดอาวุธ ในห้วงความขัดแย้ง
ที่ต้องใช้กองก�ำลังติดอาวุธ ทางกองทัพบกต้องมีอ�ำนาจในการเข้าถึงการใช้
ขีดความสามารถที่จ�ำเป็นต่าง ๆ เช่นการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ ความสามารถ
เชิงรุกในไซเบอร์สเปซและมาตรการด้านการปฏิบัติการจากอวกาศ (space
measures) และการโจมตีที่มีความอันตรายร้ายแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อ
สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจากการห้วงของการแข่งขันไปสู่ห้วง
ของความขัดแย้งโดยใช้กำ� ลังอาวุธ ในทัง้ ห้วงการแข่งขันและความขัดแย้งอ�ำนาจ
หน้าทีใ่ นการด�ำเนินงานในมิตขิ องไซเบอร์และข้อมูลของสภาพแวดล้อมจะต้องได้
รับการอนุญาตให้เข้าถึงได้แต่เนิ่นขึ้นกว่าเดิม และเร็วขึ้นกว่าปกติ และลดระดับ
ผูท้ ไี่ ด้รบั อนุญาตในการเข้าถึงลงไปถึงระดับผูป้ ฏิบตั เิ พือ่ ให้การปฏิบตั กิ ารหลายมิติ
ได้เริม่ ท�ำงานได้อย่างรวดเร็วทันกับสถานการณ์ กองก�ำลังส่วนหน้าทีจ่ ดั ไว้ประจ�ำ
ในแต่ละภูมิภาค มีส่วนช่วยให้ประสบความส�ำเร็จทั้งในห้วงการแข่งขันและ
การเปลี่ยนแปลงสู่ห้วงของความขัดแย้งโดยใช้ก�ำลังอาวุธโดยการประสานงาน
เท่าที่จ�ำเป็นและลดอุปสรรคในการอนุญาตให้เข้าถึงพื้นที่สามพื้นที่ที่กล่าว
ไว้ข้างต้นแต่เนิ่นก่อนที่ความจ�ำเป็นจะเกิดขึ้นอ�ำนาจหน้าที่เฉพาะดังกล่าว
จะต้องท�ำให้กองทัพบกมีบทบาทเป็นผู้จัดสรรกองก�ำลังหลัก โดยเน้นไปที่
อ�ำนาจหน้าที่ในการที่จะแจ้งและระดมสรรพก�ำลังตามแผน และแผนเผชิญเหตุ
ของกองก�ำลังส�ำรอง, รูปขบวน และกองบัญชาการ
ตัวอย่างของอ�ำนาจหน้าที่ รวมถึงการอนุญาตให้กลุ่มการปฏิบัติงานใน
ประเทศ ส�ำหรับการเข้าถึงทัง้ ทางกายภาพ และทางโลกเสมือน (virtual access)
เช่น การอนุญาตให้บินเกินเที่ยวบินที่ก�ำหนด, การเข้าถึงข้อตกลงบางประเภท,
การอนุญาตขบวนบรรทุก, การสนับสนุนจากทางประเทศเจ้าภาพ (host nation
support) ทั้งทางด้านสิ่งของ และสิ่งอื่น ๆ ที่มิใช่สิ่งของ, ความสามารถในการ

28
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

เข้าถึงส่วนที่ปิดกั้นไว้ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัม และความสามารถ
ในการใช้ปฏิบัติการไซเบอร์สเปซเชิงรุก, ความสามารถที่จะมอบหมายกิจ (task)
เพื่อการเคลื่อนย้ายก�ำลังให้กับส่วนที่รับผิดชอบด้านการขนส่งที่มีอยู่, อ�ำนาจ
ที่ จ ะด� ำ เนิ น การผู ก มั ด ทางด้ า นงบประมาณ/กองทุ น ต่ า ง ๆ เพื่ อ ด� ำ เนิ น การ
ทางด้านประสานงานข้ามชายแดน
ค. รูปขบวนการปฏิบตั หิ ลายมิต(ิ Multi-Domain formations) รูปขบวน
หลายมิติ คือ การผสมกันของ กองก�ำลังขนาดต่าง ๆ ขีดความสามารถ และ
ความทนทาน ซึ่ ง มี ค วามอ่ อ นตั ว ต่ อ การปฏิ บั ติ ก ารหลายโดเมน รู ป ขบวน
การปฏิบัติหลายโดเมนมีความสามารถในการด�ำเนินกลยุทธ์อย่างเป็นอิสระ
สามารถรวมอ� ำ นาจการยิ ง ข้ า มโดเมนและเพิ่ ม ศั ก ยภาพของผู ้ ร ่ ว มในการ
ปฏิ บั ติ ก ารให้ ถึ ง ขี ด สุ ด ผู ้ ที่ มี ส ่ ว นช่ ว ยที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ต่ อ ความยื ด หยุ ่ น ของ
ผู้เข้าปฏิบัติการ คือ ระบบป้องกันขั้นสูง, ลดร่องรอยการปฏิบัติการ, มีช่อง
ในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารส� ำ รองหลายช่ อ งส� ำ หรั บ กรณี ฉุ ก เฉิ น หรื อ ถู ก รบกวน
จากฝ่ายตรงข้ามมีข่ายการด�ำรงสภาพหลาย ๆ เครือข่ายมีขีดความสามารถ
ที่ เข้ ม แข็ ง และปริ ม าณที่ เ พี ย งพอในการสนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ,
มีการป้องกันภัยทางอากาศที่วางไว้หลายชั้น, การลาดตระเวนหลายระดับ
และขีดความสามารถในการซ่อนพรางการปฏิบัติการหลายโดเมน สิ่งที่มีส่วน
ส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดความยืดหยุ่น (Resilient) ที่มิใช่วัตถุที่สามารถจับต้องได้ก็ คือ
สิง่ ต่อไปนีค้ อื ความอ่อนตัวในการวางแผนทีส่ ามารถโต้ตอบต่อการกระท�ำของศัตรู
ที่ไม่หยุดนิ่ง, ความสามารถในการเปลี่ยนการจัดรูปแบบใหม่ตามจังหวะของ
ความขั ด แย้ ง , ผู ้ น� ำ และฝ่ า ยเสนาธิ ก ารที่ มี ค วามสามารถในการปฏิ บั ติ ง าน
ได้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ (intent) ของผู้บังคับบัญชาและมีกองบัญชาการ
ที่มีขนาดกะทัดรัด วางอย่างห่าง ๆ กัน โดยไม่อยู่รวมกันเป็นกระจุก และมี
การฝึกร่วมกันอย่างสม�่ำเสมอ ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้จะส่งผลให้เกิดความยืดหยุ่น

29
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ที่จ�ำเป็นส�ำหรับรูปขบวนการปฏิบัติการหลายโดเมน และระบบต่าง ๆ ในทุก


ระดับการบังคับบัญชา เพือ่ ด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารในเชิงรุกและเชิงรับ ในพืน้ ทีข่ อง
การแข่งขันเพื่อเผชิญหน้ากับคู่แข่งที่มีความสามารถทัดเทียมกัน
(1) ด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ไ ด้ อ ย่ า งอิ ส ระ (Conduct independent
maneuver) รูปขบวนการปฏิบัติหลายมิติ จะด�ำเนินกลยุทธ์ได้อย่างอิสระ
โดยปฏิบัติการในสภาพแวดล้อมที่มีการแข่งขันภายใต้เจตนารมณ์ของการทัพ
ในยุทธบริเวณ (Theater Campaign) การด�ำเนินกลยุทธ์อย่างอิสระรูปขบวน
การปฏิบัติการหลายมิติ (Multi domain formations) ซึ่งประกอบไปด้วย
กองก�ำลังหลายขนาด ขีดความสามารถต่าง ๆ และเสริมพลังด้วยความริเริ่ม
ในการปฏิ บั ติ ก ารภายใต้ ข ้ อ จ� ำ กั ด ที่ มี อ ยู ่ ข องสภาพแวดล้ อ มทางยุ ท ธการ
รูปขบวนการปฏิบัติการหลายมิติมีขีดความสามารถในการด�ำรงสภาพ และ
ปกป้ อ งตนเองเพี ย งพอจนกว่ า จะสามารถติ ด ต่ อ กั บ หน่ ว ยก� ำ ลั ง ที่ อ ยู ่ ใ กล้
เคี ย งได้ รู ป ขบวนนี้ มี ขี ด ความสามารถในการลดร่ อ งรอยการปรากฏตั ว
และร่ อ งรอยทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ , มี ช ่ อ งทางการติ ด ต่ อ สื่ อ สารส� ำ รองไว้
หลายช่ อ งทางเพื่ อ ป้ อ งกั น การรบกวนระบบการติ ด ต่ อ สื่ อ สารจากข้ า ศึ ก ,
ลดความต้ อ งการด้ า นการส่ ง ก� ำ ลั ง , เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการสนั บ สนุ น
ทางการแพทย์, มีเครือข่ายการส่งก�ำลังส�ำรองไว้หลายข่าย, มีการสนับสนุน
ขีดความสามารถทางการด�ำเนินกลยุทธ์อย่างเพียงพอทัง้ ในด้านขีดความสามารถ
และจ�ำนวนของกองก�ำลัง รวมทั้งความสามารถในการซ่อนพรางการปฏิบัติการ
จากสายตาของฝ่ายตรงข้ามหน่วยระดับกองทัพน้อย กองพล มีความต้องการ
ในการใช้ ก ารบั ง คั บ บั ญ ชาแบบมอบภารกิ จ ที่ ก� ำ หนดไว้ ใ น อจย. (organic
mission command), ISR และขีดความสามารถในการด�ำรงสภาพ เพือ่ ด�ำรงสภาพ
การปฏิบตั กิ ารเชิงรุกไว้ได้เป็นเวลาหลายวัน ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทีเ่ ต็มไปด้วย
การแข่งขันในเส้นหลักการส่งก�ำลัง

30
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(2) การใช้อ�ำนาจการยิงข้ามมิติ (Employ cross-domain fires)


ความสามารถในการใช้อ�ำนาจการยิงข้ามมิติเป็นตัวเลือกหนึ่งในการใช้งานให้
ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาและสร้างความยืดหยุ่นภายในกองก� ำ ลั ง รบร่ วมเพื่ อ เอาชนะ
ความพยายามของข้าศึกในการที่จะโดดเดี่ยวการท�ำงานของส่วนต่าง ๆ ของ
ฝ่ายเรา ซึ่งก�ำหนดโดยระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธพื้นที่ นอกเหนือ
จากการป้องกันทางอากาศและขีปนาวุธที่ทันสมัยและความสามารถในการ
ยิงสนับสนุนภาคพื้นดินในระยะยาวแล้ว รูปขบวนในการปฏิบัติการหลายมิติ
ยังสามารถใช้อ�ำนาจการยิงข้ามมิติผ่านระบบการบิน ด้วยสิ่งต่อไปนี้คือ ระบบ
การรักษาความปลอดภัยระดับสูงการป้องกันภัยทางอากาศและลาดตระเวนหลาย
ระดับที่ซับซ้อน, ยุทโธปกรณ์ในการท�ำสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics
Warfare: EW); ระบบอาวุธที่ใช้เซ็นเซอร์หลายย่านความถี่ในการปฏิบัติการ
(Multi-spectral sensor-fused munitions) และไซเบอร์สเปซ, การอวกาศ
และขีดความสามารถที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสารสนเทศ การใช้อ�ำนาจยิงข้าม
โดเมน รวมถึงความสามารถของ ISR ที่จ�ำเป็นในการใช้งานอ�ำนาจการยิงข้ามมิติ
ซึ่งประกอบด้วยการผสมผสานขีดความสามารถยุทโธปกรณ์ในอัตรา (organic)
และความสามารถในการเข้าถึงส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องนอกระบบ การใช้อ�ำนาจ
การยิงข้ามมิตจิ ะผสมผสานกับการเคลือ่ นย้ายหน่วย และอ�ำนาจการท�ำลายล้าง
ทางลึกตามสถานการณ์ที่พัฒนาไป ด้วยรูปแบบการประสานกันระหว่างก�ำลัง
ทางอากาศและก� ำ ลั ง ภาคพื้ น ที่ ทั น สมั ย , เครื อ ข่ า ยการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร และ
การประมวลผลข้อมูล (ทัง้ ด้านความเร็วและปริมาณ) เพือ่ ท�ำให้เกิดความสามารถ
ในการใช้การยิงข้ามมิติได้ผลสูงสุด
(3) เพิ่มศักยภาพมนุษย์ให้ถึงระดับสูงสุด (Maximize human
potential) กองทัพบกสร้างและด�ำรงสภาพของรูปขบวนในการปฏิบตั กิ ารหลาย
โดเมน ด้วยการคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณสมบัติเหมาะสม, การฝึกอบรม และ

31
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

การศึกษาของผู้น�ำและก�ำลังพลในระบบความก้าวหน้าทางศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
กั บ ความสามารถของมนุ ษ ย์ ช ่ ว ยให้ ท หารและผู ้ น� ำ หน่ ว ยในระดั บ ล่ า งของ
สายการบั ง คั บ บั ญ ชา สามารถเริ่ ม การปฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า งมี ศั ก ยภาพสู ง สุ ด
ทั้งทางความคิด ร่างกาย และทางอารมณ์ ระบบเซ็นเซอร์เทคโนโลยีชีวภาพ
จะตรวจสอบสถานะและการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการปฏิบัติงานของ
มนุษย์ ซึ่งจะท�ำให้ผู้บังคับหน่วยเกิดความเข้าใจในสภาพของหน่วย, ยืนยัน
การตัดสินใจต่าง ๆ ของผู้บังคับหน่วยในเรื่องจังหวะ (tempo) และความเข้มข้น
ของปฏิบัติการ และช่วยในการด�ำรงสภาพและฟื้นฟูความแข็งแกร่งของหน่วย
ทัง้ ทางด้านกายภาพ และทางจิตวิทยาระบบป้อนข้อมูลด้วยมนุษย์ (Man-Machine
interfaces) ซึ่งใช้ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) และการ
ประมวลผลข้ อ มู ล ที่ ร วดเร็ ว เป็ น พิ เ ศษ (high speed data processing)
ช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการตั ด สิ น ใจของมนุ ษ ย์ ทั้ ง ในด้ า นความรวดเร็ ว
และความถูกต้องแม่นย�ำ การใช้ขีดความสามารถในการปฏิบัติการหลายมิติ
มี ค วามจ� ำ เป็ น ที่ ก องทั พ บกจะต้ อ งรวบรวมบุ ค ลากรที่ มี ค วามสามารถ,
ด� ำ เนิ น การฝึ ก , และรั ก ษาบุ ค ลากร และใช้ ง านผู ้ น� ำ ทหารและบุ ค ลากร
ทางทหารที่ฝึกอบรมร่วมกันจนมีความรู้ทางเทคนิคทั้งทางกว้าง และทางลึก
กองทัพบกต้องมีการบริหารจัดการขีดความสามารถและทักษะเหล่านี้อย่าง
รอบคอบเพื่ อ ใช้ ป ระโยชน์ จ ากบุ ค ลากรที่ มี คุ ณ ค่ า เหล่ า นี้ ใ ห้ ม ากที่ สุ ด และ
บู ร ณาการบุ ค ลากรเหล่ า นี้ ใ ห้ เ ป็ น ที ม งานมื อ อาชี พ ที่ ส ามารถท� ำ งานได้ แ ม้
ในสภาพแวดล้อมทีเ่ ต็มไปด้วยความไม่ชัดเจนและเต็มไปด้วยความสับสนวุ่นวาย
ในการปรับปรุงความยืดหยุ่น (Resilience) ของผู้น�ำทางทหารและก�ำลังพล
ซึ่ ง เป็ น ขี ด ความสามารถที่ มี คุ ณ ค่ า ของกองทั พ บกนั้ น มี ค วามต้ อ งการทาง
ด้านการฝึก การศึกษา การติดอาวุธทีเ่ หมาะสม และสนับสนุนบุคลากรเหล่านัน้

32
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

เพื่อให้สามารถด�ำเนินการปฏิบัติการหลายมิติ (MDO) โดยสามารถรับมือได้ใน


ทุกระดับความเข้มข้น ทุกระดับความรุนแรง และทุกระดับของความวุ่นวาย
ซับซ้อน
ง. การมาบรรจบกัน (Convergence) การบรรจบกัน คือ การบูรณาการ
ขีดความสามารถต่าง ๆ อย่างรวดเร็วและต่อเนื่องในทุกมิติ, ระบบสเปกตรัม
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic trum: EMS) และสภาพแวดล้อม
ทางด้ า นสารสนเทศที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพกั บ ผลกระทบต่ า ง ๆ
เพื่ อ เอาชนะศั ต รู โ ดยการท� ำ งานร่ ว มกั น ข้ า มโดเมน และการโจมตี ห ลาย
รู ป แบบทั้ ง หมดนี้ ส ามารถท� ำ ได้ โ ดยการบั ง คั บ บั ญ ชาแบบมอบภารกิ จ
(Mission Command) และการคิดริเริ่มโดยให้อยู่ในขอบเขตที่ผู้บังคับบัญชา
ก�ำหนดกองก�ำลังรบร่วมในปัจจุบันด�ำเนินการบรรจบขีดความสามารถต่าง ๆ
โดยการจัดมิติให้เป็นกลุ่มและด�ำเนินการประสาน (Synchronize) ไปทีละตอน
อย่ า งไรก็ ต ามการด� ำ เนิ น งานในอนาคตต่ อ ภั ย คุ ก คามที่ มี ขี ด ความสามารถ
ทัดเทียมกันนั้นจ�ำเป็นต้องใช้กองก�ำลังรบร่วมในการด�ำเนินการบูรณาการ
ขีดความสามารถข้ามมิติอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วเพื่อให้ได้มา ซึ่งชัยชนะ
ณ พื้ น ที่ ที่ เ ป็ น พื้ น ที่ แ ตกหั ก พื้ น ที่ แ ตกหั ก คื อ สถานที่ ใ นเวลาและพื้ น ที่
(ทั้งทางกายภาพ, โลกเสมือน, และกระบวนการรับรู้) ซึ่งการเพิ่มประสิทธิภาพ
เต็มรูปแบบของการใช้ขีดความสามารถข้ามมิติจะสร้างความได้เปรียบอย่าง
เด่ น ชั ด เหนื อ ศั ต รู แ ละมี อิ ท ธิ พ ลเป็ น อย่ า งมากต่ อ ผลของการปฏิ บั ติ ก าร
การบรรจบกันท�ำให้ความพยายามของศัตรูที่จะปกปิดและป้องกันจุดศูนย์ดุล
เป็ น ไปด้ ว ยความยากล� ำ บาก โดยการจั ด กองก� ำ ลั ง รบร่ ว มด้ ว ยทางเลื อ กที่
หลากหลายในการโจมตี ค วามล่ อ แหลมของศั ต รู ใ นพื้ น ที่ แ ตกหั ก รู ป ขบวน
การปฏิ บั ติ ก ารหลายโดเมน ในแต่ ล ะระดั บ ใช้ ป ระโยชน์ จ ากการบรรจบ

33
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(Convergence) เมื่ออยู่ในห้วงของการแข่งขัน และความขัดแย้งด้วยก�ำลัง


อาวุธ เพื่อที่จะประยุกต์ใช้ขีดความสามารถที่เหมาะสมโจมตีต่อความล่อแหลม
ในระบบของปรปักษ์หรือข้าศึก
(1) การบรรจบกัน มีขอ้ ได้เปรียบสองข้อเมือ่ เทียบกับการปฏิบตั กิ าร
ในมิตเิ ดียว : การสร้างสรรค์การท�ำงานร่วมกันข้ามมิติ (Cross-Domain Synergy)
และการสร้างทางเลือกหลายชัน้ (layering of options) ทัว่ ทุกมิตเิ พือ่ ยกระดับ
การปฏิบตั กิ ารของพันธมิตร และเพิม่ ความยุง่ ยากให้กบั การปฏิบตั กิ ารของข้าศึก
การบรรจบกัน, ขีดความสามารถในทุกมิติจะถูกรวมเข้าด้วยกันรูปแบบของ
กระตุ้น-มองเห็น-โจมตี ซึ่งจะขัดขวางลดขีดความสามารถ, ท�ำลาย, สลาย ระบบ
ต่าง ๆ ของข้าศึก หรือเป็นการสร้างโอกาสของความเหนือกว่า เพื่อเปิดทางให้
พันธมิตรได้ด�ำเนินการแสวงประโยชน์จากความริเริ่มนี้
(ก) การท�ำงานข้ามมิติไปด้วยกัน (Cross-domain synergy)
หลั ก การของการท� ำ งานร่ ว มกั น ข้ า มโดเมนเป็ น วิ วั ฒ นาการของการด� ำ เนิ น
กลยุทธ์ผสมเหล่า (Combined arms maneuver) การรวมกันของผลกระทบ
ที่ส่งเสริมกัน เพิ่มความยุ่งยากซับซ้อนให้แก่การปฏิบัติของข้าศึก, ท�ำให้เกิด
ผลโดยรวมที่ร้ายแรงกว่าเอาผลรวมของแต่ละส่วนมารวมกัน (ดูรูปที่ 3-2)
การร่วมกัน (synergy) จะท�ำการปรับขีดความสามารถจากทุกมิติที่มารวมกัน,
ระบบสเปคตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EMS) และสภาพแวดล้อมทางสารสนเทศ
เพือ่ ให้ได้ผลสูงสุดจากทรัพยากรทีม่ อี ยู่ เมือ่ เทียบฝ่ายเรากับศัตรูทมี่ คี วามสามารถ
ทัดเทียมกันแล้ว กองก�ำลังรบร่วมจะไม่มคี วามสามารถเพียงพอทีจ่ ะเอาชนะได้
เลยหากปราศจากท�ำงานร่วมกันข้ามมิติ

34
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ภาพ 3-2 การบรรจบกันของขีดความสามารถในด้านต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการท�ำงาน


ร่วมกันทั่วทุกมิติ และ (การท�ำงานร่วมกันข้ามโดเมนเป็นความคิดที่ได้รับการแนะน�ำ
ในแนวความคิดการปฏิบัติการร่วมในการเข้าพื้นที่ และยังคงเป็นความคิดหลัก
ในแนวความเริ่ ม ต้ น ของการปฏิ บั ติ ก ารร่ ว ม แนวความคิ ด นี้ ไ ด้ รั บ การอธิ บ ายว่ า
เป็นการเติมเต็มกันของการปฏิบัติการ มากกว่าที่จะเพียงแค่เป็นส่วนเพิ่มการใช้งาน
ขีดความสามารถในต่างมิตเิ พียงเท่านัน้ การกระท�ำเช่นนีจ้ ะเป็นการเสริมประสิทธิภาพ
โดยรวม และเป็นการชดเชยความล่อแหลมของส่วนอื่น ๆ เพื่อสร้างความเหนือกว่า
ในการรวมกั น ระหว่ า งมิ ติ ซึ่ ง จะท� ำ ให้ เ กิ ด เสรี ในการปฏิ บั ติ ซึ่ ง เป็ น ที่ ต ้ อ งการ
ในการปฏิบัติภารกิจ)

35
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(ข) ตั ว เลื อ กเลเยอร์ การทั บ ซ้ อ นกั น เป็ น ชั้ น  ๆ ของการมา


บรรจบกันของขีดความสามารถต่าง ๆ ท�ำให้ผู้บังคับบัญชาที่เป็นพันธมิตรมีตัว
เลือกเพิ่มขึ้นและสามารถเพิ่มความยุ่งยากซับซ้อนให้กับศัตรูท�ำให้ปฏิบัติงาน
ได้ยากขึ้น (ดูรูปที่ 3-2) การสร้างตัวเลือกเพิ่มเติมช่วยกองก�ำลังฝ่ายพันธมิตร
ในการก�ำหนดเป้าหมายที่เป็นความล่อแหลมของศัตรูด้วยวิธีที่ไม่คาดคิดและ
หลีกเลี่ยงการพึ่งพาวิธีการเดียวไม่ว่าจะเป็นการสังเกตการณ์หรือการโจมตี
ตัวเลือกที่ทับซ้อนกันเป็นชั้น ๆ (Layered options) ท�ำให้ศัตรูต้องเผชิญ
กับภัยคุกคามที่หลากหลาย ซึ่งจ�ำเป็นจะตอบโต้ ตราบใดที่การรวมกันของ
การบรรจบ (convergence combination) มีความเรียบง่ายไม่ซับซ้อนเกิน
การเข้าใจและสามารถน�ำไปปฏิบัติ ของกองก�ำลังฝ่ายเราจะเป็นผลให้เกิด
ความยุ่งยากซับซ้อนต่อระบบการควบคุมบังคับบัญชาของฝ่ายข้าศึก
(2) ค�ำสั่งแบบมอบภารกิจ (Mission Command) ค�ำสั่งแบบมอบ
ภารกิจยังคงเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของการปฏิบัติการของกองทัพบกในสนาม
เพื่อต่อกรกับศัตรูที่มีขีดความสามารถที่ทัดเทียมกัน เนื่องจากศัตรูจะรบกวน
ขัดขวางการติดสื่อสารและการวางแผนต่าง ๆ ของฝ่ายเรา การให้ค�ำสั่ง
แบบมอบภารกิจ จะต้องแผ่กว้างออกไปครอบคลุมทั่วทุกเหล่าทัพ และผู้ที่ร่วม
ในการปฏิ บั ติ ก ารที่ มิ ใช่ ท หาร เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความคิ ด ริ เริ่ ม และความร่ ว มมื อ
ประสานงานที่ แ น่ น แฟ้ น  - ที่ มี ค วามเสี่ ย ง - เพื่ อ ให้ ก องก� ำ ลั ง รบร่ ว มรั ก ษา
ความสามารถและความต่อเนื่องในการบูรณาการขีดความสามารถหลายมิติ
ไว้ได้แม้ว่าการติดต่อสื่อสารอาจถูกฝ่ายข้าศึกรบกวนสิ่งที่เป็นที่ประจักษ์ของ
Mission Command คือ การผสานผลของการท�ำงานร่วมกันโดยยึดถือ
เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทาง (intent-based synergy) ใน
การปฏิบตั ิ พลวัตของความร่วมมือจะท�ำให้เกิดการบูรณาการขีดความสามารถที่
มีอยู่ข้ามมิติอย่างเพียงพอที่ หรือท�ำให้เกิดผลกระทบที่ต้องการ ณ พื้นที่แตกหัก

36
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(decisive space) การประเมินความเสี่ยงหรือผลกระทบข้างเคียงเกิดขึ้น


จากการกระท�ำนั้น ผู้บังคับบัญชาต้องมีความรอบคอบในการสร้างและรักษา
สภาพที่เอื้ ออ� ำ นวยต่อการใช้ค�ำสั่งแบบมอบภารกิ จ เพื่ อรวมรู ปขบวนและ
ขีดความสามารถอันหลากหลายให้มีแนวทางร่วมกัน หรือสามารถตอบสนอง
ต่อสนามรบที่มีการพัฒนาไป
(3) การบรรจบกันของแต่ละระดับการบังคับบัญชา (Convergence
at echelon) รูปขบวนการปฏิบัติการหลายมิติ และท่าทีของกองก�ำลังที่ได้
ปรับแก้แล้ว ช่วยให้เกิดการบรรจบกัน หลักการของการบรรจบกันสามารถใช้ได้
ทุกระดับของการบังคับบัญชา แต่ก็มีความแตกต่างกันอยู่บ้าง
(ก) ระดับกองทัพบกในยุทธบริเวณ (Theater army) กองก�ำลัง
ในยุทธบริเวณเป็นกองก�ำลังทีส่ ง่ ไปแสดงก�ำลังในพืน้ ทีข่ า้ งหน้า ตามภูมภิ าคต่าง ๆ 
ของโลก กองก�ำลังนีจ้ ะอ�ำนวยความสะดวกในการเข้าถึงของหน่วยงานและองค์กร
ต่าง ๆ ด�ำเนินการจัดยุทธบริเวณ, อ�ำนวยความสะดวกให้กับการด�ำเนินกลยุทธ์
ของกองก�ำลังบุกเบิก (expeditionary forces) และรักษาความปลอดภัย
ฐานทัพร่วม, ผู้เล่นคนส�ำคัญ และเครือข่ายในการติดต่อ กองทัพบกในยุทธ
บริเวณ (Theater army) จะเป็นผู้จัดเงื่อนไขต่าง ๆ ส�ำหรับการปฏิบัติการ
และการบรรจบกันทางยุท ธวิธี ด้วยการปรับแก้ ท ่ า ที ข องกองก� ำ ลั ง ร่ วมกั บ
ผู้บังคับหน่วยในสนาม (Combatant Commands), ฝ่ายเสนาธิการร่วม,
และกองบั ญ ชาการ, กองทั พ บกต้ อ งมั่ น ใจว่ า ขี ด ความสามารถร่ ว มต่ า ง ๆ
และขีดความสามารถของกองทัพบกที่จ�ำเป็นต้องใช้ในยุทธบริเวณจะมีอย่าง
เพี ย งพอหรื อ ถ้ า ไม่ พ อก็ ส ามารถเข้ า ถึ ง ได้ ในสถานที่ แ ละเวลาที่ ต ้ อ งการ
เพื่อยับยั้ง และเอาชนะการรุกรานจากข้าศึกกองทัพบกในยุทธบริเวณบรรจบ
ขีดความสามารถการควบคุมพื้นที่ในเชิงรุก โดยเป็นตัวแทนของกองทัพบกใน
ยุทธบริเวณ กองทัพบกในยุทธบริเวณจะเป็นก�ำลังหลักในระดับการบังคับบัญชา

37
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ในระดั บ ยุ ท ธบริ เวณ ในการบรรจบขี ด ความสามารถต่ า ง ๆ เพื่ อ สนั บ สนุ น


การปฏิบัติการร่วมและผสมผสานปฏิบัติการสภาพแวดล้อมทางสารสนเทศ
(ข) กองทัพสนาม (Field Army) กองทัพสนามเป็นกองก�ำลัง
ที่ส่ง ไปประจ� ำ อยู ่ ใ นภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกที่มีภัยคุ ก คามที่ มี ความสามารถ
ทัดเทียมกัน กองทัพสนามบรรเทาภาระทางยุทธการของกองทัพบกสนามในยุทธ
บริเวณโดยการโฟกัสการปฏิบัติไปยังภัยคุกคามที่เฉพาะเจาะจงภายในขอบเขต
พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารทีแ่ ตกต่างกัน กองทัพสนามด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารทัพ (campaign)
ในห้วงการแข่งขัน (competition) โดยด�ำเนินการเตรียมสนามรบทางด้านการข่าว
(Intelligent Preparation of the Battlefield: IPB), อ�ำนวยความสะดวก
ในการปฏิบัติให้กับกองก�ำลังของฝ่ายพันธมิตรและกองก�ำลังรบพิเศษ, ยับยั้ง
การรุกรานของฝ่ายตรงข้าม, และบริหารจัดการการด�ำเนินการเปลี่ยนผ่าน
เข้าสู่ขั้นการใช้ก�ำลังอาวุธ กองทัพสนามมีความสามารถในการบังคับบัญชา
สองกองทัพน้อย (Corps) หรือมากกว่านั้น กองทัพสนามสามารถท�ำการยิง
ระยะไกลสนับสนุนผู้บังคับหน่วยในสนามในการตอบโต้การยิงของอาวุธยิง
ระยะไกลของข้ า ศึ ก ในห้ ว งของการแข่ ง ขั น กองทั พ ภาคสนามก� ำ กั บ ดู แ ล
ในเรื่ อ งของการลวง (Deception), เลื อ กขี ด ความสามารถบางอย่ า งจาก
ทั้งหมดที่มีมาแสดงก�ำลัง, ปกปิดขีดความสามารถด้านอื่น ๆ ไว้เป็นความลับ
เพื่อสร้างความลังเลไม่แน่ใจให้เกิดขึ้นต่อข้าศึก และยับยั้งการรุกรานของข้าศึก
กองทัพสนามยังสามารถสร้างทางเลือกส�ำหรับการบรรจบโดยการวางแผน
ที่มีจุดโฟกัสเฉพาะไปที่การเตรียมการเพื่อด�ำเนินการปฏิบัติการหลายมิติร่วม
กับหน่วยงานอื่น ๆ ที่ร่วมมือกัน กองทัพสนามผสานความสามารถในการท�ำลาย
อ� ำ นาจการยิ ง ระยะไกลภาคพื้ น ของข้ า ศึ ก และหากไม่ มี ก องบั ญ ชาการของ
กองทั พ น้ อ ย (Corps) ระหว่างการเปลี่ยนผ่านไปสู ่ ค วามขั ด แย้ ง ทางอาวุ ธ
กองทั พ สนามจะช่ ว ยในการด� ำ เนิ น การทางด้ า นเป้ า หมาย และด� ำ เนิ น การ

38
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

กับระบบยิงระยะกลางของข้าศึกให้ไม่สามารถใช้งานได้ ในห้วงของการแข่งขัน
และห้ ว งของความขั ด แย้ ง กองทั พ สนามเป็ น หน่ ว ยงานระดั บ กองทั พ บก
ที่เป็นผู้รับผิดชอบในการรวมขีดความสามารถต่าง ๆ ครองพลังอ�ำนาจของชาติ
เข้ากับการด�ำเนินกลยุทธ์ในระดับหน่วยรอง ในห้วงของการแข่งขันและห้วง
ของความขัดแย้งกองทัพสนามมีหน้าที่รับผิดชอบการด�ำเนินการวิเคราะห์
ข้ อ มู ล ที่ มี ป ริ ม าณมากที่ ม าจากการรวบรวมข่ า วสารในระดั บ ประเทศ และ
จากแหล่งรวบรวมข่าวสารในระดับยุทธบริเวณ และด�ำเนินการเชือ่ มโยงเซ็นเซอร์
ของหน่วยเหล่านีเ้ ข้ากับหน่วยปฏิบตั ทิ ตี่ อ้ งการใช้ขอ้ มูลเฉพาะทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรง
เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางภาคพื้น กองทัพสนาม
จะได้รับการจัดให้มีขีดความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลทางด้านการข่าวกรอง
และปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทางยุทธการ
(ค) กองทัพน้อย (Corps) กองทัพน้อยจัดเป็นกองก�ำลังบุกเบิก
(expeditionary forces) กองทัพน้อยจัดการกับกองก�ำลังผสมเหล่าของข้าศึก
ได้หลาย ๆ กองทัพในเวลาเดียวกัน โดยช่วยในการเอาชนะระบบการยิงระยะไกล
และท�ำให้ระบบการยิงระยะกลางของข้าศึกไม่สามารถด�ำเนินการได้ กองทัพน้อย
ยังสามารถควบคุมบังคับบัญชาได้สองกองพลหรือมากกว่า รวมถึงหน่วยสนับสนุน
ด้วย กองทัพน้อยมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการรวมขีดความสามารถต่าง ๆ เพือ่ ต่อกร
กับระบบการยิงระยะไกลของข้าศึก (การป้องกันภัยทางอากาศการต่อต้านเรือ
และการยิ ง ระยะไกลภาคพื้ น ) ภายในพื้ น ที่ ที่ ก� ำ หนดโดยผู ้ บั ญ ชาการกอง
ก�ำลังรบร่วมกองทัพน้อยท�ำให้กองทัพบกมีขีดความสามารถในการช่วยเหลือ
กองก�ำลังที่มาจากเหล่าทัพอื่น ๆ เมื่อกองทัพน้อยต้องรับผิดชอบในการควบคุม
บั ง คั บ บั ญ ชาการปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ กองทั พ น้ อ ยบรรจบ (converge)
ขีดความสามารถต่าง ๆ เพื่อต่อต้านการจัดรูปขบวนการยิงสนับสนุนระยะกลาง
ของข้ า ศึ ก ในพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารกองทั พ น้ อ ยคื อ หน่ ว ยในระดั บ กองทั พ บก

39
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ที่รับผิดชอบในการน�ำอ�ำนาจการยิงของกองก�ำลังรบร่วมจ�ำนวนมากไม่ว่าจะ
ในการต่ อ ต้ า นระบบการยิ ง สนั บ สนุ น ระดั บ กลางของข้ า ศึ ก หรื อ สนั บ สนุ น
การด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ข องกองพลหรื อ กรมกองทั พ น้ อ ยเป็ น หน่ ว ยที่ ร วมเอา
ขีดความสามารถทางไซเบอร์สเปซเชิงรุก ทั้งในระดับประเทศและระดับยุทธ
บริเวณเพื่อบรรลุถึงวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ของการปฏิบัติการทั้งด้านยุทธการ
และยุทธวิธีการสร้างเงื่อนไขส�ำหรับการบรรจบที่ในระดับการบังคับบัญชา
ทีต่ ำ�่ ลงไปด้วยการจัดสรรทรัพยากร, จัดล�ำดับการด�ำเนินกลยุทธ์ในระดับกองพล,
รวมเข้าการกับการลวง (deception) ในห้วงของการแข่งขันและห้วงของความ
ขัดแย้งกองทัพน้อยด�ำเนินการวิเคราะห์ข่าวกรองเพื่อด�ำเนินการบรรจบข้อมูล
จาก ISR ทั้งในระดับพลังอ�ำนาจของชาติ ระดับยุทธบริเวณ และเครื่องมือ ISR
ในอัตราของหน่วย เพื่อสนับสนุนวัตถุประสงค์ในระดับยุทธวิธีในสนาม
(ง) กองพล (Division) หน่วยงานสามารถเป็นได้ทั้งกองก�ำลัง
ส่วนล่วงหน้า หรือกองก�ำลังบุกเบิก กองพลช่วยให้มีอิสระในการด�ำเนินกลยุทธ์,
ด�ำเนินยุทธวิธใี นการบุกเบิก (expeditionary maneuver) บังคับบัญชากรมชุดรบ
(brigade combat team) และช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้กับกรม, ด�ำเนินการ
เอาชนะและเอาชนะกองทั พ ข้ า ศึ ก ที่ ไ ด้ ผ ่ า นการลิ ด รอนก� ำ ลั ง (shaped)
จากฝ่ายเรามาแล้วในพื้นที่การรบระยะใกล้ กองพลจะเป็นผู้ท�ำการบรรจบ
หน่ ว ยการบิ น ,การยิ ง สนั บ สนุ น , สงครามอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ , การสนั บ สนุ น
การด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ และการด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ห ลายกองพลเพื่ อ ให้ ส ามารถ
ครองความได้ เ ปรี ย บเหนื อ กองทั พ ผสมเหล่ า ของข้ า ศึ ก (หรื อ กองก� ำ ลั ง
ในลักษณะเดียวกัน) ซึ่งมีระบบการยิงระยะกลางที่ถูกท�ำลายไปแล้ว หรือท�ำให้
ไม่สามารถใช้งานได้ กองพลมีขีดความสามารถในการควบคุมบังคับบัญชา
การปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ เพื่ อ รวมการเพิ่ ม เติ ม ก� ำ ลั ง ยิ ง (reinforcing)

40
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

จากกองก�ำลังรบร่วม หรือกองทัพบกเมือ่ เป็นส่วนเข้าตีรอง (secondary effort)


กองพลที่เป็นส่วนเข้าตีหลักและได้รับการจัดสรรเที่ยวบินทางอากาศเป็นจ�ำนวน
หลายเที่ยวบิน, การสนับสนุนของปืนเรืออย่างมหาศาล หรือได้รับการเพิ่มเติม
ก�ำลังยิงจากหลายกองพลที่มีอาวุธยิงสนับสนุนการปฏิบัติของกองก�ำลังทาง
บก สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ต้องการความช่วยเหลือจากกองทัพน้อย (Corps) ในการ
บรรจบขีดความสามารถต่างในระดับนัน้ ด้วยความช่วยเหลือจากระดับการบังคับ
บัญชาชั้นเหนือ กองพลสามารถบรรจบขีดความสามารถในระดับพลังอ�ำนาจ
ของชาติ และขีดความสามารถในการปฏิบัติการทางอวกาศเชิงรุก (offensive
space capabilities) เข้ากับแนวทางการด�ำเนินกลยุทธ์ของกองพลได้ กองพลมี
ความสามารถในการวิเคราะห์เพื่อบรรจบ (converge) แหล่งข่าวกรองระดับ
ประเทศ หรือระดับยุทธบริเวณเข้ากับ ISR ที่อยู่ในอัตราของกองพลอีกด้วย
(จ) กรม (Brigade) กรมมีขีดความสามารถ ISR ในอัตรา,
ขีดความสามารถในการด�ำเนินกลยุทธ์และการยิง แต่มขี ดี ความสามารถทางด้าน
การบินทีจ่ ำ� กัด การสนับสนุนการด�ำเนินกลยุทธ์, การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (EW)
การยิ ง สนั บ สนุ นร่วม และขีดความสามารถด้ า นการปฏิ บัติ ก ารทางอวกาศ
เชิงรุก กรมทัง้ หมดมีความสามารถในการปฏิบตั กิ ารหลายมิติ แต่ทว่าผูท้ รี่ บั ผิดชอบ
ในการควบคุมภูมปิ ระเทศนัน้ ต้องการขีดความสามารถข้ามมิตใิ นอัตราในระดับสูง
เพื่อสร้างการบรรจบที่ท�ำให้สามารถปฏิบัติกิจได้มากขึ้นกรมมักจะเข้าถึงหน่วย
ข่าวกรอง, ความสามารถในการท�ำสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (EW), ไซเบอร์สเปซและ
ความสามารถในการปฏิบัติการด้านอวกาศผ่านทางกองพล กองทัพสนาม และ
กองทัพบกในสนามตามทีอ่ ธิบายไว้ขา้ งต้น กรมปฏิบตั กิ ารบรรจบ และการด�ำเนิน
กลยุทธ์ข้ามมิติเพื่อ โดดเดี่ยว ด�ำเนินกลยุทธ์ และ/หรือป้องกัน อันเป็นการแสวง
ประโยชน์จากความริเริ่มและครอบครองต�ำแหน่งที่จะท�ำให้เกิดความได้เปรียบ

41
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ในการบรรลุภารกิจ กรมมีขีดความสามารถในการวิเคราะห์เพื่อรวมแหล่งข่าว
กรองระดับชาติหรือระดับยุทธบริเวณด้วย ISR ในอัตราได้ในปริมาณจ�ำกัด
(ช) การควบคุ ม บั ง คั บ บั ญ ชาในการปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ
(Multi-domain command and control) ความสามารถในการท�ำงานร่วมกัน
ระหว่ า งเหล่ า ทั พ , หน่ ว ยงานอื่ น  ๆ ที่ มิ ใช่ ท หาร, และประเทศพั น ธมิ ต รที่
ปฏิบัติการร่วมกันเป็นองค์ประกอบส�ำคัญในการปฏิบัติการข้ามมิติ (MDO)
การควบคุ ม บั ง คั บ บั ญ ชาในการปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ คื อ การรวมสิ่ ง ต่ า ง ๆ
ต่ อ ไปนี้ เข้ า ด้ ว ยกั น คื อ กองก� ำ ลั ง และยุ ท โธปกรณ์ , กระบวนการต่ า ง ๆ ,
หน่วยงานและอ�ำนาจในการเข้าถึง/สั่งใช้, รูปขบวนการปฏิบัติการข้ามโดเมน
และการบังคับบัญชาแบบมอบภารกิจ (Mission command) ที่ออกแบบ
มาเพื่อให้สามารถท�ำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งหน่วยทหาร และหน่วยงาน
ที่มิใช่ทหาร และสามารถแสวงประโยชน์จากการปฏิบัติในลักษณะนี้ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ การที่จะมีการควบคุมบังคับบัญชาการปฏิบัติการหลายมิติที่มี
ประสิทธิภาพนั้น มีความต้องการดังต่อไปนี้คือ สถาปัตยกรรมทางเทคนิคที่มี
ความยืดหยุ่น, ความสัมพันธ์ในสายการบังคับบัญชาที่ยืดหยุ่น และมาตรการ
การควบคุมในการปฏิบัติการหลายมิติ สถาปัตยกรรมด้านเทคนิคที่ยืดหยุ่น
จะเป็นตัวช่วยให้การเชื่อมต่อในการส่งข้อมูลที่ส�ำคัญ (critical information)
ระหว่างกองบัญชาการ, หน่วยต่าง ๆ, อากาศยาน หรือเรือรบในช่วงเวลาส�ำคัญ
ที่ เ ป็ น หั ว เลี้ ย วหั ว ต่ อ ในการปฏิ บั ติ ก ารเป็ น ไปได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ทั น กาล
ความสั ม พั น ธ์ ใ นสายการบั ง คั บ บั ญ ชาที่ ยื ด หยุ ่ น ช่ ว ยให้ ส ามารถจั ด สรร
ขีดความสามารถในการปฏิบัติการหลายมิติ และรูปขบวนในการปฏิบัติการ
ทั่วทั้งส่วนปฏิบัติงานทุกส่วน และทุกระดับของสายการบังคับบัญชาเป็นไป
อย่ า งรวดเร็ ว เพื่ อ ให้ บ รรลุ ถึ ง การบรรจบกั น ของขี ด ความสามารถต่ า ง ๆ
ความยื ด หยุ ่ น ของความสั ม พั น ธ์ ใ นสายการบั ง คั บ บั ญ ชาจะท� ำ ให้ เ กิ ด การ

42
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

สร้างสรรค์อัตราส่วนก�ำลังที่ท�ำให้ฝ่ายเราได้เปรียบด้วยการมอบหมายกิจ (task)
ได้อย่างรวดเร็วและการมอบหมายการเพิ่มเติมก�ำลังยิง และขีดความสามารถ
ต่าง ๆ รวมทั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการมอบกิจ และจัดระเบียบสิ่งต่าง ๆ
ทีก่ ล่าวมาเพือ่ ให้เหมาะกับสถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นไปในแต่ละระดับการบังคับบัญชา
ก็สามารถกระท�ำได้อย่างฉับไว มาตรการในควบคุมการปฏิบตั กิ ารหลายมิตสิ ร้าง
กรอบการท�ำงานส�ำหรับการบังคับบัญชาแบบมอบภารกิจ (mission command)
โดยการอนุญาตให้หน่วยมีเสรีในการเลือกการปฏิบตั ทิ สี่ ามารถท�ำให้บรรลุภารกิจ
ในการด�ำเนินกลยุทธ์ขา้ มมิติ (แต่ตอ้ งอยูภ่ ายในขอบเขตคือ กรอบเจตนารมณ์ของ
ผูบ้ งั คับบัญชา) มาตรการควบคุมหลายมิตยิ งั อ�ำนวยความสะดวกในการประสาน
งานระหว่างหน่วยก�ำลังที่มีระดับการบังคับบัญชาต่างกันที่อยู่ข้างเคียงกัน
และหน่วยทีไ่ ม่ใช่หน่วยทหารทีป่ ฏิบตั กิ ารร่วมกัน เมือ่ เกิดเหตุการณ์ที่การปฏิบัติ
การถูกรบกวนหรือขัดขวาง ความสัมพันธ์ในสายการบังคับบัญชาที่ยืดหยุ่นของ
และมาตรการควบคุมการปฏิบัติการหลายมิติ ซึ่งก็คือองค์ประกอบของค�ำสั่ง
แบบมอบภารกิจ (Mission Command) นั้นจะเป็นตัวช่วยอ�ำนวยความสะดวก
ให้การปฏิบัติการสามารถด�ำเนินไปได้

3-4 MDO และวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์


(ก) “กองทัพสหรัฐฯ ในการปฏิบัติการรบหลายมิติ (U.S.Army in
Multi-Domain Operations)” เป็นแนวความคิดทางทหารในระดับยุทธการ
ที่ออกแบบมาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ ที่ระบุไว้ใน
ยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ โดยเฉพาะการสกัดกั้นและเอาชนะสาธารณรัฐ
ประชาชนจีนและรัสเซียในห้วงการแข่งขันและห้วงของความขัดแย้งแนวคิดนี้
ยังสนับสนุนการปฏิบัติการที่ผดุงไว้ซึ่งบทบาททางยุทธศาสตร์ของกองทัพบก
ที่ต้องด�ำรงไว้สี่ประการคือ : ป้องกันความขัดแย้ง, จัดสภาพแวดล้อมทาง
/ความมั่ น คง มี ค วามเหนื อ กว่ า ในการปฏิ บั ติ ก ารรบภาคพื้ น ดิ น ขนาดใหญ่
43
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

และรวบรวมสิ่งที่ได้มา วัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์เหล่านี้ต้องการกองก�ำลัง
ทหารบกในการแก้ ป ั ญ หาหลายมิ ติ ที่ อ ธิ บ ายไว้ ใ นส่ ว นที่ 3-1 ส่ ว นต่ อ ไปนี้
จะอธิบายว่า MDO แก้ปัญหาเหล่านี้ได้อย่างไร ส่วนที่ 3-5 กล่าวถึงปัญหาแรก
ของการแข่งขันเพื่อเอาชนะการรุกรานที่เกิดจากความขัดแย้งทางอาวุธ
และเพื่อยับยั้งความขัดแย้ง ส่วนที่ 3-6 กล่าวถึงปัญหาที่สองคือการเจาะระบบ
ต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธการเข้าพืน้ ทีข่ องข้าศึกเพือ่ ให้สามารถด�ำเนิน
กลยุทธ์ในระดับยุทธศาสตร์และยุทธการได้ในช่วงของความขัดแย้ง ส่วนที่ 3-7
แก้ไขปั ญ หาที่ ส ามของการระบบต่ อ ต้ า นการเข้ า ถึ ง และการปฏิ เ สธพื้ น ที่
ของข้ า ศึ ก ในยุ ท ธบริ เวณเพื่ อ ให้ ส ามารถด�ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ท างยุ ท ธการ และ
ทางยุ ท ธวิ ธี ไ ด้ ส่ ว นที่ 3-8 กล่ า วถึ ง ปั ญ หาที่ สี่ ข องการแสวงประโยชน์
จากความมีเสรีในการด�ำเนินกลยุทธ์เพื่อเอาชนะศัตรูและบรรลุวัตถุประสงค์
ทางยุทธศาสตร์ของประเทศสหรัฐฯ ส่วนที่ 3-9 กล่าวถึงปัญหาสุดท้ายของ
การกลับเข้าแข่งขันซ�ำ้ อีกครัง้ เพือ่ รวมสิง่ ต่าง ๆ ทีไ่ ด้มาในระหว่างการปฏิบตั กิ าร
และขยายพื้นที่การแข่งขันและด�ำเนินการให้ผู้ก�ำหนดนโยบายสามารถแก้ไข
ข้อขัดแย้งได้ ส่วนที่เหลือของส่วนนี้อธิบายถึงวิธีการแก้ปัญหาว่า การแก้ปัญหา
ทางยุทธการเหล่านีจ้ ะน�ำไปสูก่ ารบรรลุถงึ วัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ได้อย่างไร
(ข) กองก�ำลังรบร่วมทีส่ ามารถในการปฏิบตั กิ ารหลายมิติ สามารถบรรลุ
วัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ของฝ่ายเรา (ชนะ) และเอาชนะคู่ต่อสู้ได้ด้วยวิธี
ที่แตกต่างกันสามวิธี วิธีที่พึงประสงค์ในการบรรลุวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์
คือการแข่งขันอันทรงประสิทธิภาพซึง่ สามารถทีจ่ ะยับยัง้ การยกระดับและเอาชนะ
ความพยายามของข้าศึกที่จะท�ำให้ฝ่ายเราเกิดความไม่มั่นคง หากการป้องปราม
ล้มเหลววิธีที่สองคือสั่งใช้ก�ำลังกองก�ำลังที่ส่งไปล่วงหน้าและกองก�ำลังบุกเบิก
ผสมกันในอัตราส่วนที่เหมาะสม เพื่อปฏิเสธเป้าหมายของศัตรูภายในระยะเวลา
อันสั้น (นับเป็นวัน) และบรรลุความได้เปรียบทางต�ำแหน่งสัมพัทธ์ทางยุทธการ

44
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(operational position of relative advantage) ภายในระยะเวลานับเป็น


สั ป ดาห์ ซึ่ ง จะน� ำ ไปสู ่ ผ ลลั พ ธ์ ท างการเมื อ งที่ ย อมรั บ ได้ และยั่ ง ยื น หากทั้ ง
สองวิธีนั้นไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในการขัดแย้งในช่วงเวลาสั้น ๆ วิธีที่สาม
คือ การเอาชนะศัตรูในสงครามที่ยืดเยื้อ ทั้งสามวิธีที่กล่าวมามีความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กันตามเจตจ�ำนงและความสามารถในการชนะสงครามที่ยาวนาน และ
หากจ�ำเป็น ทั้งสามวิธีน้ันจะเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญในการโน้มน้าวใจฝ่ายตรง
ข้ามว่า ไม่ว่าจะท�ำยังไงก็ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้และจะไม่บรรลุเป้าหมาย
ในการแข่งขันในระดับที่ต�่ำกว่าความขัดแย้งทางอาวุธอย่างแน่นอนการแสดง
ความสามารถและความพร้อมทีจ่ ะท�ำให้เห็นถึงการปฏิเสธการโจมตีทไี่ ม่สามารถ
แก้ไขได้ ในทางกลับกัน จะท�ำให้กองก�ำลังร่วมอยู่ในฐานะที่ได้เปรียบในห้วงของ
การแข่งขัน กองทัพบกเป็นก�ำลังส�ำคัญในสามวิธที กี่ ล่าวมาในการเอาชนะคูต่ อ่ สูท้ ี่
ก้าวร้าวและสามารถเพิม่ ทางเลือกให้ผนู้ ำ� ทางการเมืองได้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะท�ำได้
เพือ่ ด�ำเนินการยับยัง้ ด้วยการแข่งขันทีฝ่ า่ ยเราเป็นผูก้ ำ� หนด หรือเมือ่ จ�ำเป็นให้เริม่
ด�ำเนินปฏิบัติการและยุติความขัดแย้งทางอาวุธในสภาพที่เอื้ออ�ำนวยให้กับฝ่าย
เราก่อนที่จะกลับไปสู่การแข่งขันด้วยกติกาที่แก้ไขแล้วอีกครั้ง
(ค) แข่งขัน (compete) กองก�ำลังรบร่วมประสบความส�ำเร็จในการแข่งขัน
โดยเอาชนะความพยายามในการบรรลุเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ของคู่ต่อสู้
และยับยัง้ การยกระดับการปฏิบตั กิ ารทางทหาร ซึง่ ท�ำได้โดยการขยายพืน้ ทีแ่ ข่งขัน
ไปยังก�ำหนดนโยบายโดยการสร้างทางเลือกหลาย ๆ ในการใช้องค์ประกอบของ
พลังอ�ำนาจแห่งชาติ กองก�ำลังทหารบกมีบทบาทร่วมทีส่ ำ� คัญในความพยายามนี้
โดยมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันตลอดทั่วทุกมิติ (รวมถึงพื้นที่และไซเบอร์สเปซ),
ในระบบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัม, และในระบบสารสนเทศ ความสามารถ
ที่แสดงให้เห็นถึงความเหนือกว่าในห้วงการแข่งขันและการตอบโต้ข่าวสาร
เรื่องเท็จของข้าศึกที่สร้างขึ้นให้เห็นว่าสหรัฐฯ เป็นพันธมิตรที่อ่อนแอหรือ

45
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ไม่มั่นคงในห้วงของความขัดแย้งการรวมกันอย่างมีประสิทธิภาพของความ
สามารถ ทั้งในการแข่งขันในระดับที่ต�่ำกว่าความขัดแย้งทางอาวุธและในการ
ตอบสนองต่อการยกระดับไปสู่ความขัดแย้งทางอาวุธท�ำให้อยู่ในต�ำแหน่งของ
ความได้เปรียบเหนือฝ่ายตรงข้ามและสามารถเป็นผู้ก�ำหนดเงื่อนไขที่เอื้อให้
เกิดความได้เปรียบกับฝ่ายเราในกรณีที่จะเกิดความขัดแย้งตามมา ต�ำแหน่งที่
ท�ำให้เกิดความได้เปรียบดังกล่าวนี้ ท�ำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ�ำนวยต่อ
ความพยายามของกองก�ำลังรบร่วม, หน่วยงานที่มิใช่หน่วยงานทางทหารและ
ประเทศที่ร่วมปฏิบัติการในการที่จะตอบโต้การบีบบังคับของฝ่ายตรงข้ามด้วย
การท�ำสงครามไม่ตามแบบและสงครามทางด้านข่าวสารข้อมูล การที่ตัวแทนใน
การท�ำสงครามของฝ่ายตรงข้ามได้รับการสนับสนุนเพียงเล็กน้อยหรือไม่ได้รับ
การสนับสนุนเลยจากกองก�ำลังรบตามแบบของฝ่ายข้าศึกเป็นการช่วยให้คู่ร่วม
ปฏิบตั กิ ารของสหรัฐฯ สามารถตอบโต้ความพยายามทีจ่ ะท�ำให้ประเทศเกิดความ
ไม่มั่นคง ขาดเสถียรภาพได้ง่ายขึ้น ผลกระทบของการยับยั้งที่มาทบทวีกันอย่าง
ต่อเนือ่ งของการยับยัง้ ความขัดแย้งทางอาวุธและการเอาชนะสงครามไม่ตามแบบ
และสงครามข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัติการทัพในห้วงการแข่งขันท�ำให้ฝ่ายตรง
ข้ามไม่สามารถคาดเดาการปฏิบัติของฝ่ายเราได้และก่อให้เกิดทางเลือกที่หลาก
หลายเพิ่มเติมส�ำหรับก�ำลังฝ่ายเรา ดังนั้นฝ่ายเราจะสามารถขยายพื้นที่ในการ
แข่งขัน ซึง่ จะท�ำให้คณะผูก้ ำ� หนดนโยบาย (policymakers) ได้มที างเลือกเพิม่ ขึน้
(ง) เจาะทะลวง, สลายและแสวงประโยชน์ (Penetrate, disintegrate,
exploit) ในเหตุการณ์ที่มีการสู้รบด้วยอาวุธกองทัพบกมีกองก�ำลังที่เป็นส่วน
ล่วงหน้าในพื้นที่และกองก�ำลังบุกเบิกท�ำให้สามารถเอาชนะการรุกรานได้อย่าง
รวดเร็วด้วยการผสมผสานของท่าทีของกองก�ำลังที่ปรับแก้แล้ว, รูปขบวนในการ
ปฏิบัติการข้ามมิติ และการบรรจบเพื่อต่อสู้อย่างฉับพลันกับการโจมตีของข้าศึก

46
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ในทางลึก การยิงระยะไกลของกองทัพบกมาบรรจบกันกับขีดความสามารถ
ร่วมหลายมิติในการเจาะและสลายระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธการ
ใช้พนื้ ทีข่ องข้าศึก เพือ่ ท�ำให้กองก�ำลังร่วมเกิดเสรีทางยุทธศาสตร์และเสรีทางด้าน
การด�ำเนินกลยุทธ์ในระดับยุทธการภายในยุทธบริเวณ, กองทัพบกได้ดำ� เนินการ
บรรจบขีดความสามารถทีจ่ ะเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้ขดี ความสามารถจากทุกมิติ
ต่อส่วนประกอบที่ส�ำคัญของระบบป้องกันการเข้าถึงและขีดความสามารถ
ในการปฏิเสธการใช้พื้นที่ของศัตรูโดยเน้นไปที่ระบบการป้องกันทางอากาศ
ระยะไกลและระบบยิงสนับสนุน การบรรจบ (convergence) เพื่อต่อต้าน
ระบบระยะไกลของศัตรูท�ำให้ฝ่ายเราสามารถเจาะทะลุในขั้นต้นได้การปฏิบัตินี้
ก�ำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ ส�ำหรับการเปลี่ยนผ่านอย่างรวดเร็วไปสู่การปฏิบัติการ
ภาคพื้นดินและทางอากาศร่วม ซึ่งการด�ำเนินกลยุทธ์ช่วยให้เกิดการโจมตีและ
การโจมตีเป็นการช่วยให้เกิดการด�ำเนินกลยุทธ์ MDO ในพื้นที่การรบระยะ
ใกล้และพื้นที่ทางลึก รวมการยิงสนับสนุน, การด�ำเนินกลยุทธ์ และการปฏิบัติ
การลวงเพื่อแยกส่วนการป้องกันของศัตรูออกเป็นทางกายภาพ ในโลกเสมือน
(virtually) ความรอบคอบในการแบ่งข้าศึกออกเป็นส่วนย่อย ๆ เป็นผลให้กอง
ก�ำลังฝ่ายเราบรรลุความเหนือกว่าทางด้านอัตราส่วนของกองก�ำลัง กองก�ำลัง
ทหารบกเมื่อได้ท�ำการเจาะและเริ่มท�ำการสลายระบบต่อต้านการปฏิเสธและ
การเข้าถึงพื้นที่ของข้าศึกแล้วจะสามารถแสวงประโยชน์จากความล่อแหลมของ
หน่วยต่าง ๆ และระบบต่าง ๆ ของข้าศึกได้เพือ่ เอาชนะกองก�ำลังข้าศึกและบรรลุ
เป้าหมายของการด�ำเนินการทัพของก�ำลังฝ่ายเดียวกัน ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่ง
ของกองก�ำลังรบร่วมกองก�ำลังกองทัพบกจะบรรลุถงึ วัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์
ที่ได้ก�ำหนดไว้อย่างรวดเร็ว และรวบรวมสิ่งที่ได้รับมาทั้งหมดเข้าด้วยกัน

47
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ภาพ 3-3 แนวทางการแก้ปัญหาด้วยการปฏิบัติการหลายมิติ

เริ่มการแข่งขันใหม่อีกครั้ง (Re-compete) กองก�ำลังกองทัพบก


มีสว่ นร่วมในการรวบรวมสิง่ ทีไ่ ด้มาทางยุทธศาสตร์หลังจากความขัดแย้ง โดยรักษา
ความริเริ่มและรักษาการมีส่วนร่วมทางยุทธการในทุกมิติ, คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปคตรัม, และสภาพแวดล้อมทางยุทธการ วิธีการนี้ท�ำให้มั่นใจได้ว่าเงื่อนไข
ทางทหารและการเมืองยังคงเอื้ออ�ำนวยต่อสหรัฐฯ และพันธมิตร โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการขัดแย้งกับประเทศที่มีพลังอ�ำนาจทางนิวเคลียร์, ศัตรูจะยังคง
ขีดความสามารถทางการรบตามแบบทีส่ ำ� คัญในสนาม ดังนัน้ กองก�ำลังกองทัพบก
จึงต้องยับยั้งการหวนกลับไปสู่การท�ำสงครามตามแบบและช่วยเหลือกองก�ำลัง
พันธมิตรในการน�ำความสงบกลับคืนสู่ประเทศ เพื่อป้องกันศัตรูจากการแสวง
ประโยชน์จากการหยุดชะงักหลังจากถูกข้าศึกรบกวนภายในเพื่อความได้เปรียบ
48
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ทางยุทธศาสตร์ หน้าที่เหล่านี้จะเป็นตัวขยายการแข่งขันออกไปอย่างต่อเนื่อง
ขยายพื้นที่ในการแข่งขันส�ำหรับผู้ก�ำหนดนโยบาย, บรรลุวัตถุประสงค์ทาง
ยุทธศาสตร์ และรักษาความริเริ่ม
3-5 MDO ในห้วงการแข่งขัน : แข่งขันเพื่อขยายพื้นที่การแข่งขัน (MDO in
competition: Compete to expand the competitive space)
ก. ปัญหาหลายมิติ# 1: กองก�ำลังรบร่วมท�ำอย่างไรในการแข่งขันเพื่อ
เอาชนะการปฏิบัติการของฝ่ายตรงข้ามในการท�ำให้ภูมิภาคเกิดความไม่มั่นคง
และยับยั้งการเพิ่มความรุนแรงและหากความรุนแรงเพิ่มขึ้นจะท�ำอย่างไรให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงไปสู่ห้วงความขัดแย้งทางอาวุธได้อย่างฉับพลัน?

ภาพ 3-4 ห้วงองค์การแข่งขัน (Competition)


49
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ข. ความส�ำเร็จในการแข่งขันท�ำให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ส�ำคัญสาม
ประการ : ขัดขวางความขัดแย้งในแง่มุมที่เป็นประโยชน์ต่อสหรัฐฯ, ตอบโต้
ความพยายามของฝ่ายตรงข้ามในการขยายพื้นที่ในการแข่งขันที่ต�่ำกว่าระดับ
ของความขั ด แย้ ง ทางอาวุ ธ และท� ำ ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งฉั บ พลั น
ไปสู่ความขัดแย้งทางอาวุธ ในอดีตทหารของสหรัฐฯ มักจะรักษาการตอบโต้
ในห้วงการแข่งขันให้ต�่ำกว่าระดับของความขัดแย้งทางอาวุธเนื่องจากเหตุผล
ทางวั ฒ นธรรม, กฎหมาย และนโยบาย แนวคิ ด ของกองทั พ บกสหรั ฐ ฯ
ในการปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ เ น้ น ความส� ำ คั ญ ของการติ ด พั น ข้ า ศึ ก ในเชิ ง รุ ก
โดยกองก� ำ ลั ง รบร่ ว มและโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง กองทั พ บกในการแข่ ง ขั น
เพื่ อ ปกป้ อ งผลประโยชน์ ข องสหรั ฐ ฯ, ยั บ ยั้ ง ความขั ด แย้ ง และเมื่ อ จ� ำ เป็ น
ต้ อ งสร้ า งเงื่ อ นไขที่ เ อื้ อ อ� ำ นวยส� ำ หรั บ กองก� ำ ลั ง รบร่ ว มในการเปลี่ ย นไปสู ่
ความขัดแย้งทางอาวุธให้มากที่สุด
ค. กองทัพบกได้รับความส�ำเร็จอย่างงดงามในการเข้าแข่งขันโดยเป็น
ส่วนหนึ่งของกลุ่มต่าง ๆ เหล่านี้คือ กองก�ำลังรบร่วม, หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งหน่วย
งานทางทหาร และมิใช่ทหารที่เข้าร่วมปฏิบัติการ และกองก�ำลังทหารต่างชาติ
และหน่วยงานนานาชาติ โดยเอาชนะความพยายามของฝ่ายตรงข้ามที่ก่อกวน
ความมั่นคงในภูมิภาคด้วยการยับยั้งความขัดแย้งทางอาวุธโดยการปฏิบัติการ
ต่าง ๆ ทีเ่ สริมแรงซึง่ กันและกัน กองทัพบกสนาม ด�ำเนินการด้านการข่าวกรองทีล่ ง
รายละเอียดทั้งในด้านยุทธวิธีและด้านยุทธการ การเตรียมการของสนามรบด้าน
การข่าว (IPB) เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้กบั กองก�ำลังทีเ่ ป็นส่วนล่วงหน้าในสนาม
และกองก�ำลังบุกเบิกเพื่อเอาชนะการจู่โจมโดยไม่คาดคิดจาก โดยฝ่ายตรงข้าม
ได้อย่างรวดเร็ว ร่วมกับพันธมิตรและกองก�ำลังรบร่วมกองก�ำลังกองทัพตอบโต้
การลาดตระเวนของฝ่ายตรงข้ามและท�ำการลวงเพื่อสร้างความไม่แน่นอนให้
เกิดขึ้นกับกระบวนการตัดสินใจของฝ่ายตรงข้าม กองก�ำลังที่เป็นส่วนล่วงหน้า

50
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ยังมีส่วนในการเอาชนะการด�ำเนินการทัพในรูปแบบของการรบไม่ตามแบบของ
ฝ่ายตรงข้ามทั้งทางตรงและทางอ้อมด้วยการให้การสนับสนุนที่ปรึกษา และ
ขีดความสามารถในด้านต่าง ๆ และโดยการสร้างขีดความสามารถ และกองก�ำลัง
ต่าง ๆ เสริมให้หน่วยทีเ่ ข้าปฏิบตั กิ ารร่วมกันอยูเ่ สมอรูปขบวนเหล่านีส้ ำ� เร็จได้ดว้ ย
การจัดให้มีอ�ำนาจในการเข้าถึงที่จ�ำเป็น, เข้าติดพันเชิงรุกในพื้นที่ปฏิบัติการข่าว
ด้วยเครือ่ งมือทีห่ ลากหลาย รวมถึงขีดความสามารถทางไซเบอร์สเปซและขีดความ
สามารถทางด้านคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัม ในทีส่ ดุ ทัง้ กองทัพบกในยุทธบริเวณ
และกองทัพบกสนามได้ด�ำเนินการเตรียมการอย่างดีในการท�ำสงครามตามแบบ
เพือ่ แสดงให้เห็นถึงการยับยัง้ ทีท่ รงประสิทธิภาพ กองทัพบกในยุทธบริเวณ จัดให้
มียทุ ธบริเวณเพือ่ ให้การใช้งานหน่วยแบบมีพลวัตของกองก�ำลังรบร่วม กองทัพบก
สนาม “จัดการปฏิบัติการทัพ” เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ากองก�ำลังรบร่วมและ
พันธมิตรสามารถท�ำการเปลี่ยนผ่านจากการห้วงแข่งขันไปสู่ห้วงความขัดแย้งได้
อย่างรวดเร็ว
ง. ด�ำเนินการด้านการข่าวกรองและการต่อต้านการลาดตระเวน
ของฝ่ายตรงข้าม (Conduct intelligence and counter adversary
reconnaissance) ในห้ ว งการแข่ ง ขั น กองทั พ สนามประสานงานการ
รวบรวมข่าวสารเพื่อตอบโต้ฝ่ายข้าศึกและวิเคราะห์ระบบการปฏิบัติการและ
ยุทธวิธีของฝ่ายตรงข้ามรวมถึงแง่มุมอื่น ๆ ของสภาพแวดล้อมทางยุทธการ
และข่ า ยงานด้ า นพลเรื อ น จากนั้ น กองทั พ สนามจะแจกจ่ า ยข้ อ มู ล ไปยั ง
กองก�ำลังรบร่วมและกองก�ำลังบุกเบิกที่ได้วางก�ำลังในที่ต่าง ๆ ตามที่ผู้บังคับ
บัญชาได้แบ่งพื้นที่ไว้ เพื่อให้ท�ำความคุ้นเคยกับระบบของฝ่ายตรงข้ามและ
พื้นที่ที่น่าจะเป็นพื้นที่ในการปฏิบัติการร่วมและพื้นที่ปฏิบัติการของกองทัพบก
กองทัพสนามยังมีความรับผิดชอบหลักในการต่อต้านการลาดตระเวนของฝ่าย
ตรงข้ามโดยการต่อต้านลาดตระเวนและการลวง เมื่อรวมการด�ำเนินการเหล่านี้

51
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

เข้าด้วยกันจะท�ำให้กองก�ำลังรบร่วมสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่ความขัดแย้งทาง
อาวุธได้อย่างรวดเร็วและสร้างความสับสนให้ฝ่ายตรงข้ามว่าจะสามารถบรรลุ
วัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ด้วยการโจมตีแบบไม่คาดคิดได้หรือไม่
(1) พัฒนาความเข้าใจขีดความสามารถทางทหาร (Develop
understanding of military capabilities) ความซับซ้อนของอุปกรณ์ทางทหาร
สมัยใหม่ตอ้ งใช้เวลาหลายเดือนหรือหลายปีในการรวบรวมและวิเคราะห์ขา่ วกรอง
ที่เฉพาะเจาะจง เพื่อหาจุดอ่อนและแสวงประโยชน์จากจุดอ่อนทางยุทธวิธีหรือ
จุดอ่อนทางเทคนิค กองทัพบกสนามท�ำงานในด้านขีดความสามารถระดับยุทธ
บริเวณและระดับพลังอ�ำนาจของชาติเป็นหลักเพือ่ พัฒนาความเข้าใจรายละเอียด
เกี่ยวกับการควบคุมและการบังคับบัญชาของฝ่ายตรงข้ามและระบบอาวุธ
ระยะไกล (IADS, SRBM และ MRL ระยะไกล) และระบบอาวุธระยะกลาง
(SAM กลาง) MRL และปืนใหญ่กระสุนวิถรี าบ) เมือ่ กองก�ำลังของข้าศึกท�ำการด�ำเนิน
กลยุทธ์หรือ “ฝึกซ้อม” ใกล้กับเขตแดนของพันธมิตรสหรัฐฯ กองทัพบกสนาม
จะใช้หน่วย ISR ในอัตราและขึ้นสมทบ (เช่น ISR ทางอากาศ, ISR จากบอลลูน
และขีดความสามารถทางการข่าวกรองอิเล็กทรอนิกส์) เพื่อปรับข่าวกรองทาง
เทคนิค เพื่อท�ำความเข้าใจในรูปแบบการปฏิบัติการของฝ่ายตรงข้ามและวิธีการ
ใช้หน่วยและขีดความสามารถเฉพาะ กองทัพสนามพยายามที่จะสร้างโอกาสใน
การรวบรวมข่าวกรองโดยใช้ประโยชน์จากการฝึกและการท�ำให้เกิดความมั่นใจ
ในการปฏิบัติการในพื้นที่ของพันธมิตรที่อยู่ใกล้เคียงกับฝ่ายตรงข้ามเพื่อกระตุ้น
และวิเคราะห์ขีดความสามารถของทาง ISR ของศัตรู
(2) วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางยุทธการและเครือข่ายพลเรือน
(Analyze operational environment and civil network) ทุกระดับชั้น
การบังคับบัญชาของกองก�ำลังที่ส่งไปเป็นส่วนล่วงหน้า จะด�ำเนินการวิเคราะห์
ภู มิ ป ระเทศและท� ำ ความคุ ้ น เคยกั บ ดิ น แดนของฝ่ า ยเราหรื อ ฝ่ า ยพั น ธมิ ต ร

52
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ซึ่ ง ถู ก คุ ก คามโดยฝ่ายตรงข้าม ความพยายามนี้ ท� ำ ให้ เ กิ ดข่ า วสารที่ จ�ำ เป็ น


ที่ท�ำให้ผู้บังคับบัญชาของกองก�ำลังรบร่วมสามารถมองเห็นถึงสภาพแวดล้อม
ที่เป็นสามมิติ, สภาพแวดล้อมของการปฏิบัติการหลายมิติที่ลงในรายละเอียด
ส�ำหรับการปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธแี ละส�ำหรับการวางแผนทางยุทธการ ภูมปิ ระเทศ
ในเมืองที่หนาแน่นต้องใช้การเตรียมการทางด้านการข่าวกรองเพิ่มเติมเพื่อ
ท�ำความเข้าใจรายละเอียดของผู้อยู่อาศัย, สภาพสังคม และรายละเอียดต่าง ๆ 
ของโครงสร้างพื้นฐาน กองทัพบกสนามมุ่งจุดโฟกัสไปที่การเตรียมสนามรบทาง
ด้านการข่าว (IPB) ในเขตเมืองที่เลือกไว้ ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะมีความส�ำคัญในทาง
ยุทธศาสตร์และความส�ำคัญในด้านการยุทธการเมื่อเกิดความขัดแย้ง
(3) ปฏิ บั ติ ก ารลวง(Conduct deception) ในห้ ว งของ
การแข่ ง ขั น กองทั พ บก ในยุ ท ธบริ เวณและกองทั พ บกสนามปฏิ บั ติ ก ารลวง
ซึ่งมีลักษณะที่ไม่อยู่นิ่งเป็นพลวัตตามสถานการณ์การที่เปลี่ยนไปกระท�ำเหล่านี้
เป็ น การหาหนทางที่ จ ะก่ อ ความยุ ่ ง ยากซั บ ซ้ อ นให้ เ กิ ด กั บ ความพยายาม
ของฝ่ายตรงข้ามเพื่อที่จะก�ำหนดขีดความสามารถและขนาดของกองก�ำลัง
ฝ่ายเดียวกันในยุทธบริเวณ ในขณะทีก่ ารฝึกเป็นหน่วย, การฝึก และการแจ้งเตือน
ถู ก ออกแบบมาเพื่ อ เป็ น การแสดงให้ ฝ ่ า ยตรงข้ า มเห็ น ถึ ง ขี ด ความสามารถ
เฉพาะแต่ สิ่ ง เหล่ า นี้ ยั ง เปิ ด โอกาสที่ จ ะท� ำ ให้ ฝ ่ า ยตรงข้ า มเข้ า ใจผิ ด เกี่ ย วกั บ
การเคลือ่ นย้ายก�ำลังและการวางก�ำลังของฝ่ายเรา การใช้ระบบคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
สเปคตรัม และร่องรอยบนไซเบอร์สเปซ, รูปแบบและวิธีการของการใช้ก�ำลัง
การกระท�ำเหล่านี้ท�ำให้ข้าศึกไม่สามารถคาดเดาการปฏิบัติของฝ่ายเราได้และ
ท�ำให้ความพยายามในการลาดตระเวนของฝ่ายตรงข้ามล�ำบากมากขึ้นซึ่งจะ
เพิ่มความเป็นไปได้ที่ข้าศึกจะเลิกล้มความตั้งใจไปเอง กองทัพบกในยุทธบริเวณ
ก็ยังใช้การเข้ารหัสข้อมูล จ�ำกัดการเข้าถึงเครือข่าย และใช้ข้อมูลล่อให้มาติดกับ
เพื่อเอาชนะการลาดตระเวนทางไซเบอร์ของฝ่ายตรงข้าม

53
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(4) ด�ำเนินการตอบโต้การลาดตระเวน (Execute counter-


reconnaissance) กองทัพบกสนามด�ำเนินการและประสานงานการปฏิบตั กิ าร
ต่อต้านการลาดตระเวน โดยส่วนใหญ่ผ่านกองก�ำลังรักษาความปลอดภัยและ
ระหว่างหน่วยงาน กองก�ำลังรักษาความปลอดภัยของพันธมิตรโดยทัว่ ไปมีอำ� นาจ
หน้าทีค่ วามสามารถและความเชีย่ วชาญในพืน้ ทีเ่ พือ่ ตอบโต้การปฏิบตั กิ ารปกปิด
ของศัตรู ดังนั้นบทบาทหลักของกองทัพสนามคือการช่วยเหลือกองก�ำลังรักษา
ความปลอดภัยของพันธมิตรด้วยการปฏิบัติการลาดตระเวนการกระท�ำเหล่านี้
ลดประสิทธิภาพทางยุทธวิธีของความพยายามของคู่แข่งในการแข่งขันและ
ความสามารถในการเปลี่ยนจากการแข่งขันไปสู่ความขัดแย้งทางอาวุธอย่าง
รวดเร็ว
(จ) ให้การสนับสนุนเพือ่ เอาชนะการปฏิบตั กิ ารข่าวของฝ่ายตรงข้าม
และสงครามไม่ตามแบบ (Enable defeat of the adversarys information
and unconventional warfare) กองก�ำลังทหารบกสนับสนุนการปฏิบตั กิ าร
ทัพร่วมระหว่างกองก�ำลังรบร่วมและพันธมิตรเพื่อเอาชนะการปฏิบัติการข่าว
ของฝ่ายตรงข้ามและการปฏิบัติการสงครามไม่ตามแบบโดยการเตรียมขีดความ
สามารถต่าง ๆ และขยายขอบเขตของการเข้าถึง (ทรัพยากรและอ�ำนาจสั่งใช้ใน
ด้านต่าง ๆ ) และด�ำเนินการปฏิบัติการในการสนับสนุน
1) ด� ำ เนิ น การปฏิ บั ติ ก ารสภาพแวดล้ อ มทางด้ า นข้ อ มู ล
ข่าวสาร (Conduct Information Environment Operations: IEO) กองก�ำลัง
รบร่วมชิงความริเริ่มในห้วงการแข่งขันโดยการติดพันเชิงรุกในพื้นที่ข้ามโดเมน
(รวมถึงไซเบอร์สเปซ) และระบบคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัม (EMS) กองทัพบก
ในยุทธบริเวณบรรจบ (converges) การด�ำเนินการของกองทัพบกและสื่อสาร
ออกไปเพื่อสนับสนุน IEO ของผู้บัญชาการกองก�ำลังรบร่วมแม้ว่าทุกระดับ
การบังคับบัญชาจะมีส่วนร่วมในการใช้พื้นที่ของข่าวสารข้อมูล เพื่อสนับสนุน

54
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

นโยบายและเจตนารมณ์ของผูบ้ งั คับบัญชา เพือ่ ให้บรรลุภารกิจนี้ ต้องมีการอนุญาต


ให้หน่วย ในสายการบังคับบัญชาในระดับรองลงไปได้มโี อกาสเข้าถึงความสามารถ
ด้านการข่าวกรอง, ไซเบอร์สเปซ และขีดความสามารถในด้านคลื่นแม่เหล็ก
ไฟฟ้าสเปกตรัม เช่น, อ�ำนาจในการเข้าถึงการใช้งาน และการอนุญาตบางอย่าง
ที่โดยปกติแล้วสงวนไว้ในกรณีที่เกิดความขัดแย้งโดยใช้ก�ำลัง หรือสงวนไว้
ส� ำ หรั บ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาในระดั บ สู ง และนโยบายของผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาที่ ใ ห้ กั บ
ผู้ใต้บังคับบัญชาควรจะเป็นเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชามากกว่าที่จะเป็น
ค�ำสั่งการที่เน้นกระบวนการปฏิบัติที่เข้มงวดการกระท�ำลักษณะนี้จะช่วยให้
กองก� ำลั ง ที่ เ ป็ น ส่ ว นล่ ว งหน้ า ในพื้ น ที่ ส ามารถใช้ ค วามริ เริ่ ม ที่ จ ะด� ำเนิ น การ
ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ และใช้การสื่อสาร เพื่อตอบโต้และเปิดเผย
ความไม่ประสานสอดคล้อง ในการปฏิบัติการสงครามข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม
กองทัพบกมีส่วนช่วยในการสื่อสารทางยุทธศาสตร์ โดยการเสริมความมั่นคง
ในสิ่งที่ได้ตกลงใจ และความมุ่งมั่นของสหรัฐฯ ให้พันธมิตรได้เกิดความมั่นใจ
และแสดงให้เห็นถึงขีดความสามารถของตนในฐานะที่เป็นผู้ยับยั้งความขัดแย้ง
ด้วยก�ำลังที่ได้ผล
2) การด�ำเนินสงครามไม่ตามแบบ (Conducting Irregular
warfare) กองทั พ บกในยุ ท ธบริ เวณและกองทั พ บกสนามเปิ ด โอกาสให้
กองก� ำ ลั ง รบร่ ว ม, หน่ ว ยงานองค์ ก ารที่ ไ ม่ ใช่ ท หารที่ ร ่ ว มในการปฏิ บั ติ ก าร
และประเทศที่ร่วมปฏิบัติการเข้าร่วมในการท�ำสงครามไม่ตามแบบในระดับ
การทัพ (campaign) โดยจัดให้มรี ปู ขบวนการปฏิบตั กิ ารหลายมิติ (multi-domain
formations) พร้อมทั้งท�ำให้ผู้บัญชาการกองก�ำลังรบร่วมมีความเข้าใจใน
ภูมิภาคที่จะต้องปฏิบัติการ เมื่อฝ่ายตรงข้ามเริ่มใช้สงครามตัวแทน, กองทัพ
จะเอาชนะข้าศึกโดยทางอ้อม (indirect) ด้วยการใช้ประเทศที่ร่วมปฏิบัติการ
ด้วยแทนที่จะเข้าปฏิบัติการเอง แต่จะด�ำเนินการสนับสนุน กองก�ำลังปฏิบัติการ

55
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

พิเศษและกรมรักษาความปลอดภัย (Special operations forces and security


force assistancebrigades) สนับสนุนประเทศที่เข้าร่วมปฏิบัติการการท�ำ
สงครามไม่ตามแบบนี้ด้วยการเสริมให้คู่ร่วมปฏิบัติการ (partners) มีขีดความ
สามารถเพิ่มขึ้นด้วยการจัดที่ปรึกษาและขีดความสามารถต่าง ๆ ที่เหมาะสม
(ฉ) แสดงให้เห็นความสามารถในการยับยัง้ ทีไ่ ด้ผล (Demonstrate
credible deterrent) ใช้การปฏิบัติการต่าง ๆ จัดรูปแบบยุทธบริเวณทั้งยุทธ
บริ เวณและจั ด การกั บ การรุ ก รานนอกเขตปฏิ บั ติ ก ารของกองทั พ บกสนาม
กองทัพบกในยุทธบริเวณจะอนุญาตให้กองทัพสนามจัดการทัพ (campaign)
เพือ่ ท�ำลายรูปขบวน และขีดความสามารถในการต้านทาน (stand-off) ของข้าศึก
ที่มีขีดความสามารถทัดเทียมกัน เพื่อให้เกิดการยับยั้งที่ได้ผลนั้น กองทัพสนาม
จะใช้ปรับการจัดใหม่ เพื่อลดความเหนือกว่าทางทหารเนื่องจากปฏิบัติการ
ในพื้นที่ที่คุ้นเคยของข้าศึก, ใช้รูปแบบหลายมิติเพื่อต้านทานการจู่โจมของข้าศึก
และแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการบรรจบกับกองก�ำลังที่เป็นส่วนล่วง
หน้าในพื้นที่, การใช้ขีดความสามารถในระดับพลังอ�ำนาจของชาติเพื่อท�ำลาย
การจูโ่ จมแบบไม่คาดคิดและทีส่ ำ� คัญ กองทัพบกต้องแสดงให้เห็นถึงความสามารถ
สี่ประการในห้วงการแข่งขันเพื่อยับยั้งฝ่ายตรงข้าม ดังนี้
(1) ความสามารถในการปฏิเสธ “การโจมตีแบบทีฝ่ า่ ยตรงข้าม
ถูกกระท�ำเพียงฝ่ายเดียว” อย่างทันท่วงที (Ability to immediately deny
a fait accompli attack) กองทัพบกสนามจะต้องสามารถปฏิเสธการโจมตีของ
ศัตรูได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก (เป็นสัปดาห์) โดยใช้การผสมกันของก�ำลัง
ส่วนล่วงหน้า, กองก�ำลังบุกเบิก (การใช้ก�ำลังทางอากาศที่มีอยู่/และยุทโธปกรณ์
ที่เคลื่อนย้ายไปเตรียมไว้ในพื้นที่ตามที่วางแผนไว้ล่วงหน้า) และกองก�ำลัง
ในระดับชาติ (national-lever forces)

56
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(2) ความสามารถในการเจาะระบบป้องกันการเข้าถึงและ
การปฏิเสธพื้นที่ (Ability to penetrate anti-access and area denial
systems) ระบบอาวุธยิงระยะไกลของกองทัพบกที่เป็นส่วนล่วงหน้า จะต้อง
สามารถท�ำให้กองก�ำลังรบร่วมสามารถเริ่มท�ำการลิดรอนระบบยิงระยะไกลของ
ข้าศึก (IADS, SRBM, ระบบ MRL ระยะไกล และระบบการควบคุมบังคับบัญชา)
ได้ อ ย่ า งทั น ท่ ว งที และมี ค ลั ง กระสุ น ที่ มี ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นยุ ท ธบริ เ วณเพี ย งพอ
ที่จะสนับสนุนการปฏิบัติการเป็นเวลาหลายสัปดาห์
(3) สามารถในการด�ำเนินกลยุทธ์และทั้งทางยุทธศาสตร์และ
ยุทธการ (Ability to conduct strategic and operational maneuver)
กองก�ำลังบุกเบิกของกองทัพบกจะต้องสร้างและแสดงให้เห็นถึงความสามารถ
ในการด�ำเนินกลยุทธ์ทางยุทธศาสตร์และทางยุทธการในพื้นที่ปฏิบัติการแม้ว่า
จะมีการรบกวนเกิดขึ้นในเส้นหลักการส่งก�ำลังก็ตาม
(4) ความสามารถในการสนับสนุน MDO (Ability to support
MDO) กองก�ำลังทหารต้องท�ำการปรับท่าทีของกองก�ำลัง และน�ำรูปขบวนใน
การรบหลายมิติลงสู่สนามรบ เพื่อช่วยกองก�ำลังรบร่วมในการก�ำหนดและ
รักษาจังหวะการปฏิบัติการ ในความขัดแย้งโดยการใช้อาวุธ เพื่อให้งานเหล่านี้
บรรลุผลได้ด้วยดีกองทัพบกในยุทธบริเวณและกองทัพบกสนามจะจัดให้มีกลไก
การควบคุมและสั่งการเหมาะสม เพื่อให้เกิดความมั่นใจในการท�ำงานร่วมกัน
ระหว่างหน่วยงาน และด�ำเนินการด�ำรงสภาพ และปกป้องกองก�ำลังที่เป็นส่วน
ล่วงหน้า
(4.1) สร้างกลไกการควบคุมและสัง่ การ (Establish command and
control mechanisms) ในห้วงของการแข่งขันกองทัพสนามเตรียมที่จะผสม
ผสานผลกระทบ ทั้งผลกระทบที่ร้ายแรงถึงชีวิต และไม่เป็นอันตรายร้ายแรง

57
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ตั้งแต่ในห้วงเริ่มต้นความขัดแย้งด้วยอาวุธ โดยการวางแผนร่วมกับกองก�ำลัง
ที่ส่งไปเป็นส่วนล่วงหน้า, วางแผนร่วมกับส่วนต่าง ๆ ของกองก�ำลังรบร่วม
และประเทศที่ เข้ า ร่ ว มในปฏิ บั ติ ก าร การเตรี ย มการนี้ ร วมถึ ง การพั ฒ นา
สถาปัตยกรรมของระบบการควบคุมบังคับบัญชาการรบหลายมิต,ิ ความสัมพันธ์
ทางการบังคับบัญชาที่อ่อนตัว, และมาตรการการควบคุมทางกายภาพและ
มาตรการเสมือนจริง (virtual control measures) ในการบรรจบกันของ
ขีดความสามารถต่าง ๆ ผลกระทบที่บูรณาการเข้าด้วยกัน และมีความแม่นย�ำ
ด้วยนัน้ มีความส�ำคัญต่อการด�ำเนินงานในภูมปิ ระเทศเขตเมืองทีห่ นาแน่น แต่ยงั
อ�ำนวยความสะดวกในการปฏิบัติการในสภาพแวดล้อมอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากสารเคมี ชีวภาพ รังสีหรือนิวเคลียร์ (CBRN)
(4.2) ท�ำให้มั่นใจว่าจะสามารถท�ำงานร่วมกันได้ (Ensure inter
operability) กองก�ำลังที่เป็นส่วนล่วงหน้า จะต้องสามารถท�ำงานร่วมกันได้
อย่างเต็มที่กับส่วนที่เหลือของกองก�ำลังรบร่วมได้อย่างดีที่สุดเท่าที่จะเป็น
ไปได้, กับเหล่าประเทศพันธมิตรและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หากระดับ
การท� ำ งานร่ ว มกั น ได้ กั บ พั น ธมิ ต รและหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ยั ง อยู ่ ใ นระดั บ ต�่ ำ
กองทั พ บกจะบู ร ณาการการปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ โดยปฏิ บั ติ ต ามหลั ก นิ ย ม
ของกองทัพบกที่ใช้อยู่ หรือใช้วิธีการจัดก�ำลังแบบเร่งด่วน (ad hoc) เช่น
ในส่ ว นของนายทหารติ ด ต่ อ การเพิ่ ม ระดั บ ของการปฏิ บั ติ ง านร่ ว มกั น ได้
หมายถึงความสามารถต่าง ๆ จะเพิม่ ขึน้ และจะมีทางเลือกต่าง ๆ เพิม่ ขึน้ ส�ำหรับ
ผู้บัญชาการกองก�ำลังรบร่วม
(4-3) ด�ำรงสภาพและปกป้องกองก�ำลังทีเ่ ป็นส่วนล่วงหน้า (Sustain
and protectforward presence forces) กองทัพบกในยุทธบริเวณสร้าง
ความมั่นใจว่า ในพื้นที่สนับสนุนทางยุทธการนั้นจะมีหน่วยประเภทต่าง ๆ ,
ขีดความสามารถ และสามารถด�ำเนินการได้นานเพียงพอในการด�ำรงสภาพ

58
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

และหมุ น เวี ย นก� ำ ลั ง ท่ า มกลางการรบกวนจากอาวุ ธ น� ำ วิ ถี ร ะยะไกลของ


ฝ่ายตรงข้าม (ขีปนาวุธและขีปนาวุธจากเรือ การปฏิบัติการพิเศษการปฏิบัติการ
ทางอากาศเชิงรุก และการโจมตีไซเบอร์) กองทัพบกสนามต้องท�ำให้เกิดความ
มั่นใจได้ว่าในพื้นที่สนับสนุนทางยุทธวิธีและพื้นที่การรบระยะใกล้ (close area)
มีรปู ขบวนการปฏิบตั กิ ารหลายมิตทิ จี่ ำ� เป็นในการด�ำรงสภาพและหมุนเวียนก�ำลัง
แม้จะต้องปฏิบัติท่ามกลางการโจมตีจากขีปนาวุธของฝ่ายตรงข้าม, จรวดหลาย
ล�ำกล้องระยะไกลการป้องกันภัยทางอากาศและการโจมตีทางไซเบอร์ก็ตาม
กองทัพบกในยุทธบริเวณสร้างความยืดหยุ่นด้วยการ การป้องกันการเสริม
ความแข็งแรง และการกระจายของศูนย์กลางระบบการควบคุมบังคับบัญชา
ที่ส�ำคัญ และศูนย์รวมการส่งก�ำลัง นอกจากนี้ยังมีการวางแผนและประสาน
งานกับท่าเรือและท่าอากาศยานทั้งหลายที่เป็นที่รับการเคลื่อนย้ายก�ำลังเข้าใน
ยุทธบริเวณ และเส้นหลักการส่งก�ำลัง ตลอดจนพืน้ ทีใ่ นการสนับสนุนทางยุทธการ
และพื้นที่สนับสนุนทางยุทธวิธี
ช. สรุป: MDO ในห้วงของการแข่งขัน (Conclusion: MDO in
competition) กองก�ำลังกองทัพบก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกองก�ำลังรบร่วม
ด�ำเนินการแข่งขันกับคูต่ อ่ สูม้ คี วามสามารถทัดเทียมกันโดยเอาชนะการปฏิบตั กิ าร
ของข้าศึกในจุดทีเ่ หมาะสมให้ได้ในระดับทีต่ ำ�่ กว่าความขัดแย้งทางอาวุธและยับยัง้
การยกระดับความรุนแรง กองก�ำลังกองทัพบกในทุกระดับการบังคับบัญชาให้การ
สนับสนุนนโยบายและวัตถุประสงค์ประเทศสหรัฐฯ โดยการติดพันเชิงรุกในพืน้ ที่
ของข้อมูลข่าวสาร และในทางกลับกัน มีการมอบอ�ำนาจการบังคับบัญชา และการ
อนุญาตให้มีการเข้าถึง, มีค�ำแนะน�ำของผู้บังคับบัญชาระดับสูงที่ใช้เจตนารมณ์
เป็นพืน้ ฐาน และได้รบั การอนุญาตให้เข้าถึงขีดความสามารถในทางการข่าวกรอง,
ไซเบอร์สเปซ และระบบคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัม เนือ้ หาของข้อมูลข่าวสารของ
ฝ่ายเดียวกันได้รับการสนับสนุนจากการแสดงขีดความสามารถในการปฏิเสธ

59
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

การโจมตีแบบที่ฝ่ายเราแก้ไขอะไรไม่ได้ (fait accompli) และปฏิเสธการบรรลุ


วัตถุประสงค์ของข้าศึก ความสามารถในการแสดงให้เห็นขีดความสามารถ
ของฝ่ายเราในห้วงของการแข่งขันเป็นบ่อนท�ำลายการด�ำเนินงานของการปฏิบตั ิ
สงครามข้อมูลข่าวสาร และสร้างความซับซ้อนและความไม่แน่นอนให้เกิดขึ้น
ในกระบวนการแสวงข้อตกลงใจของข้าศึก สิ่งส�ำคัญที่สุดคือการติดพันเชิงรุก
ในห้วงของการแข่งขันจะสร้างการประเมินทางยุทธการที่เกี่ยวข้องกับกองก�ำลัง
ขีดความสามารถของข้าศึกต่าง ๆ และจัดการทัพโดยต้องท�ำให้เกิดความมัน่ ใจว่า
กองก�ำลังรบร่วมจะสามารถเปลี่ยนผ่านการปฏิบัติไปสู่ห้วงของความขัดแย้ง
ด้วยก�ำลังอาวุธได้อย่างรวดเร็วและสามารถตอบโต้ในเชิงรุกต่อการปฏิบัติอย่าง
ก้าวร้าวของข้าศึกได้ด้วย
ในส่วนย่อย ๆ สามส่วน ทีแ่ สดงรายละเอียดในการเจาะทะลวงการต่อต้าน
ของข้าศึก, การสลายระบบปฏิเสธการเข้าถึงพื้นที่ และการแสวงประโยชน์
ซึ่งจะท�ำให้เกิดเสรี ในการปฏิบัติ และเสรีในการด�ำเนินกลยุทธ์ ในการปฏิบัติ
ในแต่ละส่วนของสามส่วนดังกล่าวข้างต้นก็ยังมีการซ้อนทับกันทั้งทางด้าน
พื้ น ที่ และเวลาในระดั บ ที่ แ ตกต่ า งกั น ออกไป ถึ ง แม้ ว ่ า ....ก็ ต าม เนื่ อ งจาก
ฝ่ายตรงข้ามซึ่งมีความสามารถใกล้เคียงกับฝ่ายเราก็มีความสามารถในการ
ปรั บ ตั ว จั ด องค์ ก รใหม่ เขี ย นแนวทางการปฏิ บั ติ ข องระบบและรู ป แบบ,
กองก� ำ ลั ง ฝ่ า ยเราขึ้ น มาใหม่ กองก� ำ ลั ง ฝ่ า ยเราด� ำ เนิ น การเจาะ และสลาย
ความพร้อมเพรียงของข้าศึกเพื่อที่จะมีพื้นที่ในการด�ำเนินกลยุทธ์เพื่อหาโอกาส
ในการแสวงประโยชน์จากความเหนือกว่าของฝ่ายเรา
3-6 MDO ในความขัดแย้งด้วยกองก�ำลังติดอาวุธ : เจาะทะลวงยุทธศาสตร์
และการต่อต้านทางยุทธการ
(ก) ปัญหาหลายมิต#ิ 2 : กองก�ำลังรบร่วมเจาะระบบต่อต้านการเข้าถึง
และการปฏิเสธพืน้ ทีข่ องศัตรูตลอดความลึกของกรอบการด�ำเนินงานทางยุทธการ
เพื่อเปิดทางให้การด�ำเนินกลยุทธ์ทั้งทางยุทธศาสตร์และยุทธวิธีอย่างไร
60
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ภาพ 3-5 การเจาะและสลายระบบต่อต้านการเข้าถึงและปฏิเสธการใช้พื้นที่


แสวงประโยชน์จาก TRADOC Pamhlet 525-3-1

เสรีในการด�ำเนินกลยุทธ์
(ข) กองก� ำ ลั ง รบร่ ว มใช้ ก ารติ ด พั น ฝ่ า ยตรงข้ า มเชิ ง รุ ก ในห้ ว งของ
การแข่งขัน เพื่อให้สามารถด�ำเนินการเจาะการต้านทาน (stand-off) ทาง
ยุ ท ธศาสตร์ แ ละยุ ท ธการของข้ า ศึ ก โดยการด� ำ เนิ น การอย่ า งทั น ที ทั น ใด
ในสิ่ ง ต่ อ ไปนี้ คื อ ท� ำ ให้ ร ะบบการยิ ง ระยะไกลของข้ า ศึ ก ไม่ ส ามารถใช้ ไ ด้ ,
การตอบโต้ ก ารด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ข องข้ า ศึ ก ในทุ ก มิ ติ ไม่ ว ่ า จะเป็ น ระบบคลื่ น
แม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัม (EMS) และสภาพแวดล้อมทางสารสนเทศ, ด�ำเนิน
กลยุทธ์ทงั้ ในระดับยุทธศาสตร์และในระดับยุทธการ การท�ำให้ระบบยิงระยะไกล

61
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ของข้าศึกเสียหายใช้การไม่ได้ เปิดโอกาสให้ฝ่ายเราสามารถด�ำเนินกลยุทธ์
ได้ทั้งทางยุทธศาสตร์และทางยุทธการด้วยการลดการรบกวนเส้นหลักการ
ส่งก�ำลังของฝ่ายเราในเวลาเดียวกัน, กองก�ำลังที่เป็นส่วนล่วงหน้าเริ่มด�ำเนินการ
เอาชนะการต้านทาน “จากภายใน” โดยการปฏิบัติการภายในห้วงระบบ
การยิ ง ระยะไกลและการยิ ง ระยะกลางของข้ า ศึ ก เมื่ อ รวมความพยายาม
เหล่ า นี้ เข้ า ด้ ว ยกั น จะท� ำ ให้ ก ารต่ อ สู ้ กั บ การโจมตี ข องศั ต รู มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
มากขึ้น ท�ำให้เกิดเสรีในการด�ำเนินกลยุทธ์ในส่วนต่าง ๆ ของกองก�ำลังรบร่วม
ที่ครอบคลุมระยะทางยุทธศาสตร์และยุทธการไปจนถึงพื้นที่ในการปฏิบัติการ
(area of operation) และยังท�ำให้ระบบการยิงระยะไกลและระยะกลาง
ของข้าศึกในพื้นที่แตกหัก (decisive spaces) ใช้การไม่ได้อีกด้วย
(ค) การท�ำให้ระบบการยิงระยะไกลของศัตรูใช้งานไม่ได้ (Neutralize
enemy-long-range systems) ระบบการยิงสนับสนุนของกองทัพบก และ
ระบบป้องกันภัยทางอากาศของกองก�ำลังทีเ่ ป็นส่วนล่วงหน้า ได้รบั ประโยชน์จาก
การเตรียมการแต่เนิ่นในห้วงของการแข่งขัน ท�ำให้สามารถด�ำเนินการในการ
ท�ำให้ระบบการยิงระยะไกลที่ช่วยในการปฏิเสธพื้นที่และการเข้าถึงของข้าศึกใช้
การไม่ได้อย่างทันทีทันใด ซึ่งจะท�ำให้การส่งผ่านไปสู่ห้วงการขัดแย้งด้วยการใช้
ก�ำลังเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว
(1) กองทั พ สนามและกองทั พ น้ อ ยใช้ อ งค์ ป ระกอบของระบบ
การยิ ง ระยะไกลร่ ว มกั บ การบู ร ณาการและผสมผสานขี ด ความสามารถ
ของกองก�ำลังรบร่วมเพื่อท�ำให้ระบบการยิงระยะไกลของข้าศึกใช้การไม่ได้
รูปแบบของการยิงสนับสนุนในระดับการบังคับบัญชานี้ สามารถสนับสนุน
การยิ ง ข้ า มมิ ติ ที่ ต อบสนองต่ อ ผู ้ บั ญ ชาการกองก� ำ ลั ง ร่ ว มครอบคลุ ม พื้ น ที่
การรบระยะใกล้, พื้นที่ดำ� เนินกลยุทธ์ทางลึก และพื้นที่การยิงสนับสนุนทางลึก
ในระดับยุทธการ เมื่อรวมกับขีดความสามารถหลายมิติอื่น ๆ แล้ว การยิงเหล่านี้

62
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

จะเริ่มท�ำให้ระบบการป้องกันทางอากาศแบบผสมผสานของข้าศึก และระบบ
การยิ ง ระยะไกลของศั ต รู เ ป็ น ไม่ ส ามารถปฏิ บั ติ ก ารได้ ภ ารกิ จ ที่ ไ ด้ รั บ มอบ
เหล่ า นี้ ส� ำ เร็ จ ลงได้ โ ดยการได้ รั บ ข้ อ มู ล การก� ำ หนดเป้ า หมายส� ำ หรั บ ระบบ
ระยะไกลของศั ต รู ที่ มี ล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ สู ง จากการปฏิ บั ติ ก ารลาดตระเวน
ในอวกาศ การลาดตระเวนในระดับความสูงมากการลาดตระเวนทางอากาศ
ในระดับต�่ำที่สามารถสังเกตการณ์ได้ด้วยสายตา และโจมตีเป้าหมายที่มีค่าสูง
(high-payoff target) ภายในเวลาอันสั้น (นับเป็นนาที) (ย่อหน้า 3-7.ง และ
3-7.จ มีค�ำอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการระบุที่ตั้งและโจมตีระบบ
การยิงระยะไกลของข้าศึก)
(2) การยิ ง ระยะไกลจากภาคพื้ น ดิ น เพิ่ ม ทางเลื อ กการโจมตี
ซ�ำ้ ซ้อนต่อเป้าหมายเดิมอย่างเพียงพอ (redundant strike) เป็นทางเลือกเพิม่ เติม
ให้กับกองก�ำลังรบร่วม โดยเป็นการเพิ่มปัญหาส�ำหรับศัตรูที่ต้องเผชิญปัญหา
หลายด้านในเวลาเดียวกันการยิงสนับสนุนภาคพืน้ ดินระยะไกลมีขดี ความสามารถ
ในการโจมตีทตี่ อบสนองได้อย่างรวดเร็ว (จัดล�ำดับโดยส่วนข่าวกรองภายในเวลา
เป็นนาที) ด้วยขีดความสามารถในการโจมตีอย่างท่วมท้นให้เกินความสามารถของ
การป้องกันเป็นจุด และโจมตีเป้าหมายต่าง ๆ ทัว่ พืน้ ทีท่ ใี่ หญ่กว่า การยิงระยะไกล
ภาคพื้นท�ำให้ระบบการป้องกันของศัตรูเกิดความซับซ้อนด้วยการบังคับให้ศัตรู
ต้องตอบโต้การโจมตีจำ� นวนมาก และหลากหลายรูปแบบในเวลาเดียวกันซึง่ ท�ำให้
การตอบโต้ของข้าศึกลดประสิทธิภาพลง การมีส่วนร่วมของกองทัพบกในระบบ
การยิงระยะไกลที่มีความคล่องแคล่วสูงและกระจายเป็นวงกว้างยังท�ำให้การยิง
ตอบโต้, การลาดตระเวน และการก�ำหนดเป้าหมายของข้าศึกเกิดความยุง่ ยากขึน้
เมื่อรวมการยิงระยะไกลของกองทัพบกเข้ากับขีดความสามารถหลายมิติอื่น ๆ 
แล้วกองก�ำลังรบร่วมจะสามารถเพิม่ ความเร็วและจ�ำนวนหน่วยทีเ่ ข้าร่วมในความ
พยายามที่จะท�ำให้ระบบการยิงระยะไกลของข้าศึกไม่สามารถปฏิบัติการได้

63
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(ง) ต่อสู้กับกองก�ำลังด�ำเนินกลยุทธ์ของข้าศึก (Contest enemy


maneuver forces.) กองก�ำลังในส่วนที่วางก�ำลังไว้ล่วงหน้าตอบโต้กองก�ำลัง
ของฝ่ายศัตรูในทันทีที่ถูกโจมตีโดยกองก�ำลังด�ำเนินกลยุทธ์ ขึ้นอยู่กับท่าที
ของกองก�ำลังและปริมาณของหน่วยข่าวกรอง และการเตือนล่วงหน้า กองก�ำลัง
ที่อยู่ข้างหน้าในพื้นที่การรบระยะใกล้อาจมีขนาดหน่วยและความแข็งแกร่ง
ที่แตกต่างกัน ซึ่งจะขึ้นอยู่กับท่าทีของกองก�ำลังที่ต้องการ และปริมาณของข่าว
กรองและการแจ้งเตือนที่ได้รับ โดยอาจมีขนาดตั้งแต่กรมเพียงกองพลเดียวไป
ถึงกองพลทุกกองพลที่เคลื่อนย้ายเข้าในพื้นที่, กองพลที่หมุนเวียน, และกองพล
ที่เป็นกองก�ำลังบุกเบิก ซึ่งเคลื่อนย้ายทางอากาศก่อนที่จะเกิดความขัดแย้งด้วย
การใช้กำ� ลังเมือ่ ถูกโจมตีกองก�ำลังทีเ่ ป็นส่วนล่วงหน้า ทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีก่ ารรบระยะใกล้
(ดิ น แดนของพั น ธมิ ต รที่ ศั ต รู ก� ำลั ง พยายามเข้ า ยึ ด ครอง) ร่ ว มกั บ กองก� ำลั ง
พันธมิตรในการสร้างความเสียหายให้กับศัตรูเพื่อชะลอการบรรลุเป้าหมายของ
การทัพและรวบรวมสิ่งที่ได้จากการเข้าตีกองก�ำลังที่เป็นส่วนล่วงหน้าของ
กองทัพบกและพันธมิตรของกองทัพใช้ ISR หลายระดับชั้น (layered ISR) ทั้ง
จากกองก�ำลังรบร่วมและหน่วยในอัตรา เพื่อพัฒนาความเข้าใจ การโจมตีและ
ขีดความสามารถของศัตรูนอกจากนี้ยังสร้างการปฏิบัติโดยต่อยอดจากการ
ต่อต้านการลาดตระเวนทีด่ ำ� เนินการในห้วงการแข่งขัน เพือ่ ลดคุณภาพการด�ำเนิน
การข่าวกรองของข้าศึกในพื้นที่การรบระยะใกล้ ผู้บัญชาการกองก�ำลังรบร่วมใช้
การยิงสนับสนุนร่วมและขีดความสามารถในระดับพลังอ�ำนาจของชาติ เพื่อช่วย
เหลือกองก�ำลังที่เป็นส่วน ล่วงหน้าในการปฏิเสธเป้าหมายของข้าศึกในพื้นที่
การรบระยะใกล้และกองทัพบกสนามปฏิบัติแผนเผชิญเหตุของ IEO เพื่อครอง
ความริเริ่มในสภาพแวดล้อมทางด้านข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว
(1) มองเห็นภาพพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารโดยการใช้ ISR แบบหลายระดับ
(See with layered ISR) กองก�ำลังสหรัฐฯ และพันธมิตรในพืน้ ทีก่ ารรบระยะใกล้

64
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ใช้เครือข่าย ISR หลายระดับ เพือ่ ระบุการเคลือ่ นไหวในการเคลือ่ นย้ายต�ำแหน่งของ


กองก�ำลังของศัตรูเครือข่าย ISR แบบหลายระดับนีใ้ ห้ความซ�ำ้ ซ้อนอย่างเพียงพอ
ที่จะรับมือกับความสามารถของศัตรูในการต่อต้าน ISR ที่เป็นของฝ่ายเรา และ
อ�ำนวยความสะดวกในการรวบรวมและแจกจ่ายข่าวสาร
(ก) แผนการรวบรวมข่ า วสารแบบหลายระดั บ ชั้ น (Layered
collection plan) กองพลและกรมที่ เ ป็ น กองก� ำ ลั ง ส่ ว นหน้ า ใช้ ก าร
ลาดตระเวนทางพื้นดินในอัตราและ UAS เพื่อพัฒนาสถานการณ์ทางยุทธวิธี
ให้เป็นปัจจุบนั กองทัพสนามส่วนใหญ่อาศัยการเฝ้าลาดตระเวนระดับสูงในอัตรา
(organic) และความสามารถ ISR ร่วมทีเ่ คลือ่ นย้ายจากขอบหน้าของพืน้ ทีส่ นับสนุน
ทางยุทธวิธี (forward edge of the tactical support area), เสริมด้วยเครือ่ งบิน
ตรวจการณ์ระดับต�่ำทั้งแบบที่ไร้นักบิน และมีนักบิน,ปฏิบัติการลาดตระเวน
เฝ้าตรวจจากอวกาศ และข่าวกรองทางไซเบอร์สเปซ กองทัพสนามยังใช้ประโยชน์
จากเครือข่ายหน่วยข่าวกรองที่มีอยู่, เครือข่ายการเฝ้าตรวจ, และเครือข่าย
การลาดตระเวนที่ ไ ด้ พั ฒ นาไว้ ร ่ ว มกั บ ประเทศที่ เข้ า ร่ ว มในการปฏิ บั ติ ก าร
ในระหว่างห้วงการแข่งขัน ได้แก่ระบบที่มีทั้งเซ็นเซอร์ระยะไกลและเซ็นเซอร์
อัตโนมัติทับซ้อนกัน (ท�ำให้มั่นใจได้ถึงการครอบคลุมตลอดพื้นที่), การหาข่าว
โดยบุคคล และกองก�ำลังปฏิบัติการพิเศษของฝ่ายเรา
(ข) การด� ำ เนิ น กรรมวิ ธี แ ละการแจกจ่ า ย (Processing and
dissemination) กองทัพสนามใช้วิธีการสื่อสารทั้งที่เป็นมาตรฐานและไม่เป็น
มาตรฐานเพือ่ ด�ำเนินกรรมวิธขี า่ วสารอย่างรวดเร็วและแจกจ่ายข้อมูลข่าวกรองไป
ยังกองก�ำลังด�ำเนินกลยุทธ์ในพืน้ ทีก่ ารรบระยะใกล้ และเพือ่ การด�ำรงสภาพ และ
ระวังป้องกันกองก�ำลังในพื้นที่สนับสนุนทางยุทธวิธี กองทัพบกสนามวิเคราะห์
ข่าวกรองที่ส�ำคัญและเผยแพร่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการรบ (ที่ต้องส่งให้ตรงกับ
เวลาที่ก�ำหนด) ไปยังกองพลและกองทัพน้อยโดยใช้รูปแบบข้อมูลที่ยืดหยุ่น

65
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

และมีปริมาณไม่มาก เพือ่ ลดการส่งสัญญาณรบกวนและการโจมตีตอ่ ต้านการข่าว


จากข้ า ศึ ก กองทั พ สนามยั ง จั ด ท� ำ การเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งตั ว ตรวจจั บ ข้ อ มู ล
กับผู้ปฏิบัติโดยตรง เพื่อให้การยิงข้ามมิติมีความเป็นไปได้ในการสนับสนุนการ
ปฏิบัติการของหน่วยรอง
(2) ลดประสิ ท ธิ ภ าพการข่ า วกรองของศั ต รู ใ นพื้ น ที่ ก ารรบ
ระยะใกล้(Degrade enemy intelligence effectiveness in Close Area.)
กองก�ำลังที่ส่งไปล่วงหน้าและคู่ร่วมในการปฏิบัติการก�ำหนดเป้าหมายไปที่
ขีดความสามารถทางการข่าวกรองของศัตรูเพื่อท�ำให้แผนการรวบรวมข่าวสาร
ของศัตรูยุ่งเหยิงและกดดันให้ข้าศึกต้องจัดสรรเครื่องมือในการหาข่าวบ่อย ๆ
ในทุกระดับกองพลและกรมด�ำเนินการลดประสิทธิภาพของ ISR ของศัตรู
ด้วยการผสมผสานสิ่งต่าง ๆ ต่อไปนี้คือ การป้องกันภัยทางอากาศกับการ ISR
เป็นพื้นที่ ทั้งทางอากาศยานที่มีคนควบคุมและไม่มีคนควบคุม, การซ่อนพราง
และตัวล่อ (decoy) แผนการลวงทางยุทธวิธีท�ำให้การรวบรวมข่าวกรอง
ของศัตรูยุ่งเหยิง และอาจบังคับให้ศัตรูต้องปรับเปลี่ยนการโจมตีภาคพื้น
เสียใหม่ กองทัพบกในยุทธบริเวณประสานงานกับกองพลและกรมส�ำหรับ
มาตรการ ISR เพื่อต่อต้านการปฏิบัติการทางอวกาศ ในเชิงรุกในการสนับสนุน
กองก�ำลังด�ำเนินกลยุทธ์ในเวลาและพื้นที่วิกฤต การถูกลดประสิทธิภาพ และ
การแจกจ่ า ย/ปรั บ เปลี่ ย นขี ด ความสามารถ ISR ของศั ต รู บ ่ อ ย ๆ ในพื้ น ที่
การรบระยะใกล้ท�ำให้ศัตรูหันเหความสนใจของเป้าหมาย ISR ของข้าศึกไปจาก
กองก�ำลังฝ่ายเราในพื้นที่สนับสนุน การกระท�ำเช่นนั้นของข้าศึก เปิดโอกาสให้
ฝ่ายเราสามารถด�ำเนินกลยุทธ์ได้ทั้งทางยุทธศาสตร์และทางยุทธการ
(3) ปฏิเสธไม่ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของข้าศึก (Deny enemy
objectives) กองก�ำลังด�ำเนินกลยุทธ์ทวี่ างก�ำลังไว้ในแนวหน้า และกองก�ำลังรบ
ตามแบบของประเทศคู่ร่วมปฏิบัติการใช้ข้อได้เปรียบของการตั้งรับ โดยเฉพาะ

66
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

อย่างยิ่งในภูมิประเทศเขตเมืองที่หนาแน่น, เพื่อลิดรอนและหน่วงเวลาต่อกอง
ก�ำลังข้าศึก เพื่อรอเวลาให้กองก�ำลังบุกเบิกของฝ่ายเราที่ก�ำลังจะเข้ามาสมทบ
กองก�ำลังกองทัพบกใช้ประโยชน์จากการเตรียมการระหว่างห้วงการแข่งขัน
เพื่ อ เสริ ม ความแข็ ง แกร่ ง ของพื้ น ที่ เขตเมื อ งที่ เ ป็ น ฝ่ า ยเดี ย วกั น เพื่ อ ชะลอ
การรุ ก คื บ ของข้ า ศึ ก และท� ำ ให้ ก ารด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ข องข้ า ศึ ก เป็ น ไปด้ ว ย
ความยากล�ำบาก กองพล และกรมใช้การด�ำเนินกลยุทธ์ข้ามมิติด้วยยุทโธปกรณ์
ในอั ต รา (ด้ ว ยการยิ ง และการป้ อ งกั น ภั ย ทางอากาศเป็ น หลั ก เช่ น เดี ย วกั บ
การสงครามอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละการบิ น ถ้ า มี ก องพลอยู ่ ร ่ ว มด้ ว ย) ร่ ว มกั บ
ขีดสามารถของกองก�ำลังรบร่วมและกองทัพบก ในการปฏิบัติการหลายมิติ
จากพื้นที่สนับสนุน (ดูหัวข้อถัดไป) ถึงแม้ว่าการติดต่อสื่อสารที่มีอยู่จะถูกลด
ประสิทธิภาพลงก็ตาม กองทัพบกสนามให้ความช่วยเหลือกองพลและกรม
โดยการปรับแต่ง (shape) การต่อสู้ในพื้นที่การรบระยะใกล้โดยบรรลุกิจที่เป็น
ตัวช่วยสามประการ ดังนี้
(ก) รวม/บรรจบการยิงสนับสนุนร่วมจากพื้นที่สนับสนุนและความ
สามารถระดับพลังอ�ำนาจของชาติเข้าด้วยกัน (Converge joint fires from
Support Areas and national-level capabilities) กองทัพสนาม (หรือ
กองทัพน้อย) สนับสนุนกองพลและกรมในพื้นที่การรบระยะใกล้ด้วยการต่อสู้
กับกองก�ำลังด�ำเนินกลยุทธ์ของข้าศึกโดยใช้การยิงระยะไกลและการประสาน
ขีดความสามารถหลายมิติร่วมกองทัพสนาม (หรือกองทัพน้อย) ระบุเป้าหมาย
ที่มีล�ำดับความส�ำคัญสูง (IADS, SRBM, MRL ระยะไกลและระบบการควบคุม
และบังคับบัญชา) ในพื้นที่การรบระยะใกล้และร่วมกับการโจมตีเป้าหมายหรือ
ส่ ง ข้ อ มู ล ไปยั ง กองพลหรื อ กรมเพื่ อ ด� ำ เนิ น การก� ำ หนดเป้ า หมายโจมตี เ อง
ค� ำ สั่ ง ยิ ง สนั บ สนุนในระดับยุท ธบริเวณ และระดั บยุ ท ธการในการใช้ ก ารยิ ง
ระยะไกลเป็ น วิ ธี ก ารหลั ก ในการโจมตี เ ป้ า หมายที่ มี ล� ำ ดั บ ความเร่ ง ด่ ว นสู ง

67
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(high priority target) ในขั้นเริ่มต้นภายในขอบเขตพื้นที่การรบระยะใกล้จาก


พื้นที่สนับสนุน การโจมตีเป้าหมายที่มีล�ำดับความเร่งด่วนสูงเหล่านี้ ต้องการ
ความยืดหยุ่นในการควบคุมและสั่งการหลายมิติในแต่ละระดับการบังคับบัญชา
ซึ่งจัดเตรียมโดยจัดการสื่อสารที่ซ�้ำซ้อนด้วยเครื่องมือสื่อสารที่หลากหลาย,
ความสัมพันธ์ทางการบังคับบัญชาทีย่ ดื หยุน่ , มาตรการปฏิบตั หิ ลายมิตทิ อี่ อกแบบ
มาเพื่อให้สามารถปฏิบัติการได้ทั้ง ๆ ที่การติดต่อการสื่อสารถูกโจมตีเสียหาย
กองทัพสนาม (หรือกองทัพน้อย) จะต้องชั่งน�้ำหนักให้เกิดความสมดุลระหว่าง
การด�ำรงความต้องการทีจ่ ะท�ำให้การยิงสนับสนุนระยะไกลของข้าศึกใช้การไม่ได้
กับการจัดให้มกี ารยิงสนับสนุนแบบช่วยโดยตรง (direct support) ให้กบั กองพล
และกรมในการป้องกัน และด�ำเนินกลยุทธ์ในพื้นที่การรบระยะใกล้
(ข) ใช้การลวงในพื้นที่การรบระยะใกล้ (Employ deception in
the Close Area) กองทัพสนามใช้แผนการลวงทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ในห้วงของการแข่งขัน
เพื่อท�ำให้ข้าศึกไม่สามารถที่จะคาดเดาการปฏิบัติทางยุทธวิธีของฝ่ายเราได้
และป้องกันไม่ให้ข้าศึกรวมอ�ำนาจการยิงและการปฏิบัติต่าง ๆ ที่จะท�ำให้เกิด
ทั้งผลกระทบร้ายแรงถึงชีวิตและไม่เป็นอันตรายถึงชีวิตในพื้นที่การรบระยะใกล้
แผนการลวงจะท�ำให้ศัตรูต้องเผชิญกับการผสมผสานของทั้งขีดความสามารถ
ที่ แ ท้ จ ริ ง , เกิ น กว่ า ความเป็ น จริ ง และความสามารถแบบปลอม ๆ (false
capabilities) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกไซเบอร์และทางคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปคตรัม กองพลและกรม เป็นผู้ด�ำเนินการลวงภายในพื้นที่การรบระยะใกล้
ด้วยการท�ำให้มีทางเลือกการตั้งรับหลาย ๆ ทางที่แม้แต่ในกรณีที่ฝ่ายข้าศึก
สามารถเจาะแผนของสหรัฐฯ และคูร่ ว่ มปฏิบตั กิ ารได้กต็ าม ข้าศึกก็จะต้องมีความ
กังวลในการกระจายเครื่องมือในการลาดตระเวนของตนเพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่
ที่ฝ่ายเราอาจจะวางหน่วย, การส่งก�ำลังและศูนย์รวมการควบคุมบังคับบัญชา
ต่าง ๆ ในการปฏิบัติการหลายมิติได้ทั่วถึง

68
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(ค) การแข่งขันในสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร (Contest the


information environment) กองก� ำ ลั ง รบร่ ว ม, โดยกองทั พ สนาม
ด�ำเนินการแข่งขันให้เกิดความเหนือกว่าในสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร
ในทันทีโดยการกระท�ำดังต่อไปนี้คือ ด�ำเนินการตามแผนฉุกเฉินของปฏิบัติการ
สภาพแวดล้อมข่าวสารด้วยการสื่อข่าวสารที่มีความน่าเชื่อถือ, มีความดึงดูด/
เรี ย กร้ อ งความสนใจ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งเจตจ� ำ นงทางการเมื อ งของฝ่ า ยเรา
และปฏิเสธเป้าหมายการท�ำสงครามด้านข้อมูลข่าวสารของศัตรู แผนเหล่านี้
รวมถึงเนื้อหาที่เตรียมไว้และวิธีการจัดส่งตามโดยยึดถือตามสภาพของห้วงเวลา
ตามเหตุ ก ารณ์ ข องสงครามที่ ไ ด้ ค าดการณ์ ไว้ เช่ น การหยุ ด ชะงั ก ของสื่ อ
พลเรือนและเครือข่ายพลังงาน ผู้บัญชาการในพื้นที่การรบระยะใกล้จะแสวง
ประโยชน์ จ ากสภาพเหตุ ก ารณ์ ดั ง กล่ า วโดยการริ เริ่ ม การใช้ ภ าพประกอบ
การส่ ง เนื้ อ หาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความส� ำ เร็ จ ของฝ่ า ยเรา โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง
ความคืบหน้าในการต่อต้านข้าศึก และการมาถึงพื้นที่การรบอย่างรวดเร็ว
ของกองก� ำ ลั ง บุ ก เบิ ก , และแจกจ่ า ยสื่ อ เหล่ า นี้ ใ ห้ กั บ กองทั พ บกในสนาม
เพือ่ ปรับแต่งความรับรูข้ องสาธารณะให้เกิดประโยชน์กบั ฝ่ายเรา และเสริมก�ำลัง
กับการปฏิบัติการทัพ (campaign) ของผู้บัญชาการกองก�ำลังรบร่วมในสภาพ
แวดล้อมของข้อมูลข่าวสาร
(ง) การด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ต ลอดระยะทางยุ ท ธศาสตร์ แ ละระยะ
ทางยุทธการ (Maneuver across strategic and operational distances)
การด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ต ลอดระยะทางยุ ท ธศาสตร์ แ ละยุ ท ธการจะก่ อ ให้ เ กิ ด
อ�ำนาจก�ำลังรบของฝ่ายเรา และสร้างเงื่อนไขที่ท�ำให้เกิดการสลายการต่อต้าน
การเข้าถึงและปฏิเสธพื้นที่ของข้าศึก ผลที่เกิดขึ้นคือการมีเสรีในการด�ำเนิน
กลยุทธ์ซึ่งก�ำลังฝ่ายเราจะน�ำไปใช้แสวงประโยชน์ได้ต่อไป กองก�ำลังกองทัพบก
ใช้ ก ารเคลื่ อ นย้ า ยทางยุ ท ธศาสตร์ ร ่ ว ม และการเคลื่ อ นย้ า ยยุ ท โธปกรณ์

69
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

เข้าในยุทธบริเวณล่วงหน้าโดยใช้ทางเข้าสู่ยุทธบริเวณหลาย ๆ ทาง ภายในเวลา
เป็นวันหรือเป็นสัปดาห์ตามที่ก�ำหนดไว้หลังจากการโจมตีของศัตรู การเข้าพื้นที่
ด้วยการปฏิบัติการร่วมสามารถใช้เพื่อเปิดเส้นของการปฏิบัติการ (lines of
operations) เพิ่มเติม หรือทางเข้าในขั้นต้น (initial entry points) เพื่อรองรับ
การปฏิบัติต่าง ๆ ที่กล่าว กองก�ำลังที่เป็นส่วนล่วงหน้าและขีดความสามารถ
ในระดับพลังอ�ำนาจแห่งชาติจะท�ำให้การเฝ้าระวังและการลาดตระเวนระยะ
ไกลของข้าศึกลดประสิทธิภาพลง เพื่อลดความสามารถของข้าศึกในการโจมตี
เส้นหลักการส่งก�ำลังส�ำหรับในพื้นที่ปฏิบัติการ, กองทัพบกในยุทธบริเวณ และ
กองทัพบกสนามลดผลกระทบจากการโจมตีของศัตรูได้ตลอดพื้นที่สนับสนุน
การด�ำเนินแผนการลวงเพือ่ เพิม่ ความซับซ้อนในการรวบรวม ISR ของศัตรู, ท�ำการ
ป้องกันและเสริมความมัน่ คงของคลังสิง่ อุปกรณ์ทถี่ กู จัดเข้าพืน้ ทีล่ ว่ งหน้า (army
prepositioned stocks :APS) ของกองทัพบก, และด�ำเนินการเคลือ่ นย้ายก�ำลัง
และด�ำรงสภาพในรูปแบบกระจายออกไปในหลายเส้นทาง
(1) ลดประสิทธิภาพ ISR ระยะไกลของศัตรู (Degrade enemy
long-range ISR) กองทัพบกในยุทธบริเวณและกองทัพสนามมีหน้าที่รับผิด
ชอบในการลดประสิทธิภาพ ISR ระยะไกลของศัตรูทกี่ ำ� หนดเป้าหมายไปยังพืน้ ที่
ปฏิบตั กิ ารและพืน้ ทีส่ นับสนุนทางยุทธวิธขี องฝ่ายเรา นอกจากนัน้ ต้องเอาชนะหรือ
ลดประสิทธิภาพสิง่ ต่อไปนีค้ อื การลาดตระเวนระยะไกลของข้าศึกทัว่ ทุกมิต,ิ ระบบ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัม (EMS) และสภาพแวดล้อมทางการข่าวสารด้วย
(ก) ต่อต้านกองก�ำลังรบพิเศษของข้าศึกและการหาข่าว
โดยบุคคล (HUMINT) Counter enemy SOF and human intelligence
(HUMINT) ฝ่ายตอบโต้การข่าวกรองของประเทศเจ้าบ้าน, ทหารและกองก�ำลัง
รักษาความมั่นคงภายในของประเทศเจ้าบ้านให้วิธีการเบื้องต้นในการโต้ตอบ
เครือข่าย SOF และ HUMINT ของศัตรูในพืน้ ทีส่ นับสนุน หน่วยต่อต้านข่าวกรอง

70
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ของยุทธบริเวณ และของกองทัพบกในสนามร่วมมือกับประเทศเจ้าภาพ เพือ่ สร้าง


การประเมินข่าวกรองภัยคุกคามและให้ข้อมูลและการใช้งาน
(ข) ต่ อ ต้ า นการ ISR จากอวกาศของข้ า ศึ ก (counter
enemy ISR) การโต้ ต อบที่ ฉั บ พลั น โดยกองทั พ บกในยุ ท ธบริ เวณเป็ น
ตัวกีดกันการลาดตระเวนระยะไกลของศัตรู และเพิ่มความอยู่รอดของก�ำลัง
ฝ่ายเรา ในพื้นที่สนับสนุนทางยุทธการอย่างมีนัยส�ำคัญ ในช่วงการเปลี่ยนผ่าน
จากการแข่งขันไปสู่ความขัดแย้งทางอาวุธกองทัพบกในยุทธบริเวณได้จัดให้
มีการปฏิบัติการทางอวกาศเชิงรุกและการควบคุมในการตอบโต้การปฏิบัติ
การทางอวกาศของข้าศึก ส�ำหรับกองก�ำลังภาคพื้นดินทั้งหมดในยุทธบริเวณ
โดยขีดความสามารถ ในอัตราของหน่วย หรือโดยการประสานเพื่อร้องขอขีด
ความสามารถของกองก�ำลังรบร่วมถึงแม้วา่ กองทัพบกในยุทธบริเวณจะเป็นหน่วย
ที่เป็นศูนย์กลางในประสานงานในสายการบังคับบัญชา หน่วยระดับหน่วยรอง
ลงไปจนถึงระดับกรมมีหน้าทีร่ ะบุสถานทีท่ แี่ น่นอนในเวลาและสถานทีท่ ตี่ อ้ งการ
การใช้ขีดความสามารถทางอวกาศ (space capabilities) ที่จ�ำเป็นเพื่อปกป้อง
ยุทโธปกรณ์หรือการเคลื่อนไหวที่วิกฤต (to protect critical assets or
movements.) การตอบโต้ในเชิงรุกต่อการลาดตระเวนจากอวกาศของศัตรู
มีความส�ำคัญอย่างยิ่งในพื้นที่สนับสนุนทางยุทธการ เนื่องจากมีสิ่งที่จะเป็น
เป้ า หมายในอนาคตจ� ำ นวนมากแผ่ ก ระจายไปทั่ ว พื้ น ที่ ท างภู มิ ศ าสตร์ ที่
กว้ างเกิ นความสามารถในการลาดตระเวนทางยุท ธศาสตร์แ ละการหาข่าว
โดยบุคคลของข้าศึก การตอบโต้ขีดความสามารถ ISR ด้านอวกาศของศัตรูอย่าง
มีประสิทธิภาพท�ำให้ศัตรูอาจต้องท�ำทั้งยอมรับความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นด้วยการใช้
กองก�ำลังลาดตระเวนทางยุทธศาสตร์ หรืออาจเปลี่ยนไปใช้การเฝ้าระวังอวกาศ
เชิงพาณิชย์แทน การกระท�ำทั้งสองอย่างนี้สร้างความล่อแหลมให้เกิดกับข้าศึก
ที่ฝ่ายเราสามารถแสวงประโยชน์ได้

71
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(ค) ตอบโต้ ISR ทางไซเบอร์ของศัตรู (Counter enemy


cyber ISR) กองทัพบกในยุทธบริเวณ และกองทัพบกสนามอ�ำนวยการทีมงาน
ไซเบอร์ ส เปซเชิ ง รั บ เพื่ อ ปกป้ อ งระบบที่ ส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ การด� ำ รงสภาพและ
เคลือ่ นย้ายก�ำลังในพืน้ ทีส่ นับสนุนการปฏิบตั แิ บบนีต้ อ้ งการความรู้ ในรายละเอียด
เกี่ย วกั บ เครื อ ข่ า ยของยุท ธบริเวณ, โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การปฏิ บั ติท างด้ า น
การเคลื่อนย้ายและการด�ำรงสภาพที่มีการเชื่อมโยงไปยังระบบเชิงพาณิชย์
(commercial) ของผู้ร่วมปฏิบัติการ, พลเรือน, หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล,
ทหารและคู ่ ร ่ ว มปฏิ บั ติ ก ารเฉพาะกิ จ (coalition) กองก� ำ ลั ง กองทั พ บก
ตอบโต้การลาดตระเวนทางไซเบอร์และการโจมตีในโลกไซเบอร์ของศัตรูด้วย
การลวงและกับดัก, สร้างความสับสนและการน�ำเสนอระบบของฝ่ายเดียวกัน
ที่เป็นเท็จเพื่อส�ำรวจความเคลื่อนไหวของทีมไซเบอร์ของข้าศึก
(2) ลดผลกระทบจากการโจมตีของศัตรูในพืน้ ทีส่ นับสนุน (Mitigate
effects of enemy attacks in the Support Areas) กองทัพบกในยุทธบริเวณ
และกองทัพบกสนามลดผลกระทบจากการโจมตีของข้าศึกในพื้นที่สนับสนุน
เพือ่ ให้สามารถด�ำเนินการ ในการรับกองก�ำลังบุกเบิกทีป่ ฏิบตั กิ ารทางการด�ำเนิน
กลยุทธ์ทางยุทธศาสตร์และยุทธวิธเี ข้าพืน้ ที่ กองก�ำลังหลายมิตใิ นพืน้ ทีส่ นับสนุน
ใช้การลวง เพื่อท�ำให้ศัตรูเพิ่มใช้ทรัพยากรในทางที่ผิดด้วยการล่อด้วยเป้าหมาย
หลอก (decoy) หรือเป้าหมายที่เคลื่อนที่ ท�ำให้พลาดโอกาสที่จะรวมก�ำลัง
หรื อ ใช้ ขี ด ความสามารถที่ มี มู ล ค่ า สู ง ในเป้ า หมายที่ ส� ำ คั ญ น้ อ ยกว่ า APS
ได้ รั บ การคุ ้ ม ครองและเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง เพื่ อ ให้ ส ามารถบู ร ณาการ
กองก�ำลังบุกเบิกและการสร้างอ�ำนาจก�ำลังรบได้อย่างรวดเร็ว กองก�ำลังกองทัพบก
ในพื้นที่สนับสนุนสร้างความยืดหยุ่นและความซ�้ำซ้อนโดยกระจายขีดความ
สามารถในการเคลื่ อ นย้ า ยก� ำ ลั ง และขี ด ความสามารถในการด� ำ รงสภาพ
ที่ส�ำคัญในลักษณะเป็นกลุ่มผสมผสานและรับการป้องกันจากเรดาร์ป้องกัน

72
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ภัยทางอากาศและมิสไซล์และระบบอาวุธปล่อยที่หลงเหลืออยู่พื้นที่, การลาด
ตระเวนเป็นพื้นที่, และขีดความสามารถในการป้องกันพิเศษด้านอื่น ๆ ที่ยัง
ไม่ได้เคลื่อนย้ายออกไปจากพื้นที่
(ก) ใช้การลวงในพื้นที่สนับสนุนทางยุทธการและยุทธวิธี (Employ
deception in Operational and Tactical Support Areas) กองทัพบก ในยุทธ
บริเวณและกองทัพบกสนามท�ำการลวงเพื่อท�ำให้ ISR ในพื้นที่ของศัตรูเกิด
ความยุ่งเหยิงวุ่นวาย คล้ายกับการลวงในพื้นที่การรบระยะใกล้, แผนการลวง
ส�ำหรับพื้นที่สนับสนุนใช้เครื่องมือที่หลากหลายในการกระจายการลาดตระเวน
และเฝ้าตรวจของข้าศึก และจัดขีดความสามารถต่าง ๆ ผสมผสานกันระหว่าง
ขีดความสามารถที่เป็นจริง, ขีดความสามารถที่เป็นเท็จ และขีดความสามารถ
ที่เกินกว่าความเป็นจริง เพื่อเพิ่มความยากในการที่ข้าศึกจะสามารถคาดการณ์
การปฏิบัติของฝ่าย แผนการลวงกองก�ำลังฝ่ายเราจะต้องสอดคล้องกันในทุกมิติ,
ทุกระบบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัม และสภาพแวดล้อมทางข้อมูลข่าวสาร
เพื่อตอบโต้การลาดตระเวนในทุกมิติของข้าศึกอย่างมีประสิทธิภาพ
(ข) การปกป้องและเสริมสร้างความแข็งแกร่งของคลังสิ่งอุปกรณ์
สะสมที่ เ คลื่ อ นย้ า ยไปก่ อ นล่ ว งหน้ า (Protect and harden Army
prepositioned stocks (APS) ไซต์ APS เป็นองค์ประกอบส�ำคัญของ
ท่าทีของกองก�ำลังที่แก้ไขแล้ว (calibrated force posture) ไซต์ APS ที่มี
ความแข็งแกร่งให้ความคุ้มครองโดยเฉพาะการโจมตีด้วยขีปนาวุธ การป้องกัน
หลักส�ำหรับไซต์ APS คือความสามารถในการออกเครื่องมือหรืออุปกรณ์ไป
ยังกองก�ำลังบุกเบิกได้อย่างรวดเร็วซึ่งต้องมีการบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ที่จัดเก็บ
ในระดับความพร้อมสูงฝึกซ้อมขั้นตอนการท�ำงานภาคสนามอย่างรวดเร็วด้วย
กองก�ำลังเดินทางที่ก�ำหนด สามารถใช้ก�ำลังได้ทันทีในการปฏิบัติการต่อสู้
ภาคพื้นดินขนาดใหญ่

73
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(ค) กระจายการเคลื่อนย้ายก�ำลัง และการด�ำรงสภาพ (Disperse


deployment and sustainment) กองทัพบกในยุทธบริเวณ ด�ำเนินการ
เคลื่ อ นย้ า ยก� ำ ลั ง และการด� ำ รงสภาพออกไปตามเส้ น ทางหลายเส้ น ทาง
กระจายกันออกไปกองก�ำลังกองทัพบกเคลื่อนย้ายก�ำลังจากที่ตั้งหน่วยถาวร
และจากภูมิภาคอื่น ที่มีก�ำลังประจ�ำอยู่ โดยใช้การเคลื่อนย้ายทางยุทธศาสตร์
ร่วมและเข้าสู่ยุทธบริเวณโดยกระจายกันอยู่หลายจุด, ด�ำเนินการต่อไปตาม
เส้นทางที่หลากหลาย และเข้ายึดครองพื้นที่รวมพลทางยุทธวิธีภายในเขตพื้นที่
ของระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธพื้นที่ของศัตรูหน่วยบินใช้การแยก
พื้นที่ตั้งฐานปฏิบัติการระหว่างพื้นที่สนับสนุนทางยุทธวิธีและพื้นที่สนับสนุน
ทางยุทธการ, หรือถ้าในกรณีของหน่วยระดับกองพล, จะเป็นพื้นที่ระหว่างพื้นที่
สนับสนุนทางยุทธวิธีและพื้นที่การรบระยะใกล้การหมุนเวียนอากาศยานและ
หน่วยต่าง ๆ จะกระท�ำผ่านเครือข่ายหน่วยที่มีที่ตั้งกระจายกันออกไปตามพื้นที่
และจ�ำกัดขนาดของหน่วยให้กะทัดรัดที่สุดโดยมีสิ่งอุปกรณ์เท่าที่จ�ำเป็นในการ
ปฏิบัติการ อยู่ในพื้นที่สนับสนุนทางยุทธวิธีและพื้นที่การรบระยะใกล้ ส�ำหรับ
การด�ำรงสภาพ จะใช้วิธีดึงทรัพยากรมาจากหลายแหล่งที่ได้จากการจัดหา
ในท้องถิน่ และสิง่ อุปกรณ์ทเี่ คลือ่ นย้ายเข้าในพืน้ ทีล่ ว่ งหน้า การแจกจ่ายจะกระท�ำ
ผ่านจุดรวมสิ่งอุปกรณ์ซึ่งด�ำเนินการโดยหน่วยที่เป็นส่วนล่วงหน้า ส�ำหรับ
การด�ำรงสภาพในระดับที่เกินกว่าการบ�ำรุงรักษาในระดับหน่วย (Intensive
sustainment-level maintenance) ของหน่วยบิน, ระบบภาคพืน้ และอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการรบ, รวมถึงการประเมินความเสียหายและซ่อมแซม
ยุทโธปกรณ์จากการรบจะด�ำเนินการภายในพืน้ ทีส่ นับสนุนทางยุทธการทีม่ สี ภาพ
แวดล้อมของภัยคุกคามต�่ำกว่าพื้นที่อื่นโครงสร้างพื้นฐานในการด�ำรงสภาพ การ
แสดงก�ำลังของกองทัพบกที่มีจ�ำนวนมากเกินพอ (redundant) ในพื้นที่ส่วน
หน้า, แผนและการเตรียมการสนับสนุนทางการส่งก�ำลังที่มีความแม่นย�ำ, ท�ำให้

74
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

เกิดความมั่นใจว่าจะสามารถคงสมรรถนะของการบุกเบิกเพิ่มเติมโดยท�ำให้เกิด
ความสมดุลในระหว่างส่วนที่เป็นก�ำลังหลักและส่วนที่เป็นก�ำลังส�ำรอง (proper
balance across Active and Reserve Components)
(ฉ) สรุป: การเจาะ (Penetrate) กองก�ำลังรบร่วมเจาะทะลวง
การต้านทาน (stand-off) ทางยุทธศาสตร์และยุทธการโดยการท�ำให้ระบบ
การยิงระยะไกลของข้าศึกหมดความสามารถในการต่อสู้กับกองก�ำลังด�ำเนิน
กลยุ ท ธ์ ข องข้ า ศึ ก ในทุ ก มิ ติ , เช่ น ระบบคลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า สเปคตรั ม
(EMS) และสภาพแวดล้อมทางด้านการข่าว และด�ำเนินกลยุทธ์ทางยุทธศาสตร์
และยุทธการ จุดส�ำคัญในการเจาะคือการท�ำให้ระบบอาวุธยิงระยะไกลของข้าศึก
ในพืน้ ทีแ่ ตกหัก (decisive spaces) ใช้การไม่ได้ดว้ ยการใช้อาวุธยิงระยะไกลของ
ของกองทัพบก ท�ำให้เกิดสภาพที่เกื้อกูลในการต่อสู้กับกองก�ำลังข้าศึกในพื้นที่
การรบระยะใกล้ และส�ำหรับกองก�ำลังบุกเบิกในการปฏิบัติการด�ำเนินกลยุทธ์
ทางยุทธศาสตร์เข้าสูย่ ทุ ธบริเวณ การเจาะในขัน้ ต้นนีเ้ ป็นการปฏิเสธวัตถุประสงค์
ของศัตรู, สร้างเพิ่มอ�ำนาจก�ำลังรบให้กับฝ่ายเรา และเปิดโอกาสให้กองทัพน้อย
เริ่มด�ำเนินการสลายระบบอาวุธยิงระยะไกลของข้าศึก (IADS ระดับสูง, SRBMs,
MRL ระยะไกล) และระบบอาวุธยิงระยะกลาง (IADS ระดับกลาง MRL มาตรฐาน,
ปืนใหญ่อัตตาจร) ในพื้นที่แตกหัก

3-7 MDO ในความขัดแย้งโดยการใช้อาวุธ : สลายการบูรณาการระบบ


การต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธพื้นที่ของศัตรู (MDO in armed
conflict: Dis-integrate the enemy’s anti-access and area
denial systems)
(ก) ปัญหาหลายมิติ# 3: กองก�ำลังรบร่วมจะด�ำเนินการสลายระบบ
ต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธของข้าศึกในพื้นที่ทางลึก (Deep Areas)
เพื่อด�ำเนินกลยุทธ์ในทางยุทธการและทางยุทธวิธีอย่างไร?
75
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(ข) การสลายระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธการเข้าพื้นที่
ของข้าศึกมีความจ�ำเป็นที่จะต้องท�ำสิ่งต่อไปนี้คือ จะต้องเอาชนะระบบการยิง
ระยะไกลของข้าศึก, การท�ำให้ระบบการยิงระยะกลางของข้าศึกใช้การไม่ได้
และการปฏิบตั กิ ารทางยุทธการ เพือ่ เริม่ ด�ำเนินการสลายระบบการยิงระดับกลาง
ของข้าศึก การกระท�ำเหล่านี้ไม่ได้เป็นการท�ำให้เกิดขั้นตอนที่ไม่ต่อเนื่องขึ้นมา
แต่เป็นการทับซ้อนกันกับการด�ำเนินการเจาะ (อธิบายไว้ในส่วนก่อนหน้านี้ใน
หัวข้อ 3-6) และการแสวงประโยชน์ (มีอธิบายรายละเอียดไว้ในหัวข้อที่ 3-8)
สิ่งจ�ำเป็นต่อความพยายามในการสลาย (disintegration) ระบบของข้าศึกก็คือ
การด� ำ เนิ น การทางการข่ า วกรองอย่ า งประณี ต โดยใช้ ช ่ อ งทางหลายมิ ติ
เพื่อให้กองก�ำลังรบร่วมสามารถมองเห็น เตรียมตัวและด�ำเนินการโจมตีระบบ
การปฏิเสธการเข้าถึงและการปฏิเสธพื้นที่ของข้าศึกที่ยังเหลืออยู่ การข่าวกรอง
ดังกล่าวช่วยให้กองทัพบกสนามสามารถเอาชนะในระบบการยิงระยะไกลของ
ข้าศึก, เริ่มด�ำเนินการเจาะโดยอาศัยจากความส�ำเร็จในการท�ำให้ระบบต่าง ๆ
ของข้าศึกใช้การไม่ได้เป็นจุดเริ่มต้น การปฏิบัติดังกล่าวยังเอื้ออ�ำนวยท�ำให้
กองทัพน้อยสามารถเริ่มด�ำเนินการในการที่จะท�ำให้ระบบอาวุธระยะกลาง
ของข้ า ศึ ก อยู ่ ใ นสภาพที่ ใช้ ก ารไม่ ไ ด้ (MRL และปื น ใหญ่ ช ่ ว ยโดยตรง)
เพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการปฏิบัติการด�ำเนินกลยุทธ์ของกองก�ำลังภาคพื้น
ของฝ่ า ยเรา การปฏิ บั ติ ก ารทางยุ ท ธการในการสลาย (disintegration)
ระบบของข้ า ศึ ก จะเสร็ จ สมบู ร ณ์ ไ ด้ ก็ ต ่ อ เมื่ อ สามารถค้ น หาและท� ำ ลาย
ระบบยิ ง ระยะกลางของข้ า ศึ ก ที่ ยั ง เหลื อ อยู ่ แ บ่ ง แยก และท� ำ ลายรู ป ขบวน
ในการด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ข องข้ า ศึ ก , สร้ า งอั ต ราส่ ว นก� ำ ลั ง ที่ เ อื้ อ อ� ำ นวยให้ กั บ
การด�ำเนินกลยุทธ์ของกองก�ำลังฝ่ายเรา ผลของการสลายก�ำลังข้าศึกจะท�ำให้
กองก� ำ ลั ง ฝ่ า ยเราสามารถด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ เข้ า ไปอยู ่ ใ นต� ำ แหน่ ง ที่ ส ามารถ
ด� ำ เนิ น การแสวงประโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ณ จุ ด แตกหั ก เพื่ อ เอาชนะ
กองก�ำลังข้าศึก

76
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ค. ปรับแต่งการข่าวกรองของระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธ
พื้นที่ของศัตรู (Refine intelligence of enemy anti-access and area
denial systems) กองก�ำลังกองทัพบกเป็นผู้ก�ำหนดแนวทางในการรวบรวม
ข่าวสารและการวิเคราะห์ในพื้นที่การรบระยะใกล้และพื้นที่ทางลึก กองทัพบก
สนามและกองทัพน้อยยังคงใช้เครือข่ายการต้านทาน ISR แบบหลายระดับ
(layered ISR) ซึง่ ประกอบด้วยเซ็นเซอร์ไร้คนควบคุม, กองก�ำลังปฏิบตั กิ ารพิเศษ,
การปฏิบัติการหาข่าวโดยใช้ก�ำลังคน (Human Intelligence), การลาดตระเวน
และการเฝ้าตรวจสนามรบด้วยอุปกรณ์ที่มีเพดานบินในระดับสูง, การรวบรวม
ข่าวกรองของฝ่ายเรานั้น ในช่วงแรก จะมุ่งเน้นไปที่การก�ำหนดที่อยู่ของระบบ
ยิงระยะไกลของแต่ละกองทัพผสมเหล่าที่มีอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งขัดขวาง
ก�ำลังด�ำเนินกลยุทธ์ทางอากาศและทางภาคพื้นของฝ่ายเราไม่ให้เข้าใกล้ข้าศึก
(IADS ระดับกลาง SRBM และจรวดหลายล�ำกล้องระยะยิงไกล) เมือ่ การปฏิบตั กิ าร
ในการสลายกองก�ำลังฝ่ายข้าศึกด�ำเนินไปจุดสนใจจะเปลี่ยนไปเป็นการระบุ
องค์ ป ระกอบที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด และองค์ ป ระกอบที่ ล ่ อ แหลมในระบบการยิ ง
ระยะกลางของข้าศึก ข้าศึกป้องกันระบบที่ส�ำคัญด้วยการพรางการปกปิด
และการลวง ดั ง นั้ น กองทั พ สนามและกองทั พ น้ อ ยจะต้ อ งด� ำ เนิ น การรวม
อุ ป กรณ์ ใ นการตรวจจับหลายประเภทเข้าด้วยกั น เพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง การข่ า ว
ที่เกี่ยวกับสิ่งที่อาจเป็นเป้าหมายได้ กุญแจส�ำคัญในการบรรจบขีดความสามารถ
ในทุกมิติ, ระบบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัมและสภาพแวดล้อมทางข่าวสาร
คือ ขีดความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณสูงและการเชื่อมโยงอุปกรณ์
ตรวจจับกับผู้ปฏิบัติโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ซึ่งท�ำให้ข้าศึกท�ำการลวง
และการปกปิดก�ำบังด้วยการ cross-cuing และการจดจ�ำเป้าหมายได้ล�ำบาก
กว่าปกติ การหาข่าวกรองอย่างประณีตในการสลายก�ำลังของข้าศึก ขึ้นอยู่กับ
ระบบต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ต่อกัน 5 ระบบ ดังต่อไปนี้

77
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(1) การเฝ้าตรวจที่ครอบคลุมเป็นบริเวณกว้าง (Wide area


surveillance) กองทัพสนามและกองทัพน้อย มีความจ�ำเป็นที่ต้องด�ำเนินการ
การตรวจตราตลอดความลึกสนามรบที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการ
ด้ า นการข่ า วกรองทางยุ ท ธการและทางยุ ท ธวิ ธี ศั ต รู จ ะใช้ ค วามพยายาม
เพื่ อ ที่ จ ะลดขี ด ความสามารถนี้ โ ดยทั้ ง ทางวิ ธี ก ารที่ เ ป็ น ลั ก ษณะเชิ ง รุ ก
(การส่งสัญญาณรบกวน, dazzlers) และวิธีการในลักษณะเชิงรับ (การลวง
ล่อ และการพราง) ดังนั้น การเฝ้าตรวจบริเวณกว้างที่กระท�ำอย่างต่อเนื่อง
จึงต้องกระท�ำการตรวจในลักษณะซ�้ำแล้วซ�้ำอีกในบริเวณเดิมเพื่อให้แน่ใจ
ว่ า มี ป ริ ม าณที่ เ กิ น พอ (redundancy) ด้ ว ยการน� ำ เอาขี ด ความสามารถ
การเฝ้าตรวจจากทางอวกาศ และการเฝ้าตรวจในระดับความสูงที่สูงมากมา
ร่วมปฏิบัติการด้วย เพื่อท�ำให้การตอบโต้การต่อต้านของข้าศึกกระท�ำด้วย
ความยากล�ำบาก กองทัพสนามและกองทัพน้อยเป็นหน่วยในการเฝ้าระวังบริเวณ
กว้างเนื่องจากมีความสามารถในการวิเคราะห์และมีจ�ำนวนหน่วยที่มากพอ,
มีโครงสร้างพืน้ ฐานด้านการสือ่ สารและข้อมูลและหน่วยงานทีส่ ามารถด�ำเนินการ
ในการประมวลผลใช้ประโยชน์และเผยแพร่ข้อมูลที่มีปริมาณสูง
(2) การลาดตระเวนแบบเจาะ (Penetrating reconnaissance)
เครือ่ งบินรบรุน่ ใหม่ (fifth-generation fighters) และการลาดตระเวนทางอากาศ
ร่วมแบบอื่น ๆ สามารถด�ำเนินการรวบรวมเป้าหมายต่าง ๆ ซึ่งมีการจัดล�ำดับ
ด้วยความต่อเนื่อง, การเฝ้าตรวจในพื้นที่กว้าง ซึ่งต้องอาศัยการสื่อสารระหว่าง
อากาศยานเหล่านี้และสถานีภาคพื้นที่ยืดหยุ่น (สามารถกลับมาปฏิบัติงาน
ได้รวดเร็วหลังจากที่ต้องเผชิญกับการรบกวนในรูปแบบต่าง ๆ) เพื่อเข้าถึงข้อมูล
ที่จ�ำเป็นส�ำหรับกองทัพสนามและกองทัพน้อย

78
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(3) การเฝ้าระวังและการลาดตระเวนเพือ่ การต้านทาน (Stand-off


surveillance and reconnaissance) การเฝ้าระวังทางอากาศร่วมและ
การลาดตระเวนเพื่ อ การต้ า นทานของกองทั พ บกและภาคผนวกช่ ว ยเสริ ม
ความพยายามในการเก็ บ รวบรวมข่ า วสารโดยมุ ่ ง เน้ น ไปที่ ร ่ อ งรอยทาง
อิเล็กทรอนิกส์ที่ระบุระบบต่าง ๆ ของข้าศึกที่มีล�ำดับความเร่งด่วนสูงโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งข่าวกรองอิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับ IADS และด�ำเนินการประมวลผล
และเผยแพร่อย่างรวดเร็ว (ภายในเวลานับเป็นนาที)
(4) การเฝ้ า ระวั ง และการลาดตระเวนที่ ส ามารถจ� ำ หน่ า ยได้
(Expendable surveillance and reconnaissance) การเฝ้าระวังและ
ลาดตระเวนร่วมที่ใช้ร่วมกัน ทั้งกองก�ำลังรบร่วมและกองทัพบกที่สามารถ
จ�ำหน่ายได้โดยไม่สิ้นเปลืองงบประมาณมากนัก (UAS ราคาประหยัด, เซ็นเซอร์
ตรวจจับการยิงปืนใหญ่และอากาศยานแบบไร้คนควบคุม) ซึ่งล�ำดับการตรวจ
จับเป้าหมายอย่างประณีตโดยวิธีทางการข่าวกรองวิธีอื่น ๆ (cued by other
forms of intelligence) และสามารถด�ำเนินการหลอกล่อให้ข้าศึกใช้ระบบ
ป้องกันภัยทางอากาศเพื่อให้เกิดการรวบรวมข้อมูลระบบของข้าศึก โดยใช้
เซ็นเซอร์ตัวอื่น ๆ แยกต่างหาก
(5) เครือข่ายข่าวกรองบุคคล (Human networks) กองก�ำลัง
ปฏิบัติการพิเศษและเครือข่ายข่าวกรองบุคคลของหน่วยให้ความรู้เกี่ยวกับ
เป้าหมายต่าง ๆ ที่มีล�ำดับความเร่งด่วนสูง (high-priority targets) และเผยแพร่
ข่าวกรองนี้ผ่านระบบการสื่อสารที่ไม่เป็นมาตรฐานไปยังทีมประสานงานของ
กองก�ำลังปฏิบัติการพิเศษของกองทัพบกและกองทัพน้อย
ง. เอาชนะระบบการยิ ง ระยะไกลของศั ต รู (Defeat enemy
long-range fires systems) รูปแบบของการยิงระยะไกลของกองทัพบก
ในการควบคุมการยิงของกองทัพบกในสนามในยุทธบริเวณ, ซึ่งเพิ่มเติมก�ำลังยิง

79
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

โดยระบบควบคุมการยิงทางยุทธการของกองทัพน้อยเมื่อร้องขอ, จะมาบรรจบ
กั บ ขี ด ความสามารถทางการรบร่ ว มในรู ป แบบอื่ น  ๆ เพื่ อ ท� ำ ลายหรื อ ข่ ม
(destroy or suppress) ระบบการยิงระยะไกลของข้าศึก (SRBM, IADS ระดับกลาง,
ระบบขีปนาวุธต่อต้านเรือและจรวดหลายล�ำกล้องระยะไกล) กองทัพสนาม
เมื่ อ ได้ รั บ มอบหมายให้ รั บ ผิ ด ชอบในการควบคุ ม บั ง คั บ บั ญ ชาการปฏิ บั ติ
การหลายมิ ติ เพื่ อ ต่ อ ต้ า นระบบการยิ ง ระยะไกลของข้ า ศึ ก จะบรรจบทั้ ง
ขีดความสามารถของกองก�ำลังรบร่วมและขีดความสามารถของกองทัพบก
เข้ า สู ่ multiple see-strike or stimulate-see-strike combination
เพื่อต่อต้านระบบของข้าศึกที่โจมตีเป้าหมายกองก�ำลังฝ่ายเราทั้งทางอากาศ
และทางภาคพื้น ยิ่งมีการผสมผสานขีดความสามารถของ see-strike ของ
กองก�ำลังรบร่วมมากเท่าไหร่ ข้าศึกจะยิ่งรู้ตัวว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะตอบโต้หรือ
ลดการโจมตี (รวมกับระบบข้าศึก การรวมตัวเลือกการโจมตีที่เห็นร่วมกันมาก
ขึ้นมีโอกาสมากที่ศัตรูจะสรุปได้ว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะตอบโต้หรือลดจ�ำนวนศัตรู
ทั้งหมดและชะลออัตราการยิงเพื่อรักษาระบบวิกฤต สิ่งนี้ท�ำให้การกระตุ้น
และการดูระบบของศัตรูยากขึ้น แต่บรรลุผลที่ใหญ่กว่าในการสร้างอิสรภาพ
ในการด�ำเนินกลยุทธ์ส�ำหรับกองก�ำลังรบร่วม ด้วยการท�ำให้ข้าศึกเปลี่ยนไปใช้
ท่าทางที่แฝงและระแวดระวังกองก�ำลังฝ่ายมิตรจะได้รับความคิดริเริ่มในการ
ปฏิบัติการและเริ่มการผนวกรวมระบบป้องกันการเข้าถึงและการปฏิเสธพื้นที่
ของข้าศึก
(1) กระตุน้ ระบบการยิงระยะไกล (Stimulate long-range fires
systems) การกระตุน้ ระบบระยะไกลของศัตรู (เช่น เรดาร์ IADS) ท�ำให้เรดาร์และ
เซ็นเซอร์ของฝ่ายเราสามารถตรวจจับได้และท�ำลายได้ภายใต้สภาพทีเ่ อือ้ อ�ำนวย
กั บ กองก� ำ ลั ง ฝ่ า ยเราและผู ้ ร ่ ว ม กองก� ำ ลั ง ทบ.ท� ำ การกระตุ ้ น ระบบอาวุ ธ
ของฝ่ายข้าศึกด้วยการลวงหรือการปฏิบัติการเชิงรุก การลวงเพื่อให้ข้าศึก

80
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ใช้ อ าวุ ธ นั้ น จะใช้ วิ ธี ล วงด้ ว ยการเลี ย นแบบร่ อ งรอยทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข อง


เครื่องบินฝ่ายเรา, ยานพาหนะหรือศูนย์ควบคุม ส�ำหรับการลวง โดยการปฏิบัติ
เชิงรุกนั้น จะเป็นการใช้การโจมตีทางไซเบอร์สเปซ ร่วมกับการด�ำเนินกลยุทธ์
ทางอากาศ ทางผิวน�้ำ หรือกองก�ำลังภาคพื้น ถึงแม้ว่าขีดความสามารถต่าง ๆ
ที่ใช้ในการลวงล่อให้ข้าศึกให้ใช้อาวุธยิงระยะไกลจะเป็นขีดความสามารถของ
กองก�ำลังรบร่วมก็ตาม กองทัพน้อยมีความจ�ำเป็นที่จะต้องมีความสามารถ
และอ�ำนาจในการสั่งใช้ (authority) ขีดความสามารถดังกล่าวในตัวเองด้วย
ในขณะที่มีการควบคุมบังคับบัญชาการปฏิบัติการในการต่อสู้กับระบบอาวุธยิง
ระยะไกลของข้าศึก
(2) มองเห็น (เฝ้าดู) ระบบการยิงระยะไกล (See long-range
fires systems)วิธีการหลักในการระบุฝ่ายระบบการยิงระยะไกลของข้าศึกคือ
ระบบทีม่ ลี กั ษณะดังนีค้ อื ครอบคลุมเป็นพืน้ ทีก่ ว้าง, เป็นระบบทีเ่ ป็นการเฝ้าตรวจ
อย่ า งต่ อ เนื่ อ งด้ ว ยการปฏิ บั ติ ก ารในอวกาศหรื อ ในความสู ง ที่ สู ง มากและ
สามารถส่ ง ข้ อ มู ล ไปสู ่ ก องทั พ สนาม หรื อ ส่ ว นที่ ท� ำ การวิ เ คราะห์ ข ่ า วกรอง
ด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI) หรือส่วนอื่น ๆ ที่มีเทคโนโลยีที่มีขีดความสามารถ
ในการวิ เ คราะห์ ข ่ า วสารปริ ม าณมากของกองพลน้ อ ยได้ อ ย่ า งฉั บ ไว การ
รวมขีดความสามารถต่าง ๆ เข้าด้วยกันแบบนี้ช่วยให้สามารถระบุเป้าหมาย
ที่มีล�ำดับความเร่งด่วนสูงในสนามรบที่ไม่เป็นระเบียบ (cluttered battlefield)
หรือสนามรบที่มิได้จัดพื้นที่ในลักษณะการรบตามแบบ ซึ่งเต็มไปด้วยร่องรอย
ทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (signature) อย่ า งมากมายมหาศาลรวมทั้ ง ร่ อ งรอย
การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของพลเรือนของทั้งฝ่ายเราและฝ่ายข้าศึก ซึ่ง
เป็นความจงใจของข้าศึกที่จะปกปิด ลวง และซ่อนพรางให้เกิดความสับสนต่อ
การปฏิบัติการของฝ่ายเรา วิธีอื่นที่จะท�ำให้สามารถแยกแยะสัญญาณเหล่านี้
ออกก็คือ การใช้อากาศยานรบเจเนอเรชั่นที่ 5 ซึ่งมีขีดความสามารถ ในเรื่องนี้,

81
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ขีดความสามารถทางไซเบอร์สเปซ, หน่วยปฏิบัติการพิเศษ และทีมรวบรวม


ข่าวสารเป็นบุคคล (HUMINT), หรือหน่วยทหารปืนใหญ่ หรืออากาศยาน
ที่มีความสามารถในการส่งจรวดที่ติด UAS sensors โดยส่งไปยังพื้นที่ที่ระบุ
โดยแหล่งข่าวกรองอื่น ๆ ที่อาจมีความเที่ยงตรงไม่สูงนัก แต่สามารถเชื่อถือได้
การที่สามารถจะมองเห็นระบบการยิงระยะไกลของศัตรูร่วมกับการล่อหรือ
กระตุ้นให้ข้าศึกใช้อาวุธนี้ มีความจ�ำเป็นที่จะต้องมีเซ็นเซอร์ตรวจจับที่ออกแบบ
มาเฉพาะ เพื่อให้เหมาะสมกับเป้าหมายและปฏิกิริยาที่คาดว่าข้าศึกจะตอบโต้
(tailored to the target and its expected reaction) ตัวอย่างเช่นเรดาร์
ต่อต้านปืนใหญ่ หรือบอลลูนที่ใช้ในการข่าวกรองเฝ้าตรวจ และลาดตระเวน
(ISR) ที่มีเซ็นเซอร์ที่ใช้ในการตรวจจับการยิงของระบบจรวดหลายล�ำกล้อง
ของข้าศึก ที่โจมตีต่อศูนย์บัญชาการของฝ่ายเราที่ก�ำหนดไว้เป็นตัวล่อ (decoy)
ไม่ว่าจะเป็นเซ็นเซอร์ชนิดไหนการผสานการล่อให้ใช้อาวุธ และการตรวจจับ
ในลักษณะนี้ มีความต้องการความสามารถวิเคราะห์และแจกจ่ายที่มีความฉับไว
(ภายในเวลานับเป็นนาที) เนื่องจากโอกาสที่จะแสวงประโยชน์จากการตอบโต้
ของข้าศึกนั้นมีเวลาแค่ช่วงสั้น ๆ เท่านั้น
(3) โจมตีระบบยิงระยะไกล (Strike long-range fires systems.)
กองก�ำลังรบร่วมสร้างการท�ำงานร่วมข้ามมิติ เพื่อเอาชนะก�ำลังที่วางไว้เป็นจุด
ป้องกันระบบการยิงระยะไกลของศัตรู ขีดความสามารถหลักของกองทัพบก
ในการโจมตีระบบระยะยิงไกลของข้าศึกคือระบบการยิงระยะไกลแบบประณีต
(Long-Range Precision Fire: LRPF) ซึง่ เป็นระบบทีม่ ตี น้ ทุนต�ำ่ , มีความเสีย่ งต�ำ่
และมีการตอบสนองที่ดีที่สุดในการโจมตีเป้าหมายของข้าศึกที่ระบุไว้ในพื้นที่
ด�ำเนินกลยุทธ์ทางลึก และพืน้ ทีย่ งิ สนับสนุนทางลึก (Deep Maneuver และ Deep
Fires Areas) ระบบการยิงระยะไกลแบบประณีต (LRPF) ไม่ต้องการการยิงข่ม
(suppression) อาวุธของข้าศึกเพื่อเข้าใช้งาน ระบบจะพร้อมท�ำการยิงเสมอ

82
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ถึ ง แม้ จ ะไม่ ท ราบเวลาในการติ ด พั น ข้ า ศึ ก ที่ แ น่ น อน และสามารถติ ด พั น


กับเป้าหมายต่าง ๆ ที่เพิ่งเกิดขึ้นแต่มีความส�ำคัญได้ในพื้นที่กว้างขวาง อย่างไร
ก็ตาม การยิงระยะไกลแบบประณีต เหมาะสมกับการโจมตีเป้าหมายที่อยู่กับ
ที่ได้ดีที่สุดเนื่องจากระยะเวลาถึงเป้าหมายค่อนข้างมาก การโจมตีกองก�ำลัง
ทางเรือและการโจมตีทางอากาศจากระบบป้องกันภัยทางอากาศ (จรวดร่อน
หรือระบบอื่น ๆ ที่ใกล้เคียง) ก็มีลักษณะคล้ายกับการยิงระยะไกลแบบประณีต
อากาศยานยุคใหม่ (fifth-generation aircraft) จะเป็นเครื่องมือเริ่มต้น
ในการติดพันเป้าหมายเคลื่อนที่ หรืออาจใช้เครื่องมืออื่นที่มีความเชื่อถือได้
ถึงแม้ว่าอาจมีความเที่ยงตรง ในการให้ข้อมูลในด้านต�ำแหน่งได้ไม่มากนัก
แต่ก็สามารถจะเป็นข้อมูลเริ่มต้นส�ำหรับอากาศยานและนักบินให้น�ำไปด�ำเนิน
การต่อได้ ความพยายามของกองทัพบกอย่างไม่ลดละในการอ�ำนวยความสะดวก
การปฏิบัติให้กับกองก�ำลังรบร่วม เพื่อล่อให้ข้าศึกใช้อาวุธ, ตรวจจับและโจมตี
ระบบอาวุธยิงระยะไกลของข้าศึกนั้นเป็นผลให้สามารถบรรลุกิจส�ำคัญขั้นต้น
ของการสลายระบบการต่อต้านการเข้าถึงและปฏิเสธพื้นที่ของข้าศึก
จ. ท�ำให้ระบบการยิงระยะกลางของข้าศึกใช้การไม่ได้ (Neutralize
enemy mid-range fires systems) ในขณะที่กองทัพสนามข่ม (suppress)
หรือเอาชนะระบบยิงระยะไกลของข้าศึกนัน้ กองทัพน้อยจะมุง่ เน้นไปทีก่ ารท�ำลาย
ระบบการยิงระยะกลางของข้าศึก (ปืนใหญ่อัตตาจรและจรวดหลายล�ำกล้อง
ขนาดมาตรฐาน) ความพยายามในลั ก ษณะนี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในเวลาเดี ย วกั น
กับการด�ำเนินกลยุทธ์ในระดับยุทธการ (มีค�ำอธิบายในตอนถัดไป), ด้วยการ
ที่กองทัพน้อยจะสลับกันใช้ทรัพยากรระหว่างสองอย่างนี้ ตามความจ�ำเป็น
ค�ำสั่งการยิงสนับสนุนในระดับยุทธการของกองทัพน้อยจะท�ำลายการยิงระยะ
กลางของข้าศึกโดยการผสมผสานการรวมขีดความสามารถต่าง ๆ ของกองทัพบก
และขีดความสามารถของกองก�ำลังรบร่วมเข้าด้วยกัน ไม่เพียงแต่ขา้ ศึกจะมีระบบ

83
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

การยิงระยะไกลหลายสิบระบบในแต่ละกองก�ำลังผสมเหล่าของตนเพียงเท่านั้น
ข้าศึกก็มีระบบอาวุธยิงระยะกลางอีกนับร้อย ในการเปรียบเทียบกับระบบยิง
ระยะไกลของข้าศึก การโจมตีระบบการยิงระยะกลางจ�ำนวนมากนั้น ต้องการ
วิ ธี ก ารที่ เรี ย บง่ า ยในการบรรจบ (convergence) ซึ่ ง สามารถด� ำ เนิ น การ
ได้รวดเร็วด้วยขนาดที่ใหญ่กว่า แทนที่จะล่อ (stimulate) ให้เรดาร์ของหน่วย
ย่อย ๆ ของข้าศึกในระดับกองร้อย, กองพันให้ส่งสัญญาณออกมาทีละหน่วย
ตามแผนในลักษณะที่เป็นการล่อให้เรดาร์ของข้าศึกท�ำงาน-ตรวจจับสัญญาน-
โจมตีนั้น กองทัพน้อยจะปฏิบัติในลักษณะดังกล่าวแต่รวดเร็วและเรียบง่ายกว่า
และด�ำเนินการซ�ำ้ แล้วซ�ำ้ อีก ซึง่ จะท�ำให้เกิดเป็นชุดของการปฏิบตั ิ ล่อ-ตรวจจับ-
โจมตีผสมกัน เพื่อท�ำให้ระบบการยิงระดับกลางของข้าศึกใช้การไม่ได้ ด้วย
วิธีการนี้จะท�ำให้ระบบการยิงระยะกลางของศัตรูต้องเผชิญกับภาวะที่กลืน
ไม่เข้าคายไม่ออกถึงสามชั้น คือ สนับสนุนหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ของฝ่ายข้าศึก
ที่มีความเสี่ยงและเสี่ยงต่อการถูกท�ำลายโดยการยิงของฝ่ายเรา, การพลัดจาก
ที่ ตั้ ง เดิ ม เสี่ ย งต่ อ การถู ก ตรวจจั บ และถู ก ท� ำ ลาย, หรื อ ไม่ ส ามารถด� ำ เนิ น
กลยุทธ์ใด ๆ ได้ด้วยเหตุนั้นข้าศึกจ�ำต้องปล่อยให้หน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ขาด
การสนับสนุน และเกิดความเสี่ยง และในที่สุดหน่วยของข้าศึกก็จะไม่สามารถ
ด�ำเนินกลยุทธ์ใด ๆ ได้ และถูกตัดขาดจากหน่วยอื่นโดยสิ้นเชิง
(1) มองเห็ น (เฝ้ า ดู ) ระบบการยิ ง ระยะกลางของข้ า ศึ ก
(See mid-range fires systems) กองทั พ น้ อ ยใช้ เซ็ น เซอร์ ห ลายตั ว
เพื่ อ มองให้ เ ห็ น ระบบอาวุ ธ ยิ ง ระยะกลางของข้ า ศึ ก ซึ่ ง ครอบคลุ ม พื้ น ที่
อันกว้างขวางในช่วงเวลาของการตอบโต้การยิงกับฝ่ายเรา (กินเวลาหลายวัน)
ในช่วงเวลา ข้าศึกจะตอบโต้การปฏิบัติการเฝ้าตรวจหรือการลาดตระเวนใด ๆ
ทุกชนิดที่ปฏิบัติในรูปแบบปฏิบัติการเดี่ยว ดังนั้นกองทัพน้อยจะต้องจัดให้
ข้าศึกได้เผชิญกับการเปลี่ยนแบบการจัดรูปขบวนของเซ็นเซอร์ที่จัดให้เป็น
ลั ก ษณะหลายรู ป แบบและหลายระดั บ ชั้ น (a shifting array of
84
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

multiple, layered sensors) เพื่อท�ำให้เกิดความยุ่งยาก ในการตอบโต้


อย่างมีประสิทธิภาพของข้าศึก ระบบเบื้องต้นในการตรวจจับระบบการยิง
ระยะกลางข้าศึกของกองทัพน้อยก่อนที่จะเริ่มท�ำการติดพันนั้นจะต้องท�ำการ
ลาดตระเวนอย่างสม�่ำเสมอ ครอบคลุมพื้นที่กว้าง เป็นการเฝ้าตรวจจากระดับ
ความสู ง ที่ สูง มากหรือเป็นการเฝ้าตรวจจากอวกาศ ระบบเบื้ อ งต้ นส� ำ หรั บ
การระบุการยิงของข้าศึกในขณะที่ก�ำลังติดพันกับกองก�ำลังฝ่ายเรานั้นคือ เรดาร์
ต่อต้านกองร้อยปืนใหญ่การลาดตระเวนทางภาคพื้น, ระบบการลาดตระเวน
เป็นพื้นที่ทั้งแบบมีคนควบคุมและไร้คนควบคุม, ระบบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปคตรัม และหน่วยข่าวกรองทางการสื่อสารกองก�ำลังรบพิเศษ และกองก�ำลัง
ที่ท�ำการลาดตระเวนทางไซเบอร์สเปซสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เป็นตัวเสริมระบบใน
ขั้นต้นดังกล่าว ตรงกันข้ามกับระบบระยะไกลของข้าศึก ซึ่งต้องการความขีด
สามารถในการประมวลผลข้อมูลจ�ำนวนมากเพื่อค้นหาเป้าหมายที่ซ่อนอยู่
แต่ส่วนใหญ่อยู่กับที่การตรวจจับระบบการยิงระยะกลางจะง่ายกว่า เนื่องจาก
การตอบโต้ ร ะบบจรวดหลายล� ำ กล้ อ งจะสร้ า งร่ อ งรอยทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์
ขนาดใหญ่ที่สามารถตรวจจับได้ง่าย แต่ก็ต้องการการประมวลผลที่รวดเร็ว
และการตัดสินใจโจมตีเป้าหมายให้ทันก่อนที่เป้าหมายจะย้ายต�ำแหน่งไป
(2) โจมตีระบบยิงระยะกลาง (Strike mid-range fires systems)
กองทัพน้อยด�ำเนินการบรรจบ (converge) ขีดความสามารถของกองก�ำลังรบร่วม
และกองทั พ บกเข้ า ด้ ว ยกั น เพื่ อ ต่ อ ต้ า นระบบการยิ ง ระยะกลางของข้ า ศึ ก
ในการท�ำลายระบบที่มีขีดความสามารถในการเคลื่อนที่ที่มีจ�ำนวนมากนั้น
ต้องการรูปแบบการบรรจบที่เรียบง่ายไม่ซับซ้อนและรวดเร็วโดยการเชื่อมโยง
เซ็นเซอร์กับรูปแบบของการโจมตีโดยตรง Air ISR จะเป็นเครื่องมือในการจัด
ล�ำดับการโจมตีทางอากาศ หรือการยิงสนับสนุนทางภาคพื้น เช่น เรดาร์ต่อต้าน
กองร้อยปืนใหญ่ ร่วมกับการเฝ้าตรวจสนามรบจากเครื่องมือเฝ้าตรวจจาก
85
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ชั้นบรรยากาศในระดับสูง จะเป็นตัวจัดล�ำดับการยิงสนับสนุนจากภาคพื้น UAS


จะเป็ น เครื่ อ งมื อ จั ด ล� ำ ดั บ การโจมตี ข องอากาศยานและการยิ ง สนั บ สนุ น
ทางภาคพื้ น ความสามารถของกองทั พ น้ อ ยในการที่ จ ะใช้ ขี ด ความสามารถ
ทางอากาศ ทางอวกาศ และการยิงสนับสนุนจากภาคพื้นมาผสมกันหลาย
รู ป แบบ และหลายระดั บ ชั้ น สามารถที่ จ ะท� ำ ความยุ ่ ง ยากซั บ ซ้ อ นให้ เ กิ ด
กับระบบการควบคุมบังคับบัญชาของข้าศึกได้เป็นอย่างมาก โดยไม่ต้องอาศัย
การปฏิบัติของฝ่ายพันธมิตรเลย ในขณะที่กองก�ำลังฝ่ายเราด�ำเนินกลยุทธ์
เข้ า มาอยู ่ ใ นระยะยิ ง ของระบบยิ ง ระยะกลางของข้ า ศึ ก ระบบการยิ ง ของ
กองพล (division’s fires) จะมี ส ่ ว นร่ ว มในการโจมตี เ หล่ า นี้ โดยเฉพาะ
อย่ า งยิ่ ง การต่ อ สู ้ กั บ ระบบยิ ง ระยะกลางของข้ า ศึ ก ที่ มี ผ ลต่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์
ของการเคลื่อนทัพ และพื้นที่แตกหักในที่ต่าง ๆ 
ฉ. จัดให้มกี ารด�ำเนินกลยุทธ์ทางยุทธการ (Conduct operational
maneuver) การด�ำเนินกลยุทธ์ระดับยุทธการ ท�ำให้การสลายระบบต่อต้าน
การเข้าถึงและการปฏิเสธพืน้ ทีข่ องข้าศึกส�ำเร็จลงอย่างสมบูรณ์ กองทัพบกสนาม
ยังคงด�ำเนินการเอาชนะต่อระบบการยิงระยะไกลของข้าศึก แต่จะส่งผ่านขีดความ
สามารถบางอย่างเพือ่ ระบุเป้าหมายทีม่ คี า่ สูง (high-value targets) ต่าง ๆ ในพืน้ ที่
การรบระยะใกล้ (close area) และสามารถกระท�ำได้ทงั้ โจมตีเป้าหมายเหล่านัน้
หรือส่งข้อมูลเป้าหมายต่าง ๆ เหล่านั้นไปให้กองทัพน้อยด�ำเนินการต่อไป เพื่อ
สนับสนุนการด�ำเนินกลยุทธ์ของกองทัพน้อย กองทัพน้อยยังคงด�ำรงการปฏิบัติ
ในการท�ำให้ระบบการยิงระยะกลางของข้าศึกใช้ไม่ได้ และสั่งการกองพลและ
กองพลน้อยในขณะทีเ่ คลือ่ นทีผ่ า่ นจากพืน้ ทีส่ นับสนุน (Support Area) ไปยังพืน้ ที่
การรบระยะใกล้ (Close Area) ข้ า ศึ ก จะพยายามแยก/โดดเดี่ ย ว และ
ปฏิ เ สธกองก� ำ ลั ง ที่ ส นั บ สนุ น การด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ข องฝ่ า ยเราออกจากหน่ ว ย
ใกล้เคียง, หน่วยหรือองค์กรที่อ�ำนวยความสะดวกในการปฏิบัติการหลายมิติ,

86
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

หรือจากหน่วยเหนือ กองก�ำลังด�ำเนินกลยุทธ์ของฝ่ายเราจากการที่สามารถ
คาดการณ์ถึงการปฏิบัติการของข้าศึกที่อาจจะเกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมที่มีการ
ต่อสูก้ นั นัน้ จะเตรียมการทีจ่ ะปฏิบตั กิ ารด�ำเนินกลยุทธ์อสิ ระและใช้ความร่วมมือ
ในการปฏิบัติการร่วมกันโดยยึดถือเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาเป็นพื้นฐาน
ในการปฏิบัติ (practice intent-based synergy)
(1) การด�ำเนินกลยุทธ์ในทางยุทธการ โดยอุดมคติแล้วจะเกิดขึน้ ได้
หลังจากการเอาชนะระบบการยิงระยะไกลของข้าศึกและการทีท่ ำ� ให้ระบบอาวุธ
ระยะกลางของข้าศึกใช้การไม่ได้ อย่างไรก็ตาม เพื่อป้องกันระบบที่ส�ำคัญเหล่านี้
ข้าศึกอาจใช้ระบบเหล่านี้ในเชิงรับ, แต่พยายามจะฉวยโอกาสในการที่สามารถ
ติดพันกองก�ำลังด�ำเนินกลยุทธ์ของฝ่ายเราในสถานที่ส�ำคัญ (critical) ต่าง ๆ 
ทัง้ ในรูปของเวลาหรือพืน้ ที่ ดังนัน้ กองทัพน้อยและกองพลอาจต้องด�ำเนินกลยุทธ์
ในพื้นที่การรบระยะใกล้ และคุกคามที่จะยึดภูมิประเทศส�ำคัญหรือโดดเดี่ยว
กองก�ำลังด�ำเนินกลยุทธ์ข้าศึกเพื่อกระตุ้นให้ข้าศึกใช้ระบบการยิงระยะกลาง
(2) กองทัพน้อย และกองพลในพื้นที่การรบระยะใกล้ ใช้การลวง
ทางยุทธการ (operational deception) เพือ่ จัดการกับกองก�ำลังด�ำเนินกลยุทธ์
ของข้าศึก (กองทัพบกผสมเหล่าหรือเทียบเท่า) และจัดการกับขีดความสามารถ
วิกฤต (Critical Capabilities: CC) ของระบบการยิงระดับกลางของข้าศึก
กองทัพน้อย และกองพลใช้การลวงทั้งทางกายภาพและเสมือนจริง (physical
and virtual deception) เพื่อสร้างความไม่แน่นอนให้เกิดขึ้นกับกระบวนการ
แสวงข้อตกลงใจของข้าศึก, ท�ำให้กองก�ำลังหรือขีดความสามารถต่าง ๆ ของ
ข้าศึกให้อยู่ผิดที่ ผิดทางหรือมีอัตราส่วนก�ำลังสัมพัทธ์ที่เสียเปรียบในการโจมตี
ต่อก�ำลังฝ่ายเรา การลวงยังป้องกันไม่ให้ข้าศึกโดดเดี่ยวก�ำลังฝ่ายเราได้อย่าง
เต็มที่นัก และรั้งหน่วงไม่ให้ข้าศึกตระหนักในพื้นที่แตกหักของฝ่ายเราได้เร็ว
เกินไป กองทัพน้อยยังใช้การลวงเพื่อหลอกล่อ (stimulate) ให้ข้าศึกใช้ระบบ

87
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

การยิงระดับกลาง เพื่อให้ฝ่ายเราตรวจจับได้และด�ำเนินการโจมตีด้วยขีดความ
สามารถแบบหลายมิติ
ช. สรุป : การสลายก�ำลังของฝ่ายข้าศึก (dis-integration) การด�ำเนิน
กลยุทธ์ในระดับยุทธการ, การปฏิบัติการที่ประสบผลส�ำเร็จ, การใช้ประโยชน์
จากการที่อาวุธยิงระยะกลางของข้าศึกใช้การไม่ได้เพื่อท�ำให้การสลายก�ำลัง
ของระบบต่อต้านการเข้าถึง และปฏิเสธการเข้าใช้พื้นที่ (anti-access and
area denial systems) ของฝ่ายข้าศึกเสร็จสิ้นโดยสมบูรณ์ในพื้นที่แตกหัก
นอกจากนี้ยังมีการก�ำหนดเงื่อนไขส�ำหรับความส�ำเร็จทางยุทธวิธีในพื้นที่ด�ำเนิน
กลยุทธ์ระยะใกล้ และพื้นที่ด�ำเนินกลยุทธ์ในทางลึก โดยการน�ำอ�ำนาจก�ำลังรบ
ที่ที่มีความหนุนเนื่องอย่างเพียงพอเข้าไปยังพื้นที่แตกหัก และมีความพร้อม
ตลอดเวลาที่จะแสวงประโยชน์จากโอกาสที่จะเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม การรวม
ระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธพื้นที่ของข้าศึกนั้นไม่ได้เป็นเงื่อนไขถาวร
หากมีเวลาศัตรูจะสร้างระบบใหม่ โดยการปรับยุทธวิธีการปรับโครงสร้างหน่วย
และไม่มีการสร้างหน่วยใหม่โดยไม่จ�ำเป็น เนื่องจากเป็นไปไม่ได้ที่จะสลายขีด
ความสามารถในการต่อต้านการเข้าถึงและปฏิเสธการใช้พื้นที่ได้จนหมดสิ้น,
ผบ.หน่วยจะต้องด�ำเนินการแสวงประโยชน์และถือโอกาสที่ฝ่ายเรามีความ
เหนือกว่า ด�ำเนินการในการท�ำให้การสลายก�ำลังของข้าศึกให้จบสิ้นลงอย่าง
สมบูรณ์และแสวงประโยชน์เพิ่มเติมจากเสรีในการด�ำเนินกลยุทธ์ที่ฝ่ายเราได้มา
จากการสลายก�ำลังของข้าศึก

3-8 MDO ในความขัดแย้งทางอาวุธ: กองก�ำลังรบร่วมแสวงประโยชน์


จากการมี เ สรี ใ นการด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ เ พื่ อ ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ ข ้ า ศึ ก บรรลุ
ถึงวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์และวัตถุประสงค์ทางยุทธการ
ก. ปัญหาหลายโดเมน # 4 กองก�ำลังรบร่วมแสวงประโยชน์จากเสรี
ในการด�ำเนินกลยุทธ์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์และวัตถุประสงค์
88
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ทางยุทธการ โดยการเอาชนะของศัตรูในพื้นที่การรบระยะใกล้ และพื้นที่ด�ำเนิน


กลยุทธ์ในทางลึกได้อย่างไร?
ข. กองก�ำลังรบร่วมแสวงประโยชน์จากความมีเสรีในการด�ำเนิน
กลยุทธ์ ซึ่งเป็นผลมาจากการสลายระบบการต่อต้านการเข้าถึง และปฏิเสธ
การเข้าใช้พื้นที่ของข้าศึกเพื่อเอาชนะระบบยิงระยะกลาง, ท�ำให้ระบบการยิง
ระยะสั้นของข้าศึกใช้การไม่ได้, และด�ำเนินการโดดเดี่ยวข้าศึกและเอาชนะ
กองก�ำลังทางบกของข้าศึกด้วยการด�ำเนินกลยุทธ์ การแสวงประโยชน์และ
การด�ำเนินกลยุทธ์จะด�ำรงผลของการเจาะและการสลายระบบของข้าศึกเอา
ไว้และด�ำเนินการเพื่อให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ เงื่อนไขต่าง ๆ
ของการแสวงประโยชน์จะบรรลุได้ด้วยการปฏิบัติการหลายมิติที่มุ่งจุดสนใจ
ไปที่ พื้ น ที่ แ ตกหั ก กองก� ำ ลั ง กองทั พ บกปรั บ สมดุ ล การใช้ ขี ด ความสามารถ
หลายมิ ติ ณ พื้ น ที่ แ ตกหั ก และด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ เ พื่ อ รบกวนการป้ อ งกั น ของ
ข้าศึกด้วยการแยกองค์ประกอบที่ส�ำคัญของหน่วยรอง ทั้งทางกายภาพ ทาง
ความคิด และในโลกเสมือน เปิดโอกาสให้ก�ำลังฝ่ายเราประสบความส�ำเร็จ
โดยสามารถที่จะก�ำหนดอัตราส่วนก�ำลังที่ฝ่ายเราเป็นผู้ก�ำหนด และเกิดผล
แตกหักทางยุทธวิธี ความส�ำคัญของเมืองต่าง ๆ ทางกายภาพ, ทางการเมือง,
ทางเศรษฐกิจ, สังคม และวัฒนธรรมมักจะท�ำให้เมืองต่าง ๆ เหล่านั้นกลายเป็น
จุดแตกหัก มีความส�ำคัญทั้งในด้านปฏิเสธการบรรลุวัตถุประสงค์ของข้าศึก
หรือบรรลุวัตถุประสงค์ของกองก�ำลังฝ่ายเรา กองก�ำลังรบร่วมในการปฏิบัติ
การในเมืองที่หนาแน่น ซึ่งก็เหมือนกับการปฏิบัติการในภูมิประเทศในลักษณะ
อื่น ๆ คือจะเชื่อมโยงการด�ำเนินการที่ประสบความส�ำเร็จในพื้นที่แตกหักเข้า
ด้วยกันเพื่อรบกวนแผนการปฏิบัติการของข้าศึก ปฏิเสธการบรรลุวัตถุประสงค์
ทางยุทธศาสตร์ของข้าศึก และถือเป็นจุดสูงสุดของการประสบผลส�ำเร็จของ
ฝ่ายเรา คือการบรรลุถึงความเหนือกว่าทางทหาร เพื่อบรรลุถึงวัตถุประสงค์
ทางยุทธศาสตร์ของก�ำลังฝ่ายเรา....
89
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ค. เอาชนะระบบยิงระดับกลางของข้าศึก (Defeat the enemy’s


mid-range systems) กองทัพน้อยยังคงโจมตีหน่วยยิงระดับกลางของข้าศึกใน
ระหว่างการแสวงประโยชน์ขีดความสามารถที่ใช้ในการล่อให้ระบบการยิงของ
ฝ่ายตรงข้ามใช้อาวุธเพื่อให้เซ็นเซอร์ในการตรวจจับของฝ่ายเรามองเห็นและ
โจมตี อย่างไรก็ตามความส�ำเร็จของกองก�ำลังฝ่ายเราในช่วงต้นท�ำให้ข้าศึก
พยายามที่ จ ะรั ก ษาระบบนี้ เ อาไว้ ด้ ว ยการจ� ำ กั ด การใช้ แ ละมุ ่ ง จุ ด สนใจไป
ที่ ก ารป้ อ งกั น และการอยู ่ ร อดของหน่ ว ยแทน (เช่ น มี ค วามเคลื่ อ นไหวใน
แนวทางเพื่ อ ความอยู ่ ร อดของหน่ ว ย, กระจายหน่ ว ยออกไปในพื้ น ที่ ก ว้ า ง
เป็ น ต้ น ) การผสมผสานการยิ ง ของกองพลน้ อ ยและกองพลด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์
สามารถเอาชนะความพยายามของข้าศึกที่จะป้องกันระบบอาวุธยิงระยะกลาง
ซึ่งเป็นส่วนที่อันตรายที่สุดในระบบทางยุทธวิธี กองพลด�ำเนินกลยุทธ์เพื่อบังคับ
ให้ข้าศึกต้องใช้ระบบอาวุธการยิงระยะกลางที่เหลืออยู่ ซึ่งระบบการยิงของ
กองพลน้อยมีความพร้อมในการเอาชนะข้าศึกในระบบระดับกลางในขณะที่การ
แสวงประโยชน์ด�ำเนินไป การท�ำให้การตั้งรับของข้าศึกต้องเกิดความวุ่นวาย
ในระบบการต่อสู้ของข้าศึกเนื่องจากการด�ำเนินกลยุทธ์ของก�ำลังฝ่ายเรา ท�ำให้
เกิดโอกาสในการโจมตีและท�ำลายระบบอาวุธยิง และรูปแบบในการด�ำรงสภาพ,
ด�ำเนินการเอาชนะระบบอาวุธระดับกลางของข้าศึกในพื้นที่แตกหัก
ง. ท�ำให้ระบบการยิงระยะใกล้ของศัตรูใช้การไม่ได้ (Neutralize
the enemy’s short-range systems) กองพลบรรจบความสามารถต่าง ๆ
เข้าด้วยกันทั่วทุกมิติ ไม่ว่าจะเป็นระบบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัม (EMS)
และสภาพแวดล้อมทางการข่าว (เช่น การโจมตีขดี ความสามารถทางด้านการบิน,
UAS, การป้องกันทางอากาศระยะใกล้, EW, การต่อต้านการระบุต�ำแหน่ง,
การต่อต้านระบบการน�ำทางมาตรการทางไซเบอร์สเปซ, การยิง, และกองก�ำลัง
ด�ำเนินกลยุทธ์) เพื่อท�ำให้ระบบการยิงระยะใกล้ของข้าศึกใช้การไม่ได้กองพล

90
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ประสานกับกองทัพบกในยุทธบริเวณเพื่อ space control และ space-based


capabilities กองพลที่ประสานงานกับกองทัพบกสนาม (หรือกองทัพน้อย
หากท�ำหน้าที่บัญชาการส่วนก�ำลังรบทางบก) เพื่อบูรณาการขีดความสามารถ
ในการป้องกันทางอากาศและการบินในอัตรา (รวมถึง UAS) กับการทัพอากาศร่วม
ถึงแม้ว่าทุกระดับการบังคับบัญชาจะมีการป้องกันไซเบอร์สเปซของตนเอง ผบ.
กองบัญชาการทางยุทธวิธีอาวุโส (กองทัพสนามหรือกองทัพน้อย) ก็ยังคงจัดสรร
ทีมป้องกันทางไซเบอร์สเปซมาให้กองพลเพื่อท�ำให้การโจมตีที่เกิดขึ้นเฉพาะใน
ระยะใกล้ใช้การไม่ได้ ในฐานะที่สายการบังคับบัญชาหลักมีความรับผิดชอบ
ในการบริหารจัดการระบบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัม, กองพลจะเพิ่มเติม
ก�ำลังให้กบั กองพลน้อยทีเ่ ป็นหน่วยรองของตนด้วยขีดความสามารถทางสงคราม
อิเล็กทรอนิกส์ (EW) ทั้งทางพื้นดิน และทางอากาศ, โดยมีล�ำดับความเร่งด่วนใน
การสนับสนุนการด�ำเนินกลยุทธ์ทางอากาศ การสนับสนุนของกองพลทีส่ นับสนุน
ให้กับกองพลน้อยบิน (aviation brigade) ด้วยทั้งการสงครามอิเล็กทรอนิกส์
และการยิงสนับสนุนเพื่อท�ำการข่ม (suppress) ระบบป้องกันภัยทางอากาศ
ของข้าศึก และท�ำให้เกิดโอกาสที่สามารถแสวงประโยชน์ทางยุทธวิธีต่อไปได้
ข้าศึกมีระบบการยิงระยะใกล้จ�ำนวนมาก ซึ่งการท�ำให้ระบบเหล่านี้ใช้การไม่ได้
มีความจ�ำเป็นต่อการด�ำเนินกลยุทธ์ของฝ่ายเรา
จ. การด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ เ พื่ อ โดดเดี่ ย วและเอาชนะกองก� ำ ลั ง ทางบก
(Maneuver to isolate and defeat land forces) กองพลแสวงประโยชน์
จากเสรีภาพในการด�ำเนินกลยุทธ์โดยการเข้าถึงขีดความสามารถหลายมิติร่วม
และใช้กองพลน้อยทีเ่ ป็นหน่วยรอง ณ พืน้ ทีแ่ ตกหัก กองทัพน้อยมีบทบาทส�ำคัญ
ในการสนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ใ นพื้ น ที่ เ มื อ งที่ ห นาแน่ น เนื่ อ งมาจาก
ความต้องการการบรรจบ (convergence) ขีดความสามารถ

91
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

กลุ ่ ม ของพวกเขาในพื้ น ที่ แ ตกหั ก กรมจะมี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการ


สนับสนุนการด�ำเนินกลยุทธ์ในพื้นที่เขตเมืองที่หนาแน่นเนื่องจากความต้องการ
ที่เพิ่มขึ้นส�ำหรับการผสานความสามารถด้านการรบร่วมและปฏิบัติงานร่วม
กับหน่วยงานอื่น กองก�ำลังภาคพื้นดินที่เอาชนะศัตรูอย่างมีชั้นเชิงเป็นรากฐาน
ของความสามารถของกองก�ำลังรบร่วมในการใช้ประโยชน์จากเสรีภาพในการ
ด�ำเนินกลยุทธ์ การชนะทางยุทธวิธีเป็นผลความสามารถน�ำหน่วยปฏิบัติเชิงรุก
และมีก�ำลังทหารที่มีความสามัคคี และได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี และ
เครื่องบินยานยนต์รบ หน่วยขนาดเล็กและบุคคลที่มีความคล่องตัวเหนือกว่า
การป้องกันและความอันตรายถึงชีวติ กองพลแสวงประโยชน์จากข้อได้เปรียบของ
formation-level overmatch โดยใช้การลวงและการด�ำเนินกลยุทธ์ เพื่อสร้าง
อัตราส่วนก�ำลังทีเ่ หนือกว่าพืน้ ทีร่ บทีแ่ ตกหัก กองพลท�ำการโจมตีหลายโดเมนกับ
การสื่อสารของศัตรูการบรรจบกันนี้น�ำไปสู่การท�ำลายการเชื่อมต่อทางกาย
ภาพเสมือนและการรับรู้ของศัตรูท�ำให้เกิดความพ่ายแพ้
(1) มองให้เห็นข้าศึก (See) กองพลและกรมใช้สิ่งต่อไปนี้คือ ISR
ทางอากาศที่มีคนควบคุมและไร้คนควบคุม, การลาดตระเวนภาคพื้น, และ
ขีดความสามารถในทางสงครามอิเล็กทรอนิกส์ในการตรวจจับความเคลื่อนไหว
ของข้าศึก ขีดความสามารถที่มีอยู่ในอัตราเหล่านี้เสริมด้วยขีดความสามารถ
ในการวิเคราะห์ของกองทัพน้อย ซึ่งท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลจากเซ็นเซอร์ที่
มีจ�ำนวนมาก (เช่น ISR ที่เป็นขีดความสามารถในการลาดตระเวนจากทาง
อวกาศ และการลาดตระเวนในระดับความสูงจากพื้นดิน) ให้กับหน่วยที่อยู่
ในสายการบังคับบัญชาในระดับรองลงไป และแปลงข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่ใน
รูปแบบข้อมูลที่มีความยืดหยุ่นและมีปริมาณต�่ำ (resilient low-volume
data formats) การด�ำเนินการนี้ท�ำให้หน่วยระดับรองลงไปมีความสามารถ
ในการเข้าถึงแหล่งข่าวกรองเหล่านี้ แม้ว่าพวกเขาจะไม่มีขีดความสามารถ

92
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ในการวิ เ คราะห์ ห รื อ ระบบในการเชื่ อ มโยงการสื่ อ สารเพื่ อ แสวงประโยชน์


จากเซ็นเซอร์โดยตรง การผสมผสานกันของการลาดตระเวนที่มีอยู่ในอัตราและ
การเข้าถึงขีดความสามารถในการเฝ้าตรวจสนามรบ และการข่าวร่วม และ
ขีดความสามารถเหล่านี้ในระดับพลังอ�ำนาจของชาติ ท�ำให้ผู้บังคับบัญชามีทาง
เลือกเพิ่มเติมในการตรวจจับความเคลื่อนไหวข้าศึก ซึ่งช่วยในการระวังป้องกัน
การลวง การโดดเดี่ยวและการด�ำเนินกลยุทธ์
(2) การด�ำเนินกลยุทธ์เพื่อโดดเดี่ยวข้าศึก (Maneuver to isolate)
กองพลมีความรับผิดชอบหลักในการแยกองค์ประกอบของข้าศึก ทั้งมิติทาง
กายภาพทางโลกเสมือนจริงและมิติทางกระบวนการในการรับรู้ โดยการบรรจบ
การด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ท างอากาศและการด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ภ าคพื้ น , การยิ ง ,
การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ และการลวง นอกจากนีก้ องพลยังรวมการปฏิบตั กิ าร
ทางอวกาศเชิงรุก และไซเบอร์สเปซมาใช้ในการแยกองค์ประกอบของศัตรูด้วย
การเข้าถึงขีดความสามารถเหล่านี้ โดยการใช้ขีดความสามารถของกองทัพบก
ในยุทธบริเวณและกองทัพบกสนาม หน่วยยิงสนับสนุนของกองพล, กองพลน้อย
การบินรบ และการประสานการรบกวนทางอากาศในสนามรบ (battlefield
air interdiction) ของกองก�ำลังทางอากาศ ท�ำการโจมตีเส้นหลักการส่งก�ำลัง,
กองหนุน, และหน่วยใกล้เคียงของข้าศึก เพื่อแยกส่วนด�ำเนินกลยุทธ์ของข้าศึก
ด้วยการยิงสนับสนุน ขีดความสามารถทางสงครามอิเล็กทรอนิกส์ของกองพล
ที่อยู่บนพื้นโลก และแบบเป็นพื้นที่ ร่วมกับขีดความสามารถทางอวกาศ และ
ไซเบอร์สเปซ ด�ำเนินการโดดเดี่ยวข้าศึกในโลกเสมือน (virtually) ด้วยการ
ท�ำลายระบบการควบคุมบังคับบัญชาโดยเน้นเฉพาะไปที่การลาดตระเวนและ
การยิง กองก�ำลังฝ่ายเราประสบความส�ำเร็จในการโดดเดี่ยวข้าศึกทางกายภาพ
และในโลกเสมือนโดยการผสมผสานระหว่างการด�ำเนินกลยุทธ์ การมีทกั ษะในการ
ใช้ภมู ปิ ระเทศให้เกิดประโยชน์กบั ฝ่ายเรา การแสวงประโยชน์จากการเป็นฝ่ายริเริม่

93
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

และการลวงเพื่อจัดการกับกองหนุนและหน่วยใกล้เคียง การโดดเดี่ยวข้าศึก
ด้ ว ยการผสมผสานทางกายภาพ, ทางโลกเสมื อ น และทางด้ า นการรั บ รู ้
ท�ำให้เกิดอัตราส่วนก�ำลังทีเ่ อือ้ อ�ำนวยโอกาส ในการแสวงประโยชน์ทางการด�ำเนิน
กลยุทธ์ของฝ่ายเรา
(3) การด�ำเนินกลยุทธ์เพื่อเอาชนะ (Maneuver to defeat) หน่วย
ระดับกองพลเป็นหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์พื้นฐาน กองพลสั่งการกองพลน้อยและ
กองพลน้อยชุดรบ (Brigade Combat Team) เพื่อด�ำเนินการบรรจบการการ
ปฏิบตั กิ ารหลายมิตขิ นั้ พืน้ ฐานต่อไปนีค้ อื การด�ำเนินกลยุทธ์, การยิง, ปฏิบตั กิ าร
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปคตรัม (EMS) และการสนับสนุนทางอากาศ กองพลใช้
กองพลน้อยในเวลาเดียวกันเพื่อท�ำให้ข้าศึกรับมือไม่ไหวโดยการยิงข้ามโดเมน
และการด�ำเนินกลยุทธ์หลายมิติ หรือตามล�ำดับเพือ่ เพิม่ ระยะเวลาของการปฏิบตั ิ
การรุก กองพลสามารถบรรลุภารกิจถึงแม้วา่ จะถูกโดดเดีย่ วจากกองบังคับการเป็น
ระยะเวลานานเนือ่ งจากทีก่ ารยิงสนับสนุน, ISR และขีดความสามารถในการติดต่อ
กับอากาศยานอยู่ในอัตรา กองพลน้อยบูรณาการการสงครามอิเล็กทรอนิกส์,
การปฏิบัติการทางอากาศในระดับกลาง, การโจมตีทางไซเบอร์ และการควบคุม
อวกาศเชิงรุกเข้าไปในการด�ำเนินกลยุทธ์ของกองพลด้วย กองพลน้อยอิสระ
มี ขี ด ความสามารถที่ จ ะด� ำ เนิ น ปฏิ บั ติ ก ารรุ ก ได้ เ ป็ น เวลา 72 ถึ ง 96 ชม.
กองพลและกองพลน้อยในอัตราแสวงประโยชน์จากโอกาสที่เกิดขึ้นทางยุทธวิธี
ด�ำเนินปฏิบัติการภายในขอบเขตของเจตนารมณ์ของ ผบ.ชาเพื่อบรรลุถึงผล
แตกหักทางยุทธวิธี
(4) การด�ำเนินกลยุทธ์ในภูมปิ ระเทศทีห่ นาแน่น (Maneuver in dense
urban terrain) ภูมิประเทศในเมืองที่หนาแน่นนั้น มีความท้าทายอย่างยิ่งต่อ
การแสวงหาประโยชน์จากเสรีในการด�ำเนินกลยุทธ์เนื่องจากภูมิประเทศแบบนี้
จะท�ำให้จงั หวะในการปฏิบตั กิ ารช้าลงและสิน้ เปลืองสิง่ อุปกรณ์, ต้องใช้สงิ่ อ�ำนวย

94
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ความสะดวกในการปฏิบัติการมากมาย และสิ้นเปลืองก�ำลังพลในภูมิประเทศ
ทีห่ นาแน่นในเมืองนี,้ กองพลยังคงเป็นส่วนประกอบพืน้ ฐานในการด�ำเนินกลยุทธ์,
แต่ก็ยังคงต้องการการสนับสนุนเพิ่มเติมจากกองทัพบกสนามและกองทัพน้อย
เพื่ อ การบรรจบขี ด ความสามารถต่ า ง ๆ และประสานกั บ ผู ้ ร ่ ว มปฏิ บั ติ ก าร
นานาชาติ และองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการ ถ้าผู้บังคับบัญชา
ตั ด สิ น ใจที่ จ ะอ้ อ มผ่ า นภู มิ ป ระเทศในเมื อ งที่ ห นาแน่ น นี้ ไ ป ก็ จ ะสามารถใช้
ขีดความสามารถในการปฏิบตั กิ ารหลายมิตใิ นการลดความเสีย่ ง และลดค่าใช้จา่ ย
ในการป้องกันเส้นหลักการรุกโดยทางการโดดเดี่ยวในโลกเสมือน (virtual
isolation), การใช้เซ็นเซอร์อัตโนมัติไร้คนควบคุม, และการลวงได้ ในกรณี
อื่ น  ๆ, กองก� ำ ลั ง รบร่ ว มอาจใช้ ป ระเทศผู ้ เข้ า ร่ ว มปฏิ บั ติ ก ารด้ ว ยการเพิ่ ม
สิง่ อุปกรณ์ หรือขีดความสามารถในการปฏิบตั กิ ารหลายมิตใิ ห้กบั ประเทศเหล่านัน้
กองก�ำลังกองทัพบกจะท�ำการสู้รบในเขตเมืองที่หนาแน่นเมื่อพื้นที่นั้นเป็นพื้นที่
แตกหักเนือ่ งจากคุณค่าทางทหาร ทางเศรษฐกิจ หรือทางการเมืองของพืน้ ทีน่ นั้  ๆ
ภูมปิ ระเทศในเมืองทีห่ นาแน่นเพิม่ ความเป็นไปได้ในการใช้อาวุธทางไซเบอร์สเปซ
และอาวุธทางคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แต่ขณะเดียวกันก็ต้องเพิ่มความแม่นย�ำใน
ขีดความสามารถเหล่านั้นด้วย เนื่องจากการปฏิบัติการในพื้นที่เมืองที่หนาแน่น
อาจเพิ่มโอกาสที่จะท�ำให้เกิดความเสียหายที่ไม่ต้องการให้เกิดต่อก�ำลังฝ่ายเรา
และประชากรพลเรือนสูง การใช้อาวุธใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นทางกายภาพ หรือในโลก
เสมือนมีความต้องการการข่าว การเตรียมการ การวางแผนที่มีรายละเอียด
และมีการควบคุมตามสายการบังคับบัญชา
ฉ. สรุป : การแสวงประโยชน์ (Exploit) การแสวงประโยชน์ที่ประสบ
ความส� ำ เร็ จ สร้ างเงื่อนไขทางทหารที่เ อื้ออ�ำนวยต่ อ การบรรลุ วัต ถุ ประสงค์
ทางยุ ท ธศาสตร์ การแสวงประโยชน์ อ ย่ า งฉั บ พลั น ช่ ว ยลดค่ า ใช้ จ ่ า ยทาง
ยุทธศาสตร์และทางยุทธการของกองก�ำลังฝ่ายเรา และป้องกันมิให้ข้าศึกมี

95
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

การกลับมารวมระบบกันใหม่ และรวบรวมสิ่งต่าง ๆ ที่ได้มาภายในอาณาบริเวณ
ที่ฝ่ายเราควบคุมอยู่ ในความขัดแย้งกับข้าศึกที่มีขีดความสามารถทัดเทียมกัน
และมีอาวุธนิวเคลียร์อยูใ่ นมือนัน้ การแสวงประโยชน์ทางยุทธการจะต้องมาลงเอย
ที่การผสมผสานกับข้อจ�ำกัดทางนโยบาย, การส่งก�ำลังและทรัพยากรที่จ�ำกัด
ถึงแม้ว่ากองก�ำลังรบตามแบบของข้าศึกจะถูกลดขีดความสามารถลงไปอย่าง
ชัดเจน แต่ก็ยังคงความเป็นหน่วย และมีขีดความสามารถที่ยังเป็นภัยคุกคาม
ได้อยู่ ยิง่ ช่วงเวลาในการเจรจาต่อรองกินเวลายาวนานเท่าไหร่ ข้าศึกยิง่ จะสามารถ
เป็นภัยคุกคามหรือรวบรวมก�ำลังพลกลับมาท�ำการรบในแบบกันใหม่ ร่วมกับ
การท�ำสงครามไม่ตามแบบ และสงครามข่าวสารเพื่อให้ได้มาซึ่งความได้เปรียบ
ทางการเมือง และเป็นบ่อนท�ำลายการรวบรวมสิ่งที่ได้มาของกองก�ำลังฝ่ายเรา
ดังนั้น กองก�ำลังรบร่วมต้องท�ำการต่อต้านข้าศึกมิให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้วย
การ เจาะ สลายและแสวงประโยชน์ แต่ความส�ำเร็จของกองก�ำลังฝ่ายเรา
ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ต้องการการเปลี่ยนผ่านเพื่อเปลี่ยนจาก
ห้วงความขัดแย้ง (conflict) กลับไปสูห่ ว้ งของการแข่งขัน (competition) ต่อไป
3-9 การปฏิบตั กิ ารหลายมิติ ในการคืนกลับไปสูห่ ว้ งของการแข่งขัน : แข่งขัน
อีกครั้งเพื่อรวมและขยายผลประโยชน์ที่ได้รับ
ก. ปัญหาหลายโดเมน # 5: กองก�ำลังรบร่วมจะด�ำเนินการแข่งขันกัน
อีกครัง้ เพือ่ รวมประโยชน์ทไี่ ด้มา และสร้างผลลัพธ์ทยี่ งั่ ยืน, ก�ำหนดเงือ่ นไขส�ำหรับ
การป้องปรามระยะยาวและปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ของความมั่นคงได้
อย่างไร
ข. กองก�ำลังรบร่วมและผู้ร่วมปฏิบัติการกลับคืนไปสู่ห้วงการแข่งขัน
เพื่อรักษาและสร้างผลประโยชน์ทางทหารที่เกิดจากความขัดแย้ง ในสภาพ
แวดล้อมทางยุทธการที่ข้าศึกที่มีความสามารถเท่าเทียมกันมีขีดความสามารถ
ทางนิวเคลียร์ซ่ึงเป็นไปไม่ได้ที่จะปราบลงให้ราบคาบ อย่างมากก็ได้แค่กลับไป

96
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

สูห่ ว้ งแห่งการแข่งขันหรือคงสถานภาพเดิมไม่เปลีย่ นแปลงได้แค่นนั้ ความพยายาม


อย่างไม่ลดละ และการด�ำรงอยู่ของกองก�ำลังภาคพื้นท�ำให้สามารถรวบรวม
ความได้เปรียบและด�ำรงการป้องปรามอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งฝ่ายตรงข้าม
หมดก�ำลังที่จะด�ำเนินการต่อสู้ด้วยอาวุธ ในการกลับไปสู่ห้วงของการแข่งขัน
กองทัพบกด�ำเนินกิจ (task) สามกิจดังต่อไปนี้พร้อมกัน คือ ป้องกันภูมิประเทศ
ทางกายภาพ และประชากรเพื่อสร้างผลลัพธ์ที่ยั่งยืน, จัดให้มีเงื่อนไขส�ำหรับ
การป้องปรามในระยะยาวด้วยการสร้างขีดความสามารถของกองทัพบกและ
ผู้เข้าร่วมปฏิบัติการขึ้นมาใหม่ และปรับท่าทีของกองก�ำลังไปสู่สภาพแวดล้อม
ทางความมั่นคงใหม่
ค. สร้างผลลัพธ์ที่ยั่งยืน (Produce sustainable outcomes) ในการ
กลับสู่ห้วงของการแข่งขันกองทัพบกสนามยังคงรักษาการบังคับบัญชาทั้งหมด
ของก� ำ ลั ง รบในพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารของตน ภารกิ จ หลั ก ของกองก� ำ ลั ง เหล่ า นี้
คือการรักษาความได้เปรียบทางร่างกายและจิตใจเหนือข้าศึกที่ได้รับในระหว่าง
การขัดแย้งด้วยอาวุธ และรักษาภูมิประเทศส�ำคัญและประชากรของฝ่ายเรา
ถ้ากองทัพน้อยบุกเบิก (the expeditionary corps) กลับมาปฏิบัติการในสนาม
อีกครัง้ กองทัพบก สนามก็จะด�ำเนินการบทบาทของการบรรจบขีดความสามารถ
ที่ ม ากมายและหลากหลายเข้ า ต่ อ กรกั บ ระบบการยิ ง ระยะกลางของข้ า ศึ ก
ที่ยังเหลืออยู่แนวโน้มของปฏิบัติการรบตามแบบที่มีความร้ายแรงถึงชีวิตที่อาจ
จะเกิดขึน้ นัน้ มีความจ�ำเป็นทีก่ องทัพบกสนามจะต้องด�ำรงการเตรียมการสนามรบ
ด้านการข่าว (IPB) อย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นการปะทะเกิดขึ้นขนาดเล็กในห้วง
ก่อนที่จะกลับไปสู่ห้วงของการแข่งขัน หรือกลับไปสู่ความขัดแย้งทางอาวุธอย่าง
เต็มรูปแบบก็ตาม อย่างไรก็ตาม การปฏิบัติในไซเบอร์สเปซนั้นยังคงมีแนวโน้ม
ที่จะด�ำเนินต่อไปด้วยระดับความเข้มข้นสูงเทียบเท่ากับระดับที่ปฏิบัติในห้วง
การขัดแย้งด้วยอาวุธ เนือ่ งจากการแบ่งแยกกองทัพข้าศึกทางกายภาพไม่ได้ทำ� ให้

97
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

เกิดความมั่นใจว่าข้าศึกจะยอมล้มเลิกการเข้าถึงในไซเบอร์สเปซ การปฏิบัติการ
ในสภาพแวดล้อมทางด้านสารสนเทศของทั้งสองฝ่ายยังคงด�ำเนินต่อไป เพื่อ
รวบรวมสิ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ โดยการสร้ า งอิ ท ธิ พ ลให้ เ กิ ด กั บ พลเรื อ นทั้ ง ฝ่ า ยเราและ
ฝ่ายข้าศึก, ทหาร และรัฐบาล กิจกรรมการสนับสนุนทางด้านกิจการพลเรือน
ต่อรัฐบาลของรัฐที่ร่วมปฏิบัติการกับฝ่ายเราคือ การสร้างบริการของรัฐที่จ�ำเป็น
และรัฐบาลขึน้ มาใหม่ ในขณะเดียวกันกองก�ำลังกองทัพบก ในยุทธบริเวณสนับสนุน
กองก�ำลังรบร่วมและกองก�ำลังนานาชาติในการด�ำเนินสงครามไม่ตามแบบเพื่อ
ต่อสูก้ บั ตัวแทนของฝ่ายข้าศึกนอกพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารของกองทัพบก และสนับสนุน
กองทัพน้อย หรือกองพลของประเทศพันธมิตรในการยับยั้งการโจมตีตามแบบ
ของข้าศึกนอกพื้นที่ปฏิบัติการของกองทัพบก เมื่อรวมเข้าด้วยกันแล้ว ความ
พยายามของกองทัพบกในสายการบังคับบัญชาเหล่านีด้ ำ� เนินการรวบรวมทีไ่ ด้รบั
อย่างรวดเร็ว และสร้างพื้นฐานส�ำหรับการป้องปรามข้าศึก
ง. ก�ำหนดเงื่อนไขส�ำหรับการยับยั้งในระยะยาว (set conditions for
long-termdeterrence) กองก�ำลังกองทัพบกได้กำ� หนดเงือ่ นไขส�ำหรับการยับยัง้
ในระยะยาวด้วยการสร้างและขยายก�ำลังทหารและสมรรถนะของผู้เข้าร่วม
ในการปฏิบัติการขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง กองก�ำลังกองทัพบกที่อยู่ประจ�ำในพื้นที่
เลือกใช้การวางแผนในเชิงรับ และการเตรียมการ เพื่อที่จะยับยั้งการกลับเข้า
สู่ความขัดแย้งมาเป็นวิธีที่จะใช้เพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติร่วมกันกับ
กองก�ำลังของประเทศที่เข้าร่วมในการปฏิบัติการ กองก�ำลังกองทัพบกยังใช้การ
มีเสรีในการด�ำเนินกลยุทธ์สัมพัทธ์ (the relative freedom of maneuver)
ในทุ ก มิ ติ , คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า สเปคตรั ม และสภาพแวดล้ อ มทางด้ า นการ
ข่าวที่ได้จากสภาพแวดล้อมหลังการขัดแย้งเพื่อจัดเงื่อนไขส�ำหรับการด�ำรง
สภาพ, ท่าทีที่ได้เปรียบของกองก�ำลังที่แก้ไขแล้ว กองทัพบกท�ำให้เกิดการ
ป้องปราม ด้วยการสร้างระดับการสะสมของอาวุธยุทโธปกรณ์ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง

98
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ซึ่ ง จะหมดไปอย่ า งรวดเร็ ว ถึ ง แม้ ว ่ า จะเป็ น การด� ำเนิ น การทั พ ที่ ค ่ อ นข้ า งใช้
ระยะเวลาสั้น ๆ ก็ตาม กองก�ำลังกองทัพบกช่วยเหลือในการสร้าง หรือซ่อมแซม
ขีดความสามารถต่าง ๆ ของประเทศที่เข้าปฏิบัติการร่วมกัน และความสามารถ
ในการป้ อ งกั น ตนเองจากภั ย ที่ อ าจเป็ น ทั้ ง สงครามตามแบบ และสงคราม
ไม่ตามแบบ กองก�ำลังรบพิเศษและกองก�ำลังช่วยเหลือทางด้านความมั่นคง
มีความจ�ำเป็นในการสร้างความสามารถของกองก�ำลังของประเทศที่เข้าร่วม
ในการปฏิ บั ติ ก ารขึ้ น มาใหม่ และเสริ ม ความแข็ ง แกร่ ง ของการป้ อ งปราม
ในมุมมองของฝ่ายตรงข้าม การปฏิบัติของกองก�ำลังรบร่วม และกองก�ำลัง
กองทั พ บกแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความสามารถที่ จ ะตอบโต้ ต ่ อ การก้ า วร้ า วได้
อย่างยาวนาน โดยแสดงออกด้วยการฝึกที่ยอดเยี่ยม, การลาดตระเวนทาง
ไซเบอร์ และการปฏิบัติการข่าวสาร เมื่อน�ำสิ่งต่าง ๆ  มารวมเข้าด้วยกันแล้ว
จะท�ำให้เกิด renew และสร้างเงื่อนไขส�ำหรับการป้องปรามในระยะยาว
จ. ปรับตัวเข้าสู่สภาพแวดล้อมของความมั่นคงใหม่ (Adapt to the
new security environment) ความขัดแย้งท�ำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่าง
มีนัยส�ำคัญต่อสภาพแวดล้อมทางความมั่นคงของภูมิภาค กองก�ำลังกองทัพบก
จัดให้มีการด�ำรงก�ำลังของกองทัพบก อย่างต่อเนื่องเพื่อท�ำให้เกิดความมั่นใจ
ว่ า สภาพแวดล้ อ มของความมั่ น คงในภู มิ ภ าคจะเกิ ด ผลดี ต ่ อ สหรั ฐ ฯ และ
หุ้นส่วน กองทัพบกในยุทธบริเวณ และกองทัพบกสนามร่วมมือกับผู้เข้าร่วม
ปฏิบัติการ, กองบัญชาการกองก�ำลังรบร่วม, และกองบัญชาการ, Department
of the Army ในการปรับท่าทีของกองก�ำลังที่ได้แก้ไขแล้ว ให้สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมทางยุทธการใหม่ กองก�ำลังกองทัพบกรักษาขีดความสามารถ
ตอบโต้อย่างทันท่วงที และกลับมาปฏิบัติการรุกได้ใหม่อย่างรวดเร็ว การจัด
รูปขบวนของกองก�ำลังส�ำรองของกองทัพบกจะช่วยยืดเวลาการปฏิบัติของ

99
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

กองทัพบก ในขณะเดียวกันก็ช่วยให้มีการสร้างความพร้อมในการบุกเบิกขึ้น
มาใหม่
ฉ. กลับไปสูห่ ว้ งของการแข่งขันอีกครัง้ หนึง่ (Return to competition)
จากความส�ำเร็จในการส่งผ่านจากห้วงการขัดแย้งด้วยการใช้กำ� ลังอาวุธกลับไปสู่
ห้วงของการแข่งขัน กองก�ำลังรบร่วมได้ดำ� เนินการแปลงความส�ำเร็จทางยุทธการ
ในห้วงของความขัดแย้งด้วยการใช้ก�ำลังอาวุธเข้าไปสู่ความส�ำเร็จในการบรรลุ
ถึงวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์สิ่งต่าง ๆ ต่อไปนี้คือ การรวบรวมสิ่งที่ได้มา,
การสร้างกองก�ำลังฝ่ายเราขึ้นมาใหม่, และการสร้างขีดความสามารถของ
ประเทศที่เข้าร่วมปฏิบัติการ เหล่านี้ร่วมกันท�ำให้เกิดการป้องปรามความขัดแย้ง
ทีจ่ ะเกิดขึน้ ใหม่ในระยะยาว และทีส่ ำ� คัญยิง่ ไปกว่านัน้ ความส�ำเร็จในการปรับตัว
ไปสู่สภาพแวดล้อมทางความมั่นคงใหม่เป็นผลให้เกิดการพัฒนาต�ำแหน่งทาง
ยุทธศาสตร์ที่ดีขึ้นของประเทศสหรัฐฯ

100
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

บทที่ 4
บทสรุป

ก. แนวคิดกองทัพบกสหรัฐฯ ในการยุทธ์หลายมิติ ได้ทา้ ทายผูน้ ำ� กองทัพ


ให้เห็นภาพและด�ำเนินกลยุทธ์ด้วยวิธีการใหม่ ๆ ที่จะสามารถเอาชนะระบบ
ของจีนและรัสเซียได้การรวมพลังอ�ำนาจ ท�ำให้กองทัพบกสามารถแข่งขันกับคูต่ อ่ สู้
ทีม่ คี วามสามารถเจาะ ระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธการใช้พนื้ ที่ ซึง่ แม้วา่
จะมีจ�ำนวนมาก ก็สามารถโจมตีช่องโหว่ในระบบทหารของคู่ต่อสู้ได้ โดยการเข้า
โจมตีต่อ จุดอ่อนแอ ล่อแหลม ของระบบทางทหารของข้าศึก อย่างไรก็ตาม
การรวมพลั ง อ� ำ นาจ ไม่ใช่เรื่องที่จะบรรลุภารกิ จได้ โ ดยง่ า ยกองบั ญ ชาการ
กองทัพบก ต้องไม่เพียงแต่มเี ครือ่ งมือด้านเทคนิค และหลักนิยมทีช่ าญฉลาดในการ
ควบคุมและบังคับบัญชา การปฏิบตั กิ าร การยุทธ์หลายมิติ เท่านัน้ แต่ตอ้ งมีการฝึก
ปฏิบตั กิ ารร่วม และผสมทีม่ คี วามสอดคล้องกันอย่างแม่นย�ำ ด้วยวิธนี กี้ องทัพบก
จะสามารถบรรลุถึง การประสานสอดคล้องในความตั้ ง ใจพื้ นฐาน ทั้ ง แถบ
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า และสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร เพือ่ การแข่งขัน ในการ
เจาะท�ำลาย การแยกสลาย การใช้ประโยชน์และ การกลับเข้ามาแข่งขันอีกครั้ง
ข. หน่วยของกองทัพบก ส�ำหรับ การยุทธ์หลายมิติ พร้อมด้วยการพัฒนา
ตามล�ำดับขั้น ที่จัดการในเรื่องข่าวกรอง การด�ำเนินกลยุทธ์ และการปฏิบัติ
การโจมตี ข้ า มหลายมิ ติ แ ถบคลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า และสภาพแวดล้ อ มด้ า น
ข้อมูลข่าวสาร การพัฒนาการด�ำเนินกลยุทธ์ของกองทัพบก โดยใช้ขดี ความสามารถ
ในการเคลื่อนย้ายและเชื่อมโยง ในหนทางปฏิบัติที่หลากหลายหรือไม่คาดคิด
และจัดเรียงขัน้ การปฏิบตั ิ เพือ่ ทีจ่ ะเอาชนะ หรือท�ำลายระบบทางทหารของข้าศึก
การด�ำเนินกลยุทธ์ โดยการจัดเรียงล�ำดับ เพื่อสร้างความเหนือกว่าต่อระบบ
การทหารของจีนและรัสเซีย ในพื้นที่วิกฤติที่ส�ำคัญ
101
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ด้วยภาวะผลกระทบ ที่วิกฤติจ�ำนวนมาก กองก�ำลังรบร่วม จ�ำเป็นต้อง


ริเริ่มของความได้เปรียบที่เหนือกว่า เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
ค. การยุทธ์หลายมิติ ก�ำหนดความต้องการ ให้กองทัพบกต้องพัฒนา
หรือปรับปรุงขีดความสามารถในการพัฒนาทางเลือกข้ามโดเมน ส�ำหรับกองก�ำลัง
รบร่วม โดย
(1) ปรับท่าทีการวางก�ำลังทางภูมิศาสตร์และองค์ประกอบหน่วย
ทหารทั้งหมดของกองทัพบก เพื่อเอาชนะการปฏิบัติการเชิงรุก
ของจีนและรัสเซียในการแข่งขันและเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความ
ขัดแย้งเพิ่มขึ้น
(2) การจัดเตรียมสภาพแวดล้อมทางยุทธการ โดยการสร้างขีดความ
สามารถและความสามารถในการท�ำงานร่วมกันของพันธมิตร
และการจั ด ตั้ ง ยุ ท ธบริ เวณ เช่ น การสร้ า งพื้ น ฐานและสิ ท ธิ์
ในการเข้าถึง การเตรียม ยุทโธปกรณ์และสิ่งอุปกรณ์การจัดตั้ง
กิจกรรมทางด้านข่าวกรอง และการท�ำแผนที่แถบคลื่นแม่เหล็ก
ไฟฟ้า และโครงข่ายคอมพิวเตอร์ (สนับสนุนโดยโครงข่าย
ของกองทัพบก)
(3) การสร้างขีดความสามารถของหุ้นส่วน และพันธมิตร รวมไปถึง
ขีดความสามารถในการเอาชนะจีนและรัสเซียที่มีความซับซ้อน
ยิง่ ขึน้ สนับสนุนสงครามข้อมูลข่าวสาร และสงครามไม่ตามแบบ
(4) การจัดเตรียมสภาพแวดล้อมทางยุทธการส�ำหรับการแข่งขันและ
ความขัดแย้งโดยการสร้างความเข้าใจและความสามารถในการ
เลือกพื้นที่เมืองที่มีความส�ำคัญในทางยุทธศาสตร์หรือยุทธการ
โดยเฉพาะ

102
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(5) การสร้างระบบโลจิสติกส์ที่มีความแม่นย�ำซึ่งให้ความสามารถ
ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่เชื่อถือได้คล่องตัวและตอบสนอง
ทีจ่ ำ� เป็นในการสนับสนุน การใช้พลังอ�ำนาจทีร่ วดเร็ว ในการยุทธ์
หลายมิ ติ แ ละการมี เ สรี ใ นการปฏิ บั ติ จากพื้ น ที่ ส นั บ สนุ น
ทางยุทธศาสตร์ไปยังพื้นที่การปฏิบัติการทางลึก (สนับสนุน
โดย โครงข่ายกองทัพบก)
(6) การจัดเตรียม อ�ำนาจหน้าที่ และการยอมรับ ไว้สำ� หรับความขัดแย้ง
หรือระดับที่สูงขึ้นเพื่อด�ำเนินการในการแข่งขันและเปลี่ยนไปสู่
ความขัดแย้งอย่างรวดเร็วได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(7) การปรับปรุงความสามารถในการปฏิบัติการ การยุทธ์หลายมิติ
ในภูมิประเทศเขตเมืองที่หนาแน่นในทุกระดับโดยการพัฒนา
หนทางปฏิบตั ิ และความสามารถเพือ่ เพิม่ ความแม่นย�ำความเร็ว
และการประสานสอดคล้ อ งของผลกระทบ (สนั บ สนุ น โดย
โครงข่ายกองทัพ)
(8) สนั บ สนุ น การชี้ แจงข้ อ มู ล ในสหรั ฐ อเมริ ก าที่ น ่ า เชื่ อ ถื อ ผ่ า น
การปฏิบัติก ารข้ามโดเมน ตอบโต้ ภัย คุ ก คามจากการจู ่ โจม
การรวมอ�ำนาจ และการท�ำสงครามที่ไม่เป็นทางการของจีน
และรัสเซีย
(9) ช่วยให้ผบู้ งั คับบัญชาและฝ่ายเสนาธิการ ในแต่ละระดับเห็นภาพ
และออกค�ำสั่งยุทธการ ในทุกโดเมนระบบการจัดการสภาพ
แวดล้อม และข้อมูลและขีดความสามารถในการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วระหว่างโดเมนและองค์กรเพื่อต่อสู้กับช่องโหว่
ของจี น และรั ส เซี ย สิ่ ง นี้ ต ้ อ งใช้ เ ครื่ อ งมื อ ใหม่ ใ นการผสาน
ความสามารถอย่างรวดเร็วยิ่งขึ้นในกองก�ำลังรบร่วมการเปลี่ยน

103
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

กระบวนทัศน์การฝึกและการเปลี่ยนบุคลากรและแนวทางการ
บริหารขีดความสามารถ
(10) จัดให้มีการจัดตั้ง ระบบแบบหลายโดเมนของ ผู้บัญชาการ
กองก�ำลังรบร่วม ที่สามารถผสานความสามารถในการโจมตี
ช่ อ งโหว่ ที่ เ ฉพาะเจาะจงในจี น และรั ส เซี ย ที่ มี ห ลายชั้ น และ
เสริมทัพกองก�ำลังและระบบทหารร่วมกันนั้นหมายถึงการสร้าง
ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายเสนาธิการที่มีวิธีการและความสามารถ
ในการเข้าถึงและใช้ขีดความสามารถ
(11) ให้ผบู้ ญ
ั ชาการกองก�ำลังรบร่วม จัดตัง้ ระบบหลายโดเมนทีม่ รี ะบบ
ผู้น�ำและก�ำลังทหารที่มีความสามารถท�ำงานในสภาพแวดล้อม
การปฏิบัติการที่มีการแข่งขันสูงไม่สามารถแยกออกจากส่วนที่
เหลือของกองก�ำลังรบร่วม หรือจากพันธมิตรได้อย่างง่ายดาย
และสามารถด�ำเนินการซ้อมรบอย่างอิสระและใช้การยิงข้าม
โดเมน สิ่งนี้ต้องการความยั่งยืนที่เพิ่มขึ้นของระบบและผู้น�ำ
และกองก�ำลังทหารทีย่ งั คงท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพในสภาพ
แวดล้อมและเงื่อนไขที่เข้มงวด
(12) การรวมผลประโยชน์ ผ่านความชัดเจนของข้อผูกพันด้านการรักษา
ความมั่นคงของสหรัฐอเมริกาต่อพันธมิตรผ่านการฝึกซ้อมแบบ
รวมการ การฝึกอบรมและกิจกรรมการปรากฏตัวอื่น ๆ
(13) เสริมขีดความสามารถทางบก ทางอากาศและทางทะเลด้วย
การปฏิบัติการในอวกาศ ไซเบอร์สเปซและระบบการจัดการ
สภาพแวดล้อมเพือ่ การใช้ประโยชน์จากหน้าต่างแห่งความเหนือ
กว่าสร้างอุปสรรคส�ำหรับศัตรูในขณะที่ปกป้องความสามารถ
หยุดชะงักและ/หรือถูกปฏิเสธสภาพแวดล้อมการปฏิบัติการ

104
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(14) การรักษาและใช้ประโยชน์สงู สุดจากทหารทีม่ คี ณ


ุ ภาพสูง มีรา่ งกาย
ที่สมบูรณ์ มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติการของ
การยุทธ์หลายมิติ
ง. แนวคิดการยุทธ์หลายมิติ ของกองทัพบกสหรัฐฯ เป็นตัวผลักดัน
การทดสอบความสามารถและการพัฒนาหลัก นิ ย ม และก� ำ หนดกรอบการ
แลกเปลี่ยนขององค์กรและบังคับให้มีการตัดสินใจเกี่ยวกับท่าทีและขีดความ
สามารถของกองทัพบก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกองก�ำลังรบร่วม เพื่อขัดขวาง
คู่ต่อสู้ที่ใช้ระบบของจีนและรัสเซียใน ปัจจุบัน การยุทธ์หลายมิติ เป็นแนวคิด
ของกองทัพบกซึง่ ได้รบั การมีสว่ นร่วม และพันธมิตรอืน่ ๆ ซึง่ อธิบายถึงการมีสว่ น
ร่วมของกองทัพบกและข้อก�ำหนดส�ำหรับการทัพร่วมกัน การพัฒนาในอนาคต
ของการยุทธ์หลายมิติ จะทดสอบวิธีการปฏิบัติงานที่อธิบายไว้ในแนวคิดฉบับนี้
ในสถานการณ์อื่น ๆ และด้วยการมีส่วนร่วมที่มากขึ้นจากกองก�ำลังรบร่วมและ
พันธมิตร

105
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ภาคผนวก
ผนวก ก
สมมติฐาน

ก-1 สมมติฐานอ้างอิง
ก. กองทัพบกสหรัฐฯ ยังคงเป็นก�ำลังพลมืออาชีพและสมัครเข้ารับใช้
ชาติทั้งหมด และขึ้นอยู่กับองค์ประกอบย่อยทั้งหมดของกองทัพบกเพื่อภารกิจ
ในอนาคต
ข. กองทัพจะปรับตัวให้เข้ากับข้อจ�ำกัด ทางการเงินและมีทรัพยากร
เพียงพอทีจ่ ะรักษาสมดุลของความพร้อมรบ โครงสร้างก�ำลังพล และความทันสมัย
ที่จ�ำเป็นเพื่อสนองความต้องการของยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศในช่วงเวลา
ระยะกลางถึงระยะไกล (2020 ถึง 2040)
ค. ยกเว้นการตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ โดยทันทีกองทัพบก
จะด�ำเนินการเป็นส่วนหนึง่ ของทีมปฏิบตั กิ ารร่วม ระหว่างหน่วยงานและ ผูป้ ฏิบตั ิ
ในเวทีระหว่างประเทศ

ก-2 สมมติฐานพื้นฐาน
ก. ฝ่ายตรงข้ามจะท้าทายผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ด้วยเครื่องมือและ
วิธกี ารทีต่ ำ�่ กว่าขีดจ�ำกัดความขัดแย้งทางอาวุธและไม่ถงึ ระดับทีส่ หรัฐฯ พิจารณา
ว่าเป็นสงคราม
ข. ฝ่ายตรงข้ามสามารถเข้าสูก่ ารขัดกันทางอาวุธ ผ่านทางการปฏิบตั กิ าร
ในภูมิภาคด้วยการเตือนอย่างจ�ำกัด เพื่อยึดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่จ�ำกัด
และสิ้นสุดการปฏิบัติภายในไม่กี่วันหรือไม่กี่สัปดาห์

106
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ค. การแพร่กระจายของอาวุธทีม่ คี วามแม่นย�ำน�ำ การป้องกัน ทางอากาศ


แบบบูรณาการ อาวุธไซเบอร์สเปซ อาวุธ ต่อต้านอวกาศ และเทคโนโลยีอื่น ๆ
ช่วยให้ฝ่ายตรงข้ามที่มีศักยภาพมีจ�ำนวนมากขึ้นในการแข่งขันและมีความเสี่ยง
ต่อกองก�ำลังสหรัฐฯ ในทุกมิติ, EMS และสภาพแวดล้อมข้อมูล ระดับยุทธวิธี
ยุทธการ และยุทธศาสตร์
ง. หน่วยงานทางการเมืองของสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรจะอนุมตั แิ ละ
จัดให้มีก�ำลังพร้อมรบที่เพียงพอต่อการในการตอบสนองและเอาชนะคู่ต่อสู้
ระยะใกล้หากการป้องกันยับยั้งล้มเหลว
จ. รัฐบาลสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรจะให้หน่วยงานทีม่ อี ำ� นาจเป็นมิตร
ในการเตรียมการปฏิบตั งิ านด้านสิง่ แวดล้อม รวมถึง EMS ทีน่ า่ รังเกียจทีม่ อี นั ตราย
ไซเบอร์สเปซพื้นที่การสู้รบที่ไม่เป็นทางการ
ฉ. สหรัฐอเมริกาและรัฐบาลพันธมิตร กองบัญชาการและ ก�ำลังในพืน้ ที่
ด�ำเนินการพัฒนาระบบการท�ำงานร่วมกันอย่างยัง่ ยืนระหว่าง เหล่าทัพ หน่วยงาน
ของรัฐ และพันธมิตร เพื่อด�ำเนินการร่วมกันในการขัดขวางและเอาชนะคู่ต่อสู้
ช. ทั้งสหรัฐฯ และศัตรูจะไม่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ การใช้อาวุธดังกล่าว
จะเปลี่ยนแปลงบริบทเชิงยุทธศาสตร์อย่างมีนัยส�ำคัญซึ่งจ�ำเป็นต้องใช้แนวทาง
การปฏิบตั ทิ แี่ ตกต่างกัน (ข้อสันนิษฐานนีไ้ ม่ได้หมายความว่าแนวคิดนีเ้ พิกเฉยต่อ
การคุกคามของอาวุธนิวเคลียร์กองทัพบกจะต้องมีความยืดหยุ่นต่อการโจมตี
ทุกรูปแบบที่เป็นไปได้ นอกจากนี้ผู้บังคับบัญชาจะต้องค�ำนึงถึงความเป็นไปได้
ของการโจมตีด้วยนิวเคลียร์ในการก�ำหนดแผนการ ความเสี่ยงของการยกระดับ
ที่อาจน�ำไปสู่ข้อจ�ำกัดในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสถานที่และวิธีการในการท�ำงาน
ของกองก�ำลังร่วม)

107
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ผนวก ข
ขีดความสามารถหลักที่ต้องการ

ข-1 กล่าวน�ำ
ผนวกนีเ้ ป็นการอธิบายถึงขีดความสามารถทีจ่ ำ� เป็นในการปฏิบตั ิ MDO
ตามที่กล่าวไว้ตามหลักการนี้
ข-2 ขีดความสามารถที่ต้องการ
ก. เพือ่ ด�ำเนินการ MDO ในสภาพแวดล้อมทีม่ กี ารช่วงชิงสูง กองทัพบก
จ�ำเป็นต้องมีความสามารถในการปรับการวางก�ำลังตามที่ตั้งทางภูมิศาสตร์และ
ส่วนประกอบทัง้ หมดของกองทัพบกเพือ่ เอาชนะการรุกรานของจีนและรัสเซียใน
การแข่งขันและขัดขวางการเพิม่ ขึน้ ของการขัดกันทางอาวุธ (สนับสนุนโดยล�ำดับ
ความส�ำคัญการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ของกองทัพบก : การยิงระยะไกลที่แม่นย�ำ)
ข. เพือ่ ด�ำเนินการ MDO ในสภาพแวดล้อมทีม่ กี ารช่วงชิงสูง กองทัพบก
จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ค วามสามารถในการเตรี ย มสภาพแวดล้ อ มในการปฏิ บั ติ ง าน
โดยการสร้างขีดความสามารถร่วมและการปฏิบัติงานร่วมและก�ำหนดยุทธ
บริเวณผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การก�ำหนดสิทธิพื้นฐานและการเข้าถึง, การวาง
ที่ตั้งล่วงหน้าให้กับอาวุธยุทโธปกรณ์, จัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว และ
การแม็พปิ่ง EMS และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (สนับสนุนโดยล�ำดับความส�ำคัญ
การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ของกองทัพบก : เครือข่ายกองทัพบก)
ค. เพือ่ ด�ำเนินการ MDO ในสภาพแวดล้อมทีม่ กี ารช่วงชิงสูงกองทัพบก
จ�ำเป็นต้องมีความสามารถในการสร้างขีดความสามารถและความสามารถ
ของพันธมิตรเพื่อเอาชนะการสู้รบนอกแบบที่สนับสนุนโดยจีนและรัสเซีย และ
สงครามข่าวสารที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
ง. ในการด�ำเนินการของ MDO ในสภาพแวดล้อมที่มีการช่วงชิงสูง
กองทัพบกจ�ำเป็นต้องมีความสามารถในการเตรียมสภาพแวดล้อมการปฏิบตั งิ าน

108
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ส�ำหรับการแข่งขันและความขัดแย้ง โดยการสร้างความเข้าใจและความสามารถ
ในพื้นที่เมืองที่มีความส�ำคัญเชิงปฏิบัติการหรือระดับยุทธศาสตร์
จ. ในการด�ำเนินการ MDO ในสภาพแวดล้อมทีม่ กี ารช่วงชิงสูง กองทัพบก
ต้องการระบบส่งก�ำลังบ�ำรุงทีม่ คี วามแม่นย�ำซึง่ ให้ความสามารถด้านการพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง ว่องไว และตอบสนองที่จ�ำเป็นต่อการสนับสนุนการด�ำเนินงาน
จากพื้นที่สนับสนุนยุทธศาสตร์สู่พื้นที่ด�ำเนินกลยุทธ์ทางลึก ระบบส่งก�ำลังบ�ำรุง
ทีแ่ ม่นย�ำเกิดขึน้ โดย : ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสนับสนุนการวางแผนทรัพยากร
ขององค์กร ด้วยเครื่องมือการวิเคราะห์เชิงพยากรณ์และความสามารถในการ
ส่งก�ำลัง โดยไม่ตอ้ งร้องขอ และ/หรือ เปลีย่ นเส้นทางการส่งตามล�ำดับความส�ำคัญ,
ภาพการด�ำเนินงานทั่วไปแบบเรียลไทม์ที่สามารถดูได้ โดยผู้บังคับบัญชาและ
เจ้าหน้าที่ส่งก�ำลังที่ระดับหน่วยต่าง ๆ และการลดความต้องการที่ส�ำคัญทั่วทั้ง
กองก�ำลังเพื่อลดความต้องการส่งมอบได้มากถึง 50% และขยายเวลาการปฏิบัติ
การและการเข้าถึงหน่วย
ฉ. ในการด�ำเนินการของ MDO ในสภาพแวดล้อมที่มีการช่วงชิงสูง
กองทัพบกจ�ำเป็นต้องมีอ�ำนาจหน้าที่และสิทธิ์ที่จ�ำเป็นในการปฏิบัติการและ
ส่งผ่านอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในเรื่องความขัดแย้ง
ช. ในการด�ำเนินการของ MDO ในสภาพแวดล้อมที่มีการช่วงชิงสูง
กองทัพบกจ�ำเป็นต้องมีความสามารถในการด�ำเนินการ MDO ในภูมิประเทศ
ที่เป็นเมืองด้วยกลยุทธ์และความสามารถที่เพิ่มความแม่นย�ำ, ความเร็ว และ
การประสานสอดคล้องของอาวุธร้ายแรงและอาวุธไม่รา้ ยแรง (สนับสนุนโดยล�ำดับ
ความส�ำคัญการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ของกองทัพบก : การยิงระยะไกลที่แม่นย�ำ,
รถรบรุ่นต่อไป, เครือข่ายกองทัพ, Lethality ของทหาร)
ซ. เพือ่ ด�ำเนินการ MDO ในสภาพแวดล้อมทีม่ กี ารช่วงชิงสูง กองทัพบก
จ�ำเป็นต้องมีความสามารถในการสนับสนุนการบรรยายข้อมูลของสหรัฐอเมริกา
ที่ น ่ า เชื่ อ ถื อ ผ่ า นการปฏิ บั ติ ข ้ า มมิ ติ ที่ สื่ อ สารและตอบโต้ ภั ย คุ ก คามจาก

109
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

การลาดตระเวน, โจมตี, ก�ำลังรบผสมเหล่า และการปฏิบัติสงครามนอกแบบ


ของจีนและรัสเซีย
ด. เพือ่ ด�ำเนินการ MDO ในสภาพแวดล้อมทีม่ กี ารช่วงชิงสูง กองทัพบก
จ�ำเป็นต้องมีความสามารถในการท�ำให้ผบู้ งั คับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการในแต่ละ
ระดับ สามารถเพื่อให้เห็นภาพและสั่งการได้ในทุกมิติ, EMS และสภาพแวดล้อม
ข่าวสาร และการยกระดับขีดความสามารถอย่างรวดเร็วระหว่างมิติและการจัด
หน่วยสู่การรบขนาดใหญ่กับช่องโหว่ของจีนและรัสเซีย สิ่งนี้ต้องใช้เครื่องมือ
ใหม่ในการผสานความสามารถอย่างรวดเร็วยิ่งขึ้นในกองก�ำลังร่วม, การเปลี่ยน
กระบวนทัศน์การฝึกอบรม และการเปลีย่ นแปลงวิธกี ารบริหารบุคลากรและความ
สามารถ สิ่งนี้ยังก�ำหนดว่ากองทัพต้องได้รับการฝึกฝน การบรรจุก�ำลังพล และ
พร้อมที่จะใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่มีอยู่ทั้งหมด ทั้งในระดับชาติ ปฏิบัติการร่วม
เอกชน หรือโดยตรงจากเครือ่ งมือรวบรวมข่าวสารทีท่ นั เวลา (สนับสนุนโดยล�ำดับ
ความส�ำคัญของการปรับปรุงกองทัพยุทโธปกรณ์ : เครือข่ายกองทัพ, Lethality
ของทหาร)
ต. ในการด�ำเนินการ MDO ในสภาพแวดล้อมทีม่ กี ารช่วงชิงสูง กองทัพบก
จ�ำเป็นต้องมีความสามารถในการจัดเตรียมรูปแบบและระบบหลายมิติของ
ผู้บัญชาการกองก�ำลังร่วม ที่สามารถรวมความสามารถในการโจมตีช่องโหว่
โดยเฉพาะต่อจีนและรัสเซีย ซึ่งหมายถึงการสร้างการก่อตัวทางยุทธวิธีและ
ผู้น�ำที่สามารถคิดรอบด้านผ่านการเข้าถึงและ/หรือใช้ความสามารถที่มีอยู่ใน
กองก� ำ ลั ง ร่ ว ม (สนั บ สนุ น โดยล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ ของการปรั บ ปรุ ง กองทั พ
ยุทโธปกรณ์ : การยิงระยะไกลทีม่ คี วามแม่นย�ำ, ยานรบยุคต่อไป, การเคลือ่ นย้าย
ในแนวตั้งในอนาคต, Lethality ของทหาร)
ถ. เพือ่ ด�ำเนินการ MDO ในสภาพแวดล้อมทีม่ กี ารช่วงชิงสูง กองทัพบก
จ�ำเป็นต้องมีการประกอบก�ำลังหลายมิติที่ยืดหยุ่นกับระบบ ผู้น�ำ และทหาร
ที่มีความทนทานสามารถยืนหยัดในสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ยากล�ำบาก

110
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ไม่สามารถแยกได้จากส่วนที่เหลือของกองก�ำลังร่วมหรือพันธมิตร และสามารถ
ด�ำเนินกลยุทธ์อย่างอิสระและใช้การยิงข้ามมิติ สิ่งนี้ต้องการความสามารถด�ำรง
อยู ่ ข องระบบและการจั ด หน่ ว ย และผู ้ น� ำ และทหารที่ ยั ง คงท� ำ งานอย่ า งมี
ประสิทธิภาพในสภาพแวดล้อมและเงื่อนไขที่เข้มงวด (สนับสนุนโดยล�ำดับความ
ส�ำคัญของการปรับปรุงกองทัพยุทโธปกรณ์ : การยิงระยะไกลที่แม่นย�ำ, ยานรบ
ยุคต่อไป, การเคลื่อนย้ายในแนวตั้งในอนาคต, เครือข่ายกองทัพ, การป้องกันภัย
ทางอากาศและขีปนาวุธ, Lethality ของทหาร)
ท. เพือ่ ด�ำเนินการ MDO ในสภาพแวดล้อมทีม่ กี ารช่วงชิงสูง กองทัพบก
ต้องการความสามารถในการรวมประโยชน์จากการแสดงให้เห็นถึงพันธกรณี
ด้านความปลอดภัยของสหรัฐอเมริกาให้กับพันธมิตรผ่านการฝึกร่วม, การฝึก
อบรมและกิจกรรมอื่น ๆ
น. เพือ่ ด�ำเนินการ MDO ในสภาพแวดล้อมทีม่ กี ารช่วงชิงสูง กองทัพบก
ต้องการความสามารถในการท�ำให้ความสามารถทางบก ทางอากาศ และทางทะเล
พร้อมด้วยการปฏิบัติการในอวกาศ ไซเบอร์สเปซ และ EMS เพื่อสนับสนุนและ
การใช้ประโยชน์จากโอกาสแห่งความได้เปรียบ, สร้างความสับสนให้กับข้าศึกใน
ขณะที่ท�ำการปกป้องขีดความสามารถในการปฏิบัติของฝ่ายเราไม่ให้ถูกรบกวน
และ/หรือถูกปฏิเสธโดยสภาพแวดล้อมการปฏิบัติ
บ. ในการด�ำเนินการของ MDO ในสภาพแวดล้อมที่มีการช่วงชิงสูง
กองทัพบกต้องดึงดูด รักษา และใช้ประโยชน์สูงสุดจากทหารที่มีคุณภาพสูง
มีความเหมาะสมทางร่างกายและจิตใจทีแ่ ข็งแกร่ง ซึง่ มีทกั ษะและความเชีย่ วชาญ
ในการปฏิบัติการ MDO

111
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ผนวก ค
แนวความคิดการสนับสนุน MDO

ค-1 การด�ำเนินกลยุทธ์ตาม MDO


ก. การด�ำเนินกลยุทธ์คือความสอดคล้องของการเคลื่อนที่และการ
ยิงเพื่อให้ได้ต�ำแหน่งที่ได้เปรียบซึ่งเอาชนะศัตรูได้ การเคลื่อนที่คือการปรับ
ต�ำแหน่งทางกายภาพของขีดความสามารถต่าง ๆ ไปยังที่ตั้งที่เหมาะสมมากขึ้น
นอกเหนือจากผลกระทบทางกายภาพของการเปลี่ยนที่ตั้งแล้ว การเคลื่อนที่มัก
จะสร้างผลกระทบต่อความคิดกับศัตรูเช่นกันความสามารถทางทหารทัง้ หมดเกิด
จากที่ตั้งทางกายภาพและการเคลื่อนที่ (ในบางรูปแบบ) เมื่อมีการน�ำไปปฏิบัติ
แม้ความสามารถเหล่านัน้ ตัง้ ใจทีจ่ ะสร้างผลกระทบทางความคิดหรือภาพเสมือน
จริง การยิงคือผลกระทบของการท�ำลายล้างหรือก่อกวนที่ส่งผลต่อการประกอบ
ก�ำลังหรือประโยชน์อนื่ ๆ ต่อข้าศึก การยิงสามารถสร้างการรวมกันของผลกระทบ
ทางกายภาพ เสมือนจริง และการรับรูใ้ ห้กบั ข้าศึก การยิง ไม่วา่ จะเป็นแบบส่วน ๆ
หรือเป็นระลอกนัน้ ต้องเคลือ่ นทีผ่ า่ นมิตติ า่ ง ๆ เพือ่ ไปยังเป้าหมายทีต่ ง้ั ไว้ ซึง่ เป็น
ทีต่ งั้ ทางกายภาพแม้วา่ เป้าหมายเหล่านัน้ คือเครือ่ งคอมพิวเตอร์หรือจิตใจมนุษย์
ข. MDO ต้องการใช้การยิงและการด�ำเนินกลยุทธ์เพือ่ ด�ำเนินการภายใน
และระหว่างมิตกิ ารรบ การยิงข้ามมิตแิ ละการด�ำเนินกลยุทธ์ขา้ มมิตใิ ช้ประโยชน์
จากโอกาสจากหนึ่งหรือหลายมิติ ที่มีจุดประสงค์เพื่อให้ได้เปรียบในมิติอื่น ๆ
(1) การด�ำเนินกลยุทธ์ข้ามมิติ คือ การใช้ความสามารถร่วมกันจาก
ขีดความสามารถในการท�ำลายล้างของหลายมิติ เพื่อสร้างเงื่อนไขที่ออกแบบ
มาเพื่อสร้างความเหนือกว่าและความยากล�ำบากในหลาย ๆ ด้านให้กับข้าศึก
และท�ำให้กองก�ำลังร่วมมีเสรีภาพในการเคลื่อนที่และการปฏิบัติ

112
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(2) การยิงสนับสนุนข้ามมิติ คือ การบูรณาการและส่งมอบการยิง


ที่เป็นอันตรายและไม่เป็นอันตรายในทุกมิติ (ภาคพื้น, ทะเล, อากาศ, อวกาศ
และไซเบอร์สเปซ), EMS และสภาพแวดล้อมข่าวสาร
ค. การด�ำเนินกลยุทธ์ข้ามมิติและการยิงข้ามมิติ เป็นการตระหนักว่า
ผู้บังคับบัญชาต้องเห็นภาพและใช้ประโยชน์จากผลกระทบทางกายภาพ เสมือน
จริง และปฏิกริ ยิ ารับรู้ ของการด�ำเนินกลยุทธ์และการยิงสนับสนุนในหลายโดเมน
และสภาพแวดล้อมในห้วงเวลาตัวอย่างเช่น หน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ภาคพื้นจะต้อง
ด�ำเนินการในมิติทางอากาศและทางทะเล ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยเหนือหรือหน่วย
ข้างเคียงในพื้นที่ปฏิบัติการ เช่นเดียวกับ ไซเบอร์สเปซ, EMS ปฏิบัติการข่าวสาร
และกิจด้านอวกาศ ที่สามารถส่งผลกระทบต่อปฏิบัติที่เป็นมิตร จากการจ�ำลอง
ภาพข้อมูลดังกล่าว ผูบ้ งั คับบัญชาจะต้องรวมขีดความสามารถของหน่วยรองและ
กองก�ำลังร่วมให้ทันเวลาและถูกที่ เพื่อท�ำการบ่งชี้ ก�ำหนด และ แสวงประโยชน์
จากโอกาสของการได้เปรียบดังกล่าว

ค-2 กรอบความคิด MDO


ก. สภาพแวดล้อมในการปฏิบตั งิ าน ภัยคุกคาม และปัญหาทีค่ าดการณ์
ไว้ใน MDO ต้องการกรอบที่ท�ำให้เกิดความซับซ้อนของสภาพแวดล้อมหลายมิติ
เนื่ อ งจากข้ า ศึ ก ที่ มี ขี ด ความสามารถใกล้ เ คี ย งสามารถโต้ ต อบและสามารถ
หลีกเลีย่ งทุกมิติ EMS และสภาพแวดล้อมข่าวสาร ในระยะทางไกล ปัญหาในปัจจุบนั
และทีค่ าดการณ์ในอนาคตเกินกว่าสิง่ ทีจ่ ะได้รบั มอบหมายภายในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร
เดียวภายใต้กรอบปฏิบัติการร่วมปัจจุบัน กรอบการท�ำงานของ MDO จะต้อง
ค�ำนึงถึงทุกมิติขยายไปถึงพื้นที่และไซเบอร์สเปซ เช่นเดียวกับ EMS และสภาพ
แวดล้อมข่าวสาร เนื่องจากกิจกรรมในมิติเหล่านี้ในช่วงเวลานั้นก่อให้เกิด
ผลกระทบทางยุทธวิธี ยุทธการ และยุทธศาสตร์ ที่ไม่ได้ครอบคลุมอยู่ในกรอบ

113
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ปฏิบัติการร่วมกรอบการปฏิบัติงานที่ขยายในหลายมิติช่วยให้ผู้บังคับบัญชา
สามารถจัดการการด�ำเนินงานในสภาพแวดล้อมการปฏิบตั งิ าน กรอบการท�ำงาน
ของ MDO (ดูรูปที่ 2-1) เป็นกรอบทางกายภาพที่ขยายเพิ่มขึ้น เพื่ออ้างอิง
การด� ำ เนิ น การทั่ ว ทุ ก มิ ติ EMS และสภาพแวดล้ อ มข่ า วสารที่ ด� ำ เนิ น การ
โดยกองก�ำลังร่วม พันธมิตร ฝ่ายตรงข้าม และศัตรู
ข. เนือ่ งจากกรอบ MDO เป็นระดับยุทธการ จึงถูกก�ำหนดไว้ในห้วงทีเ่ ป็น
กายภาพ แง่มุมที่เป็นนามธรรมชัดเจนยิ่งขึ้นในบางมิตินั้นมีพื้นฐานทางกายภาพ
เช่นกันแม้จะมีการน�ำเสนอทีไ่ ม่เป็นสาระส�ำคัญ ในบางจุดองค์ประกอบนามธรรม
ทัง้ หมด (องค์ความรู้ ข้อมูลเสมือนจริง ข้อมูล และความเป็นมนุษย์) แสดงให้เห็น
ถึงผลกระทบของสิ่งเหล่านั้นทางกายภาพในสถานที่หรือในพื้นที่ผ่านระบบหรือ
คน การเป็นตัวแทนองค์ประกอบเหล่านี้ในกรอบการท�ำงานมิติที่ซับซ้อนช่วยให้
เข้าใจสภาพแวดล้อมการปฏิบตั กิ ารหลายมิตทิ ซี่ บั ซ้อนมากส�ำหรับผูบ้ งั คับบัญชา
และฝ่ายอ�ำนวยการ ค�ำอธิบายต่อไปนี้ กล่าวถึงแนวความคิดที่จัดให้กิจกรรม
และที่ตั้งที่เป็นมิตรและเป็นภัยทั้งหมด อยู่ในกลุ่มของห้วงทางกายภาพที่เป็นขั้น
การวาดภาพการรบพื้นฐาน
ค. พื้นที่ในกรอบงาน MDO นั้นถูกก�ำหนดโดยการผสมผสานของ
ขีดความสามารถ (ทั้งมิตรและข้าศึก) ที่มีอยู่ส�ำหรับการใช้งานภายในแต่ละพื้นที่
MDO มีรูปแบบที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่เพราะทั้งสองฝ่ายมีความสามารถ
ที่แตกต่างกันส�ำหรับการแข่งขันและการต่อสู้ เนื่องจากสนามรบที่ขยายที่
ซึ่งการปฏิบัติพื้นที่หนึ่งสามารถมีอิทธิพลต่อพื้นที่อื่น ความกว้างของสนามรบ
จึงต้องอยู่ในกรอบที่เรียบง่ายเพียงกรอบเดียวเพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์
ที่มีความซับซ้อนในบางครั้ง แม้ว่าจะอธิบายเชิงเรขาคณิตเพื่อความง่าย แต่พื้นที่
ภายในกรอบไม่ได้ถกู ก�ำหนดโดยพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์หรือความสัมพันธ์ ยกตัวอย่าง
เช่ น ในบางยุ ท ธบริ เวณ พื้ น ที่ ด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ใ นทางลึ ก อาจอยู ่ ติ ด กั บ พื้ น ที่

114
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

การสนับสนุน เนื่องจากประเภทของขีดความสามารถที่มีในแต่ละฝ่าย ลักษณะ


ที่สมบูรณ์ของความสามารถในการปฏิบัติการร่วมกัน ท�ำให้กองก�ำลังร่วมมีทาง
เลือกหลายทางส�ำหรับการด�ำเนินกลยุทธ์ในพื้นที่ที่ไม่สามารถเข้าถึงด้วยก�ำลัง
เหล่าทัพเดียวและแบบมิติเดียว ค�ำอธิบายดังกล่าวนี้ของสนามรบไม่ได้จับภาพ
ถึงห้วงทั้งหมดของสถานที่และเวลา ที่ขีดความสามารถที่เป็นมิตรและศัตรูมี
การปฏิบัติต่อกันในสภาพแวดล้อมการปฏิบัติการปัจจุบันและอนาคต จ�ำนวนที่
เพิม่ ขึน้ ของพืน้ ทีส่ นามรบ การขยายพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ และขอบเขตเวลาทีข่ ยาย
ออกไปเป็นคุณสมบัติใหม่ของ MDO
ง. พื้นที่กรอบความคิด MDO
(1) พื้นที่การยิงทางลึก : พื้นที่การยิงทางลึกระดับยุทธการและ
ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยพืน้ ทีก่ ารยิงทางลึกหลาย ๆ พืน้ ที่ พืน้ ทีเ่ หล่านีถ้ กู ก�ำหนด
ให้เป็นพื้นที่ที่อยู่นอกเหนือช่วงการเคลื่อนไหวที่เป็นไปได้ส�ำหรับกองก�ำลังรบ
ตามแบบ แต่การยิงร่วม, หน่วยรบพิเศษ, ข้อมูลข่าวสาร และความสามารถเสมือน
สามารถใช้ร่วมได้ พื้นที่การยิงเชิงลึกระดับยุทธการและยุทธศาสตร์นั้นแตกต่าง
กันตามประเภทของขีดความสามารถหรือได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติการในแต่ละ
พื้นที่ พื้นที่เหล่านี้อยู่ไกลเกินไป (เกินขอบเขตการปฏิบัติ) ส�ำหรับกองก�ำลังรบ
ตามแบบด�ำเนินกลยุทธ์ที่จะเข้าถึงหรือไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าถึงตามนโยบาย
(เช่น ชายแดนระหว่างประเทศ) ดังนั้นการปฏิบัติในพื้นยิงทางลึก จึงถูกจ�ำกัด
เฉพาะความสามารถทางกายภาพและเสมือนตามกฎหมายหรือนโยบาย และ
ที่สามารถด�ำเนินการศูนย์กลางของการป้องกันของข้าศึก ความสามารถในการ
เข้าถึงที่จ�ำกัดและความยากล�ำบากในการปฏิบัติงานทางลึกในพื้นที่ของข้าศึก
นั้น ท�ำให้เกิดข้อดีต่อขีดความสามารถในการรวมและใช้ความสามารถที่มีอยู่ใน
ทุกมิติ, EMS และสภาพแวดล้อมข่าวสาร

115
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(2) พื้นที่ด�ำเนินกลยุทธ์ทางลึก : พื้นที่นี้เป็นพื้นที่ที่มีการแข่งขันที่มี


การด�ำเนินกลยุทธ์ (พื้นดินหรือทางทะเล) แต่ต้องการการสนับสนุนที่ส�ำคัญจาก
ขี ด ความสามารถหลายมิ ติ ผู ้ บั ง คั บ การต้ อ งใช้ ค วามพยายามร่ ว มกั น ในการ
“บุกเข้า” พื้นที่ด�ำเนินกลยุทธ์ทางลึก เนื่องจากความสามารถที่เป็นมิตรมากขึ้น
มีห้วงและความสามารถในการอยู่รอดที่จะมีอิทธิพลหรือด�ำเนินการภายในพื้นที่
นี้มากกว่าในพื้นที่ยิงทางลึก และเนื่องจากผู้บังคับบัญชาสามารถใช้ประโยชน์
จากการรวมกันของการยิงและการเคลื่อนที่ จึงมีตัวเลือกมากมายส�ำหรับกอง
ก�ำลังร่วมบนพื้นที่แห่งนี้มากกว่าพื้นที่การยิงทางลึก ยิ่งไปกว่านั้นแล้วการคงอยู่
ของการด�ำเนินกลยุทธ์ของกองก�ำลังภาคพื้นดินและทางทะเลช่วยให้การปฏิบัติ
การด�ำเนินอยู่ได้นานกว่าในพื้นที่ยิงทางลึก ซึ่งผลกระทบมักจะเป็นช่วงเวลาที่
ไม่แน่นอน ในการออกแบบปฏิบัติการส่วนใหญ่นั้นเป้าหมายการปฏิบัติงาน
หลายอย่างอยู่ในพื้นที่ด�ำเนินกลยุทธ์ทางลึก
(3) พื้นที่ระยะใกล้ : พื้นที่ระยะใกล้คือพื้นที่ ฝ่ายเราและฝ่ายข้าศึก,
ก�ำลัง และระบบปฏิบตั กิ ารต่าง ๆ มีความใกล้กนั เข้ามาทางกายภาพ และจะช่วงชิง
เพื่อควบคุมพื้นที่ทางกายภาพเพื่อสนับสนุนวัตถุประสงค์ของปฏิบัติการ พื้นที่
ระยะใกล้รวมถึงพื้นดิน ชายฝั่งทะเล และน่านฟ้าเหนือพื้นที่เหล่านี้ สภาพ
แวดล้อมในการปฏิบัติงานใหม่และขีดความสามารถที่เพิ่มขึ้นของฝ่ายเราและ
ฝ่ายข้าศึก ได้ขยายขอบเขตพื้นที่ระยะใกล้ การปฏิบัติการในพื้นระยะใกล้นั้น
ต้องการจังหวะและความคล่องตัว เพื่อที่จะเอาชนะความสามารถของข้าศึก
ผ่านอ�ำนาจก�ำลังรบที่รวมก�ำลังในเวลาและสถานที่นั้น ๆ ลักษณะของพื้นที่
ระยะใกล้แสดงให้เห็นถึงความท้าทายในการบูรณาการขีดความสามารถข้ามมิติ
เนื่องจากมีเวลาลดลงในการเข้าถึงและใช้ขีดความสามารถ เช่น ความสามารถ
ในการควบคุมจากศูนย์กลาง ผู้บังคับบัญชาใช้ความสามารถจากทุกมิติ, EMS
และสภาพแวดล้อมข้อมูล, หน่วยขึ้นตรงและหน่วยภายนอกในพื้นระยะใกล้

116
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ในการสร้ า งผลกระทบที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ของก� ำ ลั ง ผสมเหล่ า แต่ ค วามเร็ ว ของ


การปฏิบัติ, การประสานงาน และการประสานสอดคล้อง ท�ำให้เกิดความ
เหนือกว่ากับขีดความสามารถของหน่วยรอง การปฏิบัติในพื้นที่ระยะใกล้นั้น
ถูกออกแบบมา เพือ่ สร้างโอกาสทีเ่ หนือกว่าส�ำหรับการด�ำเนินกลยุทธ์ เพือ่ เอาชนะ
กองก�ำลังข้าศึก ท�ำลายขีดความสามารถของข้าศึก ควบคุมพื้นที่ทางกายภาพ
และปกป้องและมีอิทธิพลต่อประชากร
(4) พืน้ ทีส่ นับสนุน : พืน้ ทีส่ นับสนุนเป็นพืน้ ทีท่ กี่ องก�ำลังร่วมพยายาม
รักษาเสรีภาพในการปฏิบัติ ความเร็ว และความว่องไวสูงสุด และเพื่อตอบโต้
ความพยายามหลายมิติของข้าศึก ในการที่จะโจมตีกองก�ำลังพันธมิตรโครงสร้าง
พื้นฐานและประชากร ธรรมชาติของภัยคุกคามเหล่านี้มีความแตกต่างกันไป
ตามข้าศึกแม้ว่าด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบันแทบทุกรูปแบบข้าศึกสามารถเข้าถึง
พื้นที่ชั้นในของประเทศได้ (ตัวอย่างเช่น ผ่านไซเบอร์สเปซ สงครามสารสนเทศ
ตั ว แทน ผู ้ เ ห็ น ต่ า งและอวกาศ) แม้ ว ่ า จะเป็ น เพี ย งการใช้ สื่ อ โซเชี ย ล เพื่ อ
บ่อนท�ำลาย การสนับสนุนจากประชาชนและสนับสนุน “การโจมตีแบบหมาป่า
เดียวดาย (การก่อการร้ายจากบุคคล)” การเข้าถึงอ�ำนาจในระดับภูมิภาค
ก็ เ พิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ย ๆ และคู ่ ต ่ อ สู ้ ที่ ท รงพลั ง ที่ สุ ด ก็ มี ขี ด ความสามารถทางด้ า น
ไซเบอร์สเปซขั้นสูง อวกาศ และความสามารถทางกายภาพ (ทางอากาศทางเรือ
หน่วยปฏิบัติการพิเศษ และ/หรือกองก�ำลังขีปนาวุธ) ที่สามารถช่วงชิงพื้นที่
ส่วนหลังของฝ่ายเราได้ แม้ว่าความสามารถของข้าศึกจะแตกต่างกันไปตาม
สถานการณ์ แต่ข้อก�ำหนดทั่วไปก็คือความต้องการเพื่อให้แน่ใจว่า การแบ่ง
ความรับผิดชอบ ทรัพยากร และอ�ำนาจหน้าที่ของหน่วยงานมีความสอดคล้อง
กั น ในระดั บ ต่ า ง ๆ หน้ า ที่ และสถาบั น ทางการเมื อ ง ดั ง นั้ น พื้ น ที่ ส นั บ สนุ น
จะถู ก แบ่ ง ออกตามความสามารถของฝ่ า ยเราและฝ่ า ยข้ า ศึ ก ที่ ป ฏิ บั ติ ก าร
ในแต่ละพื้นที่

117
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(ก) พืน้ ทีส่ นับสนุนทางยุทธศาสตร์ : บริเวณนีเ้ ป็นพืน้ ทีข่ องการประสาน


การข้ามสายการบังคับบัญชา เส้นทางการติดต่อสือ่ สารทางทะเลและทางอากาศ
และภายในประเทศ ความสามารถด้านนิวเคลียร์ อวกาศ และไซเบอร์สเปซ
ของฝ่ายเรา และโครงสร้างพื้นฐานทางเครือข่ายที่ส�ำคัญ ถูกควบคุมและตั้งอยู่
ในพืน้ ทีส่ นับสนุนทางยุทธศาสตร์ งานด้านส่งก�ำลังบ�ำรุงและการด�ำรงอยูท่ จี่ ำ� เป็น
ในการสนับสนุนการปฏิบัติของ MDO ตลอดการแข่งขันและความขัดกันทาง
อาวุธเกิดขึน้ จากพืน้ ทีส่ นับสนุนทางยุทธศาสตร์ ข้าศึกจะเข้าโจมตีพนื้ ทีส่ นับสนุน
ทางยุทธศาสตร์ เพื่อขัดขวางและลดการใช้งาน และเสริมก�ำลังที่พยายามเข้าถึง
พื้นที่สนับสนุนการปฏิบัติงาน และเปลี่ยนไปยังพื้นที่ระยะใกล้ เพื่อใช้ประโยชน์
จากการเข้าถึงอาวุธทางยุทธศาสตร์ รวมถึงการลาดตระเวนและปฏิบตั กิ ารพิเศษ
และการโจมตี การปะทะของข้าศึกในพื้นที่สนับสนุนทางยุทธศาสตร์จะผลักดัน
ให้มีการปฏิบัติที่รวดเร็วขึ้นของฝ่ายเราในพื้นที่อื่น ๆ เพื่อแสวงหาการตกลงใจ
และจ�ำกัดทางเลือกของข้าศึกไม่ให้มีมากขึ้น
(ข) พื้นที่สนับสนุนทางยุทธการ : คือ พื้นที่ที่เป็นที่ตั้งของ การควบคุม
บังคับบัญชา การด�ำรงสภาพ และขีดความสามารถในการยิง/การโจมตี สิง่ เหล่านี้
อาจได้แก่ฐานทัพภาคพื้นดินหรือทางทะเล โดยปกติแล้วบริเวณนี้จะครอบคลุม
ทั่วทั้งหลายประเทศท�ำให้พื้นที่สนับสนุนทางยุทธการเป็นพื้นที่ส�ำคัญส�ำหรับ
การรวมกันทางการเมืองและการทหารของฝ่ายเรา เนื่องจากความส�ำคัญทาง
การเมืองและการทหารของพื้นที่สนับสนุนทางยุทธการ ข้าศึกจึงมีการปฏิบัติต่อ
พื้นที่นี้ด้วยการลาดตระเวนจ�ำนวนมาก สงครามข่าวสาร และขีดความสามารถ
ในการปฏิบัติการยิง ก�ำลังฝ่ายเรามีการด�ำเนินกลยุทธ์ในพื้นที่สนับสนุนทาง
ยุทธการมักอยู่ในการติดตามเสมอ กองก�ำลังร่วมจะมีการปฏิบัติของฝ่ายเรา
ในพื้นที่นี้โดยการมอบขีดความสามารถที่ส�ำคัญในระหว่างการขัดกันทางอาวุธ
เพื่อสร้างโอกาสที่เหนือกว่าในพื้นที่สนับสนุนทางยุทธการที่ก่อให้เกิดปฏิบัติการ
ของฝ่ายเรา
118
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(ค) พื้นที่สนับสนุนทางยุทธวิธี : คือ พื้นที่ที่ท�ำให้ปฏิบัติการในพื้นที่


ระยะใกล้ การด�ำเนินกลยุทธ์ทางลึก และพื้นที่ยิงสนับสนุนทางลึก ด�ำเนินการได้
นอกจากนั้น การด�ำรงอยู่ของฝ่ายเรา, การยิง, การสนับสนุนการด�ำเนินกลยุทธ์
และขีดความสามารถในการควบคุมบังคับบัญชา ล้วนอยู่ในพื้นที่สนับสนุนทาง
ยุทธวิธี ข้าศึกด�ำเนินการอ�ำนวยการยุทธ์, ท�ำสงครามข่าวสาร, การสูร้ บนอกแบบ,
การยิงยุทธวิธ,ี หน่วยด�ำเนินกลยุทธ์, หรือการยิงทางยุทธการมุง่ ไปทีก่ ำ� ลังฝ่ายเรา,
ประชาชนและพลเรือน ล้วนอยูใ่ นพืน้ ทีส่ นับสนุนทางยุทธวิธี ก�ำลังฝ่ายเราทีอ่ ยูใ่ น
พืน้ ทีส่ นับสนุนทางยุทธวิธจี ะต้องเตรียมพร้อมทีจ่ ะรับมือจากการยิงและเอาชนะ
ด้วยการแทรกซึมของกองก�ำลังข้าศึกผ่านและการบุกทะลวงพื้นที่ระยะใกล้
การเคลือ่ นทีแ่ ละการอยูร่ อดในสนามรบเป็นข้อก�ำหนดทีส่ ำ� คัญส�ำหรับกองก�ำลัง
ฝ่ายเราที่ปฏิบัติการอยู่ในหรือก�ำลังผ่านพื้นที่นี้อย่างรวดเร็ว

ค-3 MDO ระดับของการยุทธ์หลายมิติ


ก. กองทัพบกยุทธบริเวณ
(1) ในการแข่งขันและกลับเข้าสู่การแข่งขัน
 ก�ำหนดเงื่อนไขส�ำหรับการรณรงค์แข่งขันโดยท�ำงานร่วมกับ
พันธมิตรหลายชาติ เพื่อเอาชนะสงครามข่าวสารและการสู้
รบนอกแบบในประเทศที่อยู่ห่างไกลจากฝ่ายตรงข้าม
 แปลความส�ำเร็จทางยุทธวิธีในการเอาชนะสงครามข่าวสาร
และการสูร้ บนอกแบบ โดยใช้การแข่งขันทีด่ เุ ดือดเป็นวิธหี นึง่
ในการกระชับความร่วมมือและปรับปรุงยุทธศาสตร์ของ
สหรัฐอเมริกาในภูมิภาค
 ยับยัง้ ความขัดกันทางอาวุธโดยการสร้างความยืดหยุน่ ในการ
บังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายเรา การด�ำรงอยู่ และ
ความสามารถในการประกอบก�ำลังอืน่  ๆ ทีต่ งั้ อยูใ่ นเขตปฏิบตั ิ
119
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

สนับสนุนทางยุทธการ โดยมุ่งเน้นเฉพาะการใช้งาน APS


อย่างรวดเร็ว
 ประสานงานกับพันธมิตรในการป้องกันไซเบอร์สเปซของ
ระบบการส่งก�ำลังบ�ำรุงและการขนส่งทีส่ ำ� คัญ ด้วยการพัฒนา
ความยืดหยุ่น โดยการสร้างแผนส�ำรองเพื่อให้มั่นใจถึงการ
ด�ำรงอยู่ในสนามรบ
 สร้างสถาปัตยกรรมการข่าวกรองยุทธบริเวณ ให้เข้าถึง
การรวบรวม และฐานข้อมูล ด�ำเนินการแหล่งข่าวทางเปิด
เพื่อสนับสนุน IEO สร้างความร่วมมือด้านการข่าวกรอง
สนับสนุนการปฏิบัติร่วมกันด้านการข่าว และจัดให้มีการ
ต่อต้านการข่าวกรองเพื่อสนับสนุนการพิทักษ์หน่วยในพื้นที่
สนับสนุนทางยุทธการ
(2) ในระดับความขัดแย้ง
 ตอบโต้การปฏิบัติการพิเศษของข้าศึกต่อพื้นที่สนับสนุนทาง
ยุทธการ ด้วยการจัดให้มีปฏิบัติการด้านการข่าวกรอง และ
ผู้ปฏิบัติกับกองก�ำลังพันธมิตร
 ใช้ร่วมกับส่วนประกอบอื่น ๆ จัดให้มีการป้องกันขีปนาวุธ
และอาวุธน�ำวิถีส�ำหรับเป้าหมายที่ส�ำคัญ
 จัดให้มีการด�ำเนินกลยุทธ์ร่วม ในพื้นที่ระยะใกล้และพื้นที่
ทางลึกผ่านการยิงระยะไกลโดยค�ำสัง่ ของส่วนควบคุมการยิง
สนับสนุนยุทธบริเวณ
 ประสานงานการปฏิบตั ทิ างอวกาศเชิงรุกเพือ่ สนับสนุนก�ำลัง
ทางบก

120
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ข. กองทัพบกสนาม
(1) ในการแข่งขันและกลับเข้าสู่การแข่งขัน
 ก�ำหนดแผนการทัพผ่านข่าวกรองยุทธวิธแี ละข่าวกรองเทคนิค
ที่มุ่งเน้นไปที่ร ะบบทางทหารฝ่ า ยตรงข้ า มที่ ส� ำ คั ญ ซึ่ ง จะ
ขับเคลื่อนการสู้รบและการใช้แผน การฝึก และการตัดสินใจ
ด้านทรัพยากร
 ก�ำหนดแผนการทัพผ่านการสร้างแนวระบบลาดตระเวน
และเฝ้าตรวจ ISR หลายชั้น ในพื้นที่ที่มีแนวโน้มการรุกราน
ของข้าศึก
 ประสานงานกับก�ำลังรบทางอากาศ เพื่อให้แน่ใจว่ามีการ
สนับสนุนอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ระยะใกล้
 ก�ำหนดเงื่อนไขส�ำหรับจัดท�ำแผนการทัพที่ได้เปรียบ โดย
ท�ำงานร่วมกับพันธมิตรร่วม เพื่อตอบโต้สงครามข่าวสาร
และการสู้รบนอกแบบในประเทศที่ถูกคุกคามโดยฝ่ายตรง
ข้ามมากที่สุด
 แปลความส�ำเร็จทางยุทธวิธีในการตอบโต้สงครามข่าวสาร
และการรบนอกแบบ โดยใช้การแข่งขันที่ดุเดือดเป็นวิธีหนึ่ง
ในการกระชับความร่วมมือและปรับปรุงท่าทีทางยุทธศาสตร์
ของสหรัฐอเมริกา ในภูมิภาคกับพันธมิตรที่ถูกคุกคามมาก
ที่สุด
 ยับยัง้ การขัดกันทางอาวุธโดยการสร้างความยืดหยุ่นในพื้นที่
สนับสนุนทางยุทธวิธี เพื่อให้กองก�ำลังสหรัฐฯ และพันธมิตร
สามารถแสดงพลังที่น่าเชื่อถือ ภายในขอบเขตของระบบ
ต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธพื้นที่ของข้าศึก

121
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ประสานการด�ำเนินงานด้านสภาพแวดล้อมข้อมูลเพือ่ ต่อต้าน

การสร้างเรื่องของข้าศึก ในประเทศพันธมิตรที่ถูกคุกคาม
มากที่สุด
(2) ในระดับความขัดแย้ง
 ตอบโต้ก ารปฏิบัติของหน่วยรบพิ เ ศษของข้ า ศึ ก ที่ ปฏิ บัติ
ต่อพืน้ ทีส่ นับสนุนทางยุทธการ ด้วยการจัดให้มกี ารปฏิบตั กิ าร
ข่าวกรองและการปฏิบัติของหน่วยรักษาความปลอดภัยของ
พันธมิตร
 จั ด ให้ มี ร ะบบลาดตระเวนและเฝ้ า ตรวจของกองทั พ บก
ที่ชั้นความสูง เพื่อเป็นการต่อต้านการข่าวกรองของข้าศึก
ในเรื่อง IADS ระยะกลางและการยิง
 ประสานงานการยุทธ์บรรจบทีซ่ บั ซ้อน (การโจมตีทางอากาศ,
ทางทะเลและไซเบอร์สเปซ) เพือ่ สนับสนุนการด�ำเนินกลยุทธ์
ของทัพสนามหรือในนามของหน่วยในระดับรองลงมา
 เตรียมพร้อมทีจ่ ะช่วยเหลือกองทัพยุทธบริเวณด้วยการจัดให้มี
การด�ำเนินกลยุทธ์ร่วม
ค. ระดับกองทัพน้อย
 ประสานงานการยุทธ์บรรจบทีซ่ บั ซ้อนหากไม่มกี องทัพสนาม
อยู่
 ใช้กองพลไปพร้อม ๆ กันเพื่อเอาชนะศัตรูหรือตามล�ำดับ
เพื่อยืดระยะเวลาการปฏิบัติการ
 จัดให้มกี ารเข้าถึงหน่วยรองโดยการปฏิบตั กิ ารข่าวกรองเฉพาะ
ที่ ต ้ อ งการความสามารถในการวิ เ คราะห์ ที่ ส� ำ คั ญ และ
ความกว้างแถบความถี่ เพื่อการบริหารจัดการกับข้อมูล

122
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ง. ระดับกองพล
 ประสานการปฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย วกั บ คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า และ
ปฏิบัติการ
 ใช้ก�ำลังขนาดกองพลน้อยไปพร้อม ๆ กันเพื่อเอาชนะข้าศึก
หรือเพื่อยืดระยะเวลาการปฏิบัติการตามล�ำดับ
จ. กองพลน้อย
 ประสานงานการบรรจบกันของด�ำเนินกลยุทธ์ ภาคพื้นดิน
และทางอากาศภายในและสามารถบูรณาการการบรรจบ
กันที่ซับซ้อนในรูปแบบของการด�ำเนินกลยุทธ์ด้วยความ
ช่วยเหลือจากหน่วยระดับที่สูงกว่า
 ปฏิบตั กิ ารด�ำเนินกลยุทธ์แยกการบนพืน้ ฐานของเจตนารมณ์
และใช้การบรรจบกันภายในและความยืดหยุน่ หากมีการแยก
กันของลักษณะทางกายภาพและความจริงเสมือน

ค-4 ข้อควรพิจารณาในการบรรจบเข้าหากัน
ก. ความสามารถทางกายภาพ เสมือน และความรู้ความเข้าใจในมิติ
ต่าง ๆ สภาพแวดล้อม และฟังก์ชันมักจะมีลักษณะที่แตกต่างกันตามเวลา
อย่างมากที่ควบคุม โดยวิธีการใช้งาน เมื่อสร้างและใช้ประโยชน์จากโอกาส
แห่งความเหนือกว่า ผู้บังคับบัญชาจะต้องเห็นภาพและมีการด�ำเนินกลยุทธ์
ผสมเหล่ า ในรู ป แบบใหม่ เนื่ อ งจากลั ก ษณะที่ แ ตกต่ า งของความสามารถ
ที่ แ ตกต่ า งกั น ซึ่ ง จะต้ อ งมาบรรจบกั น ในสถานที่ ห นึ่ ง หรื อ หลายสถานที่ เ พื่ อ
ให้บรรลุวัตถุประสงค์ กองก�ำลังร่วมและก�ำลังฝ่ายเราต้องพิจารณาเวลาใน
แง่ ข องการรวมการกระท� ำ ระหว่ า งการแข่ ง ขั น เพื่ อ ให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์
โดยไม่ต้องหันไปใช้แต่ต้องผ่านการเปลี่ยนผ่านไปสู่ความขัดแย้งทางอาวุธ
และการกลั บ สู ่ ก ารแข่ ง ขั น เพื่ อ สนั บ สนุ น ความสามารถในการบรรจบกั น
123
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ในเวลาและวัตถุประสงค์ในพื้นที่แตกหัก MDO เสนอห้าองค์ประกอบ คือ


– เวลาการเตรียมการ, เวลาการวางแผนและด�ำเนินการ, ห้วงเวลา, เวลารีเซ็ต
และเวลาตามวงรอบ เพื่อให้เห็นภาพการบรรจบกันของขีดความสามารถเวลา
เตรียมการเป็นเวลาทีจ่ ำ� เป็นในการจัดท�ำเงือ่ นไขทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับการน�ำขีดความ
สามารถมาใช้เวลาการวางแผนและการด�ำเนินการเป็นเวลาทีจ่ ำ� เป็นในการเริม่ ต้น
การเคลื่อนที่พร้อมกับเวลาที่ต้องการในการเคลื่อนที่หรือการบรรลุวัตถุประสงค์
ห้วงเวลาเป็นเวลาทีข่ ดี ความสามารถสร้างผลกระทบทีต่ งั้ ใจไว้ เวลารีเซ็ตเป็นเวลา
ที่จ�ำเป็นในการสร้างขีดความสามารถขึ้นมาใหม่ระหว่างการใช้หน่วย เวลาตาม
วงรอบ คือ การวนซ�้ำหนึ่งครั้งของการวางแผนผ่านเวลารีเซ็ต การเข้าใจเวลาเป็น
ทั้งศิลปะและวิทยาศาสตร์เป็นองค์ประกอบของเวลาส�ำหรับขีดความสามารถ
อย่างเช่น เวลาการวางแผนและด�ำเนินการ ส�ำหรับการโจมตีด้วยขีปนาวุธ,
สามารถ (หรือต้อง) เป็นทีร่ จู้ กั อย่างแน่นอนในขณะทีด่ า้ นอืน่ ๆ เช่น ห้วงเวลาของ
ผลกระทบจากไซเบอร์สเปซสามารถที่จะประมาณการได้เท่านั้น
ข. ในระดับยุทธการ MDO ต้องการวงรอบและอัตราการใช้งาน ทั้งนี้
มีศิลปะและวิทยาศาสตร์ในการประยุกต์ใช้การบรรจบเข้าหากันการประสาน
สอดคล้ อ งที่ ส มบู ร ณ์ แ บบโดยทั่ ว ไปไม่ ส ามารถท� ำ ได้ เ นื่ อ งจากข้ อ จ� ำ กั ด
ด้ า นยุ ท ธการ นอกจากนี้ ก ารใช้ ท รั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ ทั้ ง หมดในครั้ ง เดี ย วอาจ
ไม่สนับสนุนผลการด�ำเนินงานที่ต้องการ ทรัพยากรบางอย่างมีกรอบเวลา
การใช้งานที่จ�ำกัด และจะต้องระงับเมื่อการน�ำไปใช้งานมีผลผลตอบแทนสูงสุด
ผู้บังคับบัญชาจะยอมรับการประสานสอดคล้องหลายมิติที่ไม่สมบูรณ์แบบเสมอ
ไป เพื่อรักษาจังหวะให้อยู่ในระดับสูง ภารกิจเป็นตัวก�ำหนดจังหวะของแผน
การยุทธ์มิใช่ก�ำหนดการประสานสอดคล้องระหว่างมิติต่าง ๆ
ค. รูปที่ ค-1 แสดงคุณสมบัตทิ วั่ ไปส�ำหรับสีว่ งรอบ (ภาคพืน้ ดิน อากาศ
ทะเล และการคงอยู่ของอาวุธเสมือนจริง)

124
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

เวลาในการก่อตัว
ประเภท ความทนทาน ก�ำหนด
(ถ้ายังไม่ปรากฏ
วงรอบ เมื่อมีการน�ำมาใช้ ห้วงเวลาใหม่
ในยุทธบริเวณ)
ภาคพื้นดิน ยาวนาน (เดือน) ระยะยาว (วัน) ระยะยาวมาก
(สัปดาห์)
อากาศ ระยะสั้น (วัน) ระยะสั้น ระยะสั้น
(ชั่วโมง) (ชั่วโมงถึงวัน)
ทะเล ระยะปานกลาง ระยะยาวมาก ระยะยาวมาก
(สัปดาห์) (เดือน) (สัปดาห์)
การคงอยู่ของอาวุธเสมือนจริง ระยะสั้น (วัน) ระยะสั้นมาก ระยะสั้นมาก
(ไซเบอร์/อวกาศ/สงคราม (วินาทีถึงนาที) (นาท่ีถึงชั่วโมง)
อิเล็กทรอนิกส์)
รูปที่ ค-1 แสดงคุณสมบัตทิ วั่ ไปส�ำหรับสีว่ งรอบ (ภาคพืน้ ดิน อากาศ ทะเล และการคง
อยู่ของอาวุธเสมือนจริง)

ง. อัตราการใช้งานทั้งสองคือ อัตราการใช้อาวุธที่ต้องการ และอาวุธ


เสมือนจริงที่สามารถจะใช้ได้ เมื่อเทียบกับวงรอบที่แสดงถึงขีดความสามารถ
ที่สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องตราบใดที่พวกเขาไม่ได้รับผลจากการสูญเสีย
อัตราการใช้งานทั้งสองประเภทจะลดลงพร้อมการใช้งาน เนื่องจากเวลาที่ส�ำคัญ
ในการเติมเต็มคลังสิ่งอุปกรณ์เหล่านี้เมื่อเทียบกับการใช้งานที่คาดการณ์ไว้
มันเป็นเพียงการขยายตัวเล็กน้อย เพื่อพิจารณาว่าเป็นคลังแสงคงที่ที่ต้องมีการ
จัดการอย่างรอบคอบ การสูญเสีย การสูร้ บด้วยอัตราเร่งอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้
จึงถูกบังคับให้ลดการใช้อาวุธที่ต้องการหรืออาวุธเสมือนที่พอใช้ได้ ในขณะที่
ฝ่ายตรงข้ามยังคงปริมาณมากพอที่จะท�ำให้กองก�ำลังร่วมเสียเปรียบอย่างหนัก
ในทางกลับกัน การไม่สามารถจัดการอัตราการใช้งานร่วมกับสี่วงรอบดังกล่าว
ท�ำให้ไม่มีค่ากับ MDO และส่งคืนด้านหนึ่งไปยังศตวรรษที่ 20 ได้อย่างมี

125
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ประสิทธิภาพ ในขณะที่ฝ่ายข้าศึกมีการสนับสนุนที่ดีกว่า (หรือหลักแหลมกว่า)


สามารถรักษาขีดความสามารถของศตวรรษที่ 21 ไว้ได้
จ. จากภาพ ค-1 การก�ำหนดอัตราการใช้เป็นสิ่งก�ำหนดศิลปะที่เป็นไป
ได้ในระดับยุทธการ การแบ่งสรรทรัพยากรของผู้บัญชาการกองก�ำลังร่วมและ
ความเสี่ยงในแต่ละครั้งเป็นสิ่งก�ำหนดจังหวะของแผนการยุทธ์ ทั้งนี้ไม่มีความ
สัมพันธ์ คงที่ระหว่างวงรอบและอัตราการใช้งานเหล่านี้ ความสมดุลที่เหมาะสม
จะแตกต่างกันไปตามสถานการณ์ บทเรียนที่ส�ำคัญ คือ ขีดความสามารถของ
หลายมิติจะแตกต่างกันไปตามแผนการยุทธ์ ผู้บัญชาการยุทธ์วิธีไม่ควรคิดว่า
ขีดความสามารถของมิติทั้งหมดจะสามารถใช้ได้ในเวลาใด ๆ ก็ตาม
ค-5 ปฏิบัติการในสภาพแวดล้อมข่าวสาร (IEO)
การปฏิบตั กิ ารข่าวสารเป็นค�ำศัพท์ในปัจจุบนั ทีใ่ ช้โดยกระทรวงกลาโหม
(DoD) ส�ำหรับการปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อมข่าวสาร เพื่อเป็นการสนับสนุน
MDO การปฏิบัติการข่าวสารจะต้องพัฒนาเป็น IEO โดย IEO ท�ำการประสาน
สอดคล้องข้อมูลที่เกี่ยวกับขีดความสามารถ (IRC), ผนวกเข้ากับปฏิบัติการ,
เพื่อสร้างผลกระทบตลอดห้วงข่าวสาร IRC ท�ำให้เปิดกว้างในเรื่องเจตนารมณ์
ของผูบ้ งั คับบัญชาและแนวคิดการปฏิบตั กิ าร ยึด รักษาและใช้ประโยชน์จากความ
คิดริเริ่มในห้วงข่าวสาร และรวบรวมผลที่ได้รับในสภาพแวดล้อมของข่าวสาร
เพื่อให้เกิดข้อได้เปรียบทางข่าวสารที่เด็ดขาดเหนือข้าศึกและภัยคุกคาม IEO
ยังสามารถจัดให้มีวิธีการและเครื่องมือเพิ่มเติมแก่ผู้บังคับบัญชาในการ :
 ท�ำให้เสื่อมประสิทธิภาพ รบกวนหรือท�ำลายขีดความสามารถ

ในการคุกคามที่ส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ
 ท�ำให้เสื่อมประสิทธิภาพ รบกวนหรือท�ำลายขีดความสามารถ

ของภัยคุกคามที่สั่งการและควบคุม การด�ำเนินกลยุทธ์ การยิง


สนั บ สนุ น การข่ า วกรองการสื่ อ สาร และขี ด ความสามารถ
สงครามข่าวสารที่ใช้ต่อต้านกองก�ำลังฝ่ายเรา
126
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

 ปกป้อง ข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา เครือข่ายทางเทคนิค และ


ขีดความสามารถในการตกลงใจ จากการแสวงประโยชน์โดย
เครื่องมือปฏิบัติการข่าวสารของฝ่ายข้าศึก
 มีอท ิ ธิพลต่อการประกอบก�ำลังของข้าศึก และประชากร เพือ่ ลด
ความตั้งใจที่จะต่อสู้
 มีอท ิ ธิพลต่อประชากรทีเ่ ป็นมิตรและเป็นกลางในการปฏิบตั กิ าร
ของฝ่ายเรา
ข. ในการสนับสนุน MDO นั้น IEO จะต้องรวมเข้ากับการวางแผนและ
การด�ำเนินการตามกระบวนการก�ำหนดเป้าหมายร่วมอย่างสมบูรณ์ เมือ่ รวมเข้ากับ
ขีดความสามารถอืน่ ๆ IEO จะสนับสนุนโดยตรงการสร้างและการใช้ประโยชน์จาก
โอกาสทีเ่ หนือกว่าในระหว่างการแข่งขันและการขัดกันทางอาวุธ ขีดความสามารถ
ทางทหารที่สนับสนุน IEO ซึ่งควรน�ำมาพิจารณาประกอบไปด้วย: การสื่อสาร
เชิงยุทธศาสตร์, การประสานงานร่วมและระหว่างหน่วยงาน, การประชาสัมพันธ์,
การปฏิ บั ติ กิ จ การพลเรื อ น, การปฏิ บั ติ ก ารทางไซเบอร์ ส เปซ, การรั บ รอง
ความปลอดภัยข่าวสาร, การปฏิบตั กิ ารด้านอวกาศ, ข่าวสารทางทหารทีส่ นับสนุน
ปฏิบัติการ, การข่าวกรอง, การลวงทางทหาร, การรักษาความปลอดภัยในการ
ปฏิบัติ, การปฏิบัติการ EMS และการมีส่วนร่วมทางทหารและพลเรือน
ค. ผูบ้ งั คับบัญชาต้องเข้าใจห้วงข่าวสารและสามารถก�ำหนดได้วา่ ข้าศึก
มีการปฏิบัติอย่างไรในสภาพแวดล้อมข่าวสารนั้น การท�ำความเข้าใจเริ่มต้นจาก
การวิเคราะห์การใช้หว้ งข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม และวิธกี ารใช้ IRC เพือ่ ให้ได้เปรียบ
และยังคงด�ำเนินต่อไปด้วยการพิจารณาช่องโหว่ของภัยคุกคามที่กองก�ำลัง
ฝ่ายเราสามารถใช้ประโยชน์และระบุพื้นที่ซึ่งจะต้องได้รับการปกป้องจาก IRC
ของศัตรู/ข้าศึก

127
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ง. IEO ท�ำให้มีการจัดท�ำยุทธศาสตร์การด�ำเนินงานและกรอบการ
ท�ำงานร่วมกันของผู้บังคับบัญชาส�ำหรับการด�ำเนินงาน IRC แผนการยุทธ์ IEO
แบบบูรณาการอาจรวมถึงการใช้มิติไซเบอร์สเปซ มิติอวกาศและ EMS เพื่อ
ส่งมอบผลผลิต IEO, สังเกตการณ์ศัตรูหรือการกระท�ำและปฏิกิริยาโต้ตอบ
หรือเพื่อส่งมอบไซเบอร์สเปซ อวกาศ หรือผลกระทบทาง EW การรวมกันของ
ไซเบอร์สเปซ อวกาศ และขีดความสามารถทาง EW สร้างผลกระทบต่อห้วง
ข่าวสารอย่างมาก เมื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของ IEO ที่หมายรวมถึง IRC หลายตัว,
การด�ำเนินงานด้านข่าวกรอง, ไซเบอร์สเปซ, อวกาศ, และปฏิบตั กิ าร EW สามารถ
จัดให้มีทางเลือกให้กับผู้บังคับบัญชาเพื่อแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานที่ท้าทาย

ค-6 การท�ำข้อตกลง
ก. เนื่องจากสงครามเป็นรากฐานและเป็นความพยายามหลักของ
มนุษย์ กองก�ำลังร่วมท�ำงานร่วมกับพันธมิตรจึงต้องจัดการกับความรูค้ วามเข้าใจ
ด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างการเมือง มนุษย์ สังคมและวัฒนธรรมเพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ในการด�ำเนินงานระดับประเทศ การน�ำการท�ำข้อตกลงไปใช้นั้น
กองก�ำลังร่วมและพันธมิตรท�ำการประสานสอดคล้องกิจกรรมเพือ่ ท�ำความเข้าใจ
มีอิทธิพล และบรรลุการปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ซึ่งข้ามทุกมิติ, EMS และ สภาพ
แวดล้อมข่าวสารเพื่อให้บรรลุจุดที่ได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบระหว่างการแข่งขัน
หรือการขัดกันทางอาวุธ การท�ำข้อตกลงช่วยให้กองก�ำลังสหรัฐฯ สามารถเอาชนะ
ฝ่ายตรงข้ามได้ทั้งทางกายภาพและทางเสมือน เพื่อยับยั้ง ตอบโต้ และปฏิเสธ
การเพิ่มความรุนแรงในการแข่งขันและเอาชนะข้าศึกหากไม่สามารถหลีกเลี่ยง
ความขัดกันทางอาวุธ นอกจากนี้ด้วยข้อตกลง การติดต่อเป็นประจ�ำ และการมี
ปฏิสมั พันธ์ระหว่างกองก�ำลังร่วมและพันธมิตรสร้างความเชือ่ มัน่ และความมัน่ ใจ
การแบ่งปันข้อมูลประสานงานกิจกรรมร่วมกันและรักษาอิทธิพล

128
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ข. การใช้หลักปฏิบัติในการมีส่วนร่วมน�ำเสนออุปสรรคหลายอย่าง
ให้กับข้าศึก โดยผสานความสามารถหลายมิติที่จะสร้างโอกาสแห่งความเหนือ
กว่าส�ำหรับกองก�ำลังฝ่ายเรา ในกรณีที่ดีที่สุดกิจกรรมการมีส่วนร่วมสามารถ
เสริมทางเลือกและมาตรการต่าง ๆ ในการแข่งขันของสหรัฐฯ และเบี่ยงเบน
หรือป้องกันการขัดกันทางอาวุธ อย่างไรก็ตามถ้าการขัดกันทางอาวุธไม่สามารถ
หลี ก เลี่ ย งได้ การท� ำ ข้ อ ตกลงท� ำ ให้ มี ก ารเข้ า ใจที่ ลึ ก และร่ ว มกั น มากขึ้ น ใน
เรื่องสภาพแวดล้อมการปฏิบัติ และสร้างโอกาสที่เหนือกว่าและเปลี่ยนพื้นที่
ที่ถูกปฏิเสธให้กลายเป็นพื้นที่ช่วงชิงได้
ค. ช่ อ งของความรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การเหนื อ กว่ า ถู ก สร้ า งขึ้ น
โดยการลดระดับ รบกวน หรือจัดการกับความเข้าใจและรอบการตัดสินใจ
ของผู้ตัดสินใจ หรือมีอิทธิพลต่อเจตจ�ำนงของก�ำลังพลหรือประชากรเพื่อสร้าง
เงื่อนไขที่เอื้ออ�ำนวยการบรรลุช่องของความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเหนือกว่า
ค�ำนึงถึงหลักนิยมต่อไปนี้
 ท�ำความเข้าใจกับปัจจัยมนุษย์ในสภาพแวดล้อมปฏิบัติการ

 รวมปัจจัยด้านมนุษย์เข้ากับการวางแผนการยุทธ์และการวางแผน

ปฏิบัติการ การฝึกอบรมและการฝึก
 สร้ า งขี ด ความสามารถให้ กั บ ฝ่ า ยเราในเรื่ อ ง การปฏิ บั ติ ง าน,

หน่วยงาน/สถาบัน, การก�ำกับดูแล และความสามารถในการ


ส�ำรวจและปฏิบัติการร่วมและเครือข่ายพันธมิตรพหุพาคี
 ด�ำเนินการผ่านการปฏิบัติงานร่วมกัน ระหว่างหน่วยงาน และ

พั น ธมิ ต รพหุ ภ าคี แ ละประชากรพื้ น เมื อ งเพื่ อ ก� ำ หนดสภาพ


แวดล้อมการปฏิบัติการ และด�ำเนินกิจกรรมด้านการรักษา
ความปลอดภัย

129
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ผนวก ง
MDO ในพื้ นที่หนาแน่ในเมือง (DUT)

ง-1 กล่าวน�ำ
ก. วัตถุประสงค์ ภาคผนวกนีใ้ ช้แนวคิดและแนวทางแก้ปญ ั หาของ MDO
กับภูมปิ ระเทศในเมืองทีห่ นาแน่น ซึง่ จัดให้มคี ำ� อธิบายของปัญหาทีพ่ บใน DUT และ
การใช้งาน MDO แนวคิดและการแก้ปัญหาที่พบในภาคผนวกนี้ใช้การวิเคราะห์
ความขัดแย้งในเมืองในอดีตและปัจจุบันจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ แต่ได้รับการแจ้ง
เป็นหลักจากการทบทวนวรรณกรรม Mosul Study Group Phase II การวิจัย
และการวิเคราะห์แผนการยุทธ์
ข. เอกสารการป้องกันประเทศมุ่งเน้นไปที่ภัยคุกคามที่ก�ำลังพัฒนา
และการเปลี่ยนแปลงลักษณะของสงครามระบุถึงแนวโน้มการขยายตัวของเมือง
ที่แสดงถึงการแข่งขันในอนาคตหรือความขัดแย้งกับภัยคุกคามที่ก�ำลังเกิดขึ้น
ปัญหาที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง คือ ศักยภาพในการแข่งขันและการขัดแย้งกันทางอาวุธ
ในเมืองขนาดมหานคร พืน้ ทีเ่ หล่านีเ้ กีย่ วข้องกับเครือข่ายมนุษย์และทางกายภาพ
ที่เชื่อมโยงถึงกันพื้นที่การมีส่วนร่วมแบบสามมิติและภูมิประเทศและโครงสร้าง
พื้นฐานที่สภาพครอบคลุมและปกปิด การปฏิบัติการในเมืองมีหลายแง่มุม
โดยเนื้ อ แท้ ขนาดและความซั บ ซ้ อ นที่ เ กิ ด จากการเป็ น มหานคร ท้ า ทาย
ขีดความสามารถและขีดความสามารถของกองทัพบกในการช่วงชิง ปฏิบัติการ
และต่อสู้กับฝ่ายตรงข้ามที่มีความพร้อม

ง-2 พื้นที่หนาแน่ในเมือง
ก. ลักษณะของภูมปิ ระเทศหนาแน่นในเมือง ภูมปิ ระเทศทีห่ นาแน่นใน
เขตเมืองมีลกั ษณะเฉพาะทีซ่ บั ซ้อนในทุกด้านของการปฏิบตั กิ ารของฝ่ายเราและ

130
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ฝ่ายข้าศึก รวมไปถึงการแข่งขันที่ต�่ำกว่าระดับการขัดกันทางอาวุธ การบุก และ


การแยกจากกั น ของกลุ ่ ม ของระบบต่ อ ต้ า นการเข้ า ถึ ง และการปฏิ เ สธจาก
ฝ่ายตรงข้ามของข้าศึก การแสวงประโยชน์จากเสรีภาพ การด�ำเนินกลยุทธ์
ในการก�ำจัดข้าศึกและการรวมก�ำลังลักษณะทางกายภาพ (เช่น ขนาดของ
เขตเมือง ความหนาแน่นของเมือง และโครงสร้างพื้นฐาน) จ�ำกัดการด�ำเนิน
กลยุทธ์ จ�ำกัดการเข้าใจสถานการณ์ และสร้างปัญหาเฉพาะส�ำหรับการก�ำหนด
เป้ า หมายและส่งผลกระทบต่อต�ำแหน่งข้าศึก ลั ก ษณะความรู ้ ความเข้ า ใจ
(เช่น ระดับของการเชื่อมโยงภายในและภายนอก โครงสร้างประชากร สถาบัน
ต่าง ๆ และภาครัฐ) มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจทางการเมือง ซึ่งในขณะเดียวกัน
มีผลต่อรูปแบบปฏิบัติการ กฎการปะทะ และการการก�ำหนดล�ำดับเหตุการณ์
สุดท้ายนั้น ลักษณะการปฏิบัติงานในเขตเมือง (เช่น ประเภทของข้าศึก ระดับ
ของการเข้าใช้ร่วม ภารกิจ และประเภทของก�ำลังรวม) เป็นพลังขับเคลื่อน
และก�ำหนดขีดความสามารถ
(1) ท างกายภาพ ลัก ษณะทางกายภาพของเขตเมื อ ง ส่ ง ผลต่ อ
การแข่งขันและการขัดกันทางอาวุธทุกด้าน ภูมิประเทศและสิ่งกีดขวางตาม
ธรรมชาติและทีม่ นุษย์สร้างขึน้ ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินกลยุทธ์ ความหนาแน่น
และความหลากหลายของโครงสร้างบดบังต�ำแหน่งและความแข็งแกร่งของข้าศึก
และท้าทายการติดต่อสือ่ สารของฝ่ายเรา และเมือ่ ถูกท�ำลายก่อให้เกิดเศษหินหรือ
อิฐที่ก่อให้เกิดปัญหาการเคลื่อนย้ายและการต่อต้านการเคลื่อนย้าย กลุ่มที่ไม่ใช่
นักรบขนาดใหญ่ทำ� ให้การด�ำเนินกลยุทธ์และการยิงมีความซับซ้อน ความสามารถ
ในพื้นที่ส่วนหลัง และสร้างความท้าทายในการรวบรวมและวิเคราะห์ข่าวกรอง
แต่ละเมืองน�ำเสนอความท้าทายของตัวเอง แต่การปฏิบตั กิ ารในเมืองทัง้ หมดนัน้
ต้องการการบังคับใช้อย่างกว้างขวางทัง้ ในการต่อสูแ้ ละปฏิบตั กิ ารเพือ่ ความมัน่ คง

131
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(2) ความรู้ความเข้าใจ ข้อพิจารณาเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจ


ประกอบด้วยการไหลของคน สินค้าและข้อมูล ทั้งในและระหว่างเขตเมือง
หนาแน่น การไหลของคน สินค้า และข้อมูลที่สัมพันธ์กัน สร้างความซับซ้อน
ซึ่งส่งผลต่อการความซับซ้อนในการใช้มิติทั้งหมด, EMS และสภาพแวดล้อม
ข้อมูล การออกแบบทางกายภาพและวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละ
เขตเมืองมีอิทธิพลต่อพลวัตภายในฟังก์ชัน - ศูนย์กลางอยู่ที่สถาบันการก�ำกับ
ดูแลอย่างเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ - เชื่อมต่อและแจ้งการไหลที่เกี่ยวข้อง
กับส่วนที่เหลือของประเทศภูมิภาค หรือโลก การเชื่อมโยงของสภาพแวดล้อม
ของเมื อ งในระดั บ ภู มิ ภ าคหรื อ ระดั บ โลกได้ ข ยายอิ ท ธิ พ ลของศู น ย์ ก ลาง
ประชากร และผลกระทบของการด�ำเนินงานในเมืองที่มีต่อระบบการเมือง
เศรษฐกิจ และสังคม ลักษณะเหล่านี้น�ำเสนอผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการ
ด้วยภาพการด�ำเนินงานที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพื่อประเมินการรวบรวม
ข่าวกรองและการวางแผนจากผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
(3) การด�ำเนินงาน โดยไม่ค�ำนึงถึงสถานที่หรือประเภทของการ
ปฏิบัติการ ในพื้นที่เขตเมืองที่หนาแน่นกองทัพมักจะท�ำงานในภูมิประเทศที่
ไม่คุ้นเคยและซับซ้อน เพื่อสนับสนุนกองก�ำลังพันธมิตรหรือวัตถุประสงค์ของ
รัฐบาลท้องถิ่น ซึ่งมีความจ�ำเป็นว่ากองทัพต้องเข้าใจ ภารกิจ ความสามารถ
ในการร่วมมือกัน และขีดความสามารถด้านความมั่นคงของก�ำลังประเทศเจ้า
บ้าน และกลับไปสู่เป้าหมายการแข่งขันข้อควรพิจารณาทั้งสามนี้จะเป็นตัว
ก�ำหนดขนาดก�ำลัง การเคลื่อนย้าย และก�ำหนดความต้องการยุทธ์บริเวณ ความ
ต้องการก�ำลังส�ำหรับภารกิจใด ๆ (รุก รับ การปฏิบัติเพื่อเสถียรภาพ) เกิดขึ้น
ในเมือง มากกว่าในสภาพแวดล้อมอื่น ๆ กองก�ำลังมิตรประเทศและสมาชิก
พันธมิตรมีอิทธิพลต่อกฎการปะทะและพิจารณาการสนับสนุนหรือการใช้งาน
ขี ด ความสามารถที่ จ� ำ เป็ น เพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวกในการเคลื่ อ นย้ า ยและ

132
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

การด�ำเนินกลยุทธ์ในเขตเมืองในที่สุดการกลับไปสู่วัตถุประสงค์ของการแข่งขัน
ส่งผลกระทบต่อการรวมก�ำลัง ซึง่ ในเมืองอาจต้องการกองก�ำลังเพือ่ การเสริมสร้าง
เสถียรภาพอย่างกว้างขวาง
ข. การผสมและบีบอัดปัญหา ในช่วงทีม่ กี ารขัดกันทางอาวุธ พืน้ ทีใ่ นเมือง
จะรวมความขัดแย้งของสงครามและบีบอัดพื้นที่ทางกายภาพและทางความคิด
ภูมิประเทศในเขตเมืองหนาแน่นผสมแรงเสียดทานโดยการรวมสิ่งกีดขวาง
เพื่อการด�ำเนินกลยุทธ์ (คน, ภูมิประเทศ, ความแออัดของ EMS และน่านฟ้า)
และโดยต้องการให้มีการด�ำเนินการพร้อมกันของภารกิจมากขึ้น (น่านฟ้าและ
การยิงที่ไม่ขัดกัน การป้องกัน การประสานสอดคล้องระบบการยิงแบบอันตราย
และไม่อันตราย) เพื่อจ�ำกัดการด�ำเนินกลยุทธ์ ในการปฏิบัติภารกิจเพิ่มเติม
พร้อมกันนัน้ กองทัพบกต้องปรับก�ำลังและขีดความสามารถให้มากขึน้ ในเขตเมือง
ซึ่งบีบอัดพื้นที่ทางกายภาพและพื้นที่ตามเวลาที่พร้อมใช้งานส�ำหรับการปฏิบัติการ
ปรากฏการณ์ของแรงเสียดทานที่เพิ่มขึ้นและพื้นที่บีบอัดท�ำให้การด�ำเนินงาน
ของขีดความสามารถหลักมีความซับซ้อน ซึ่งต้องการความสนใจและการเอาใจ
ใส่ที่มากขึ้นจากหน่วยยุทธวิธีและยุทธการ สิ่งนี้จะลดความต้องการของ หน่วย
ทหารและฝ่ายอ�ำนวยการ ส�ำหรับการน�ำมาใช้งานของเทคโนโลยีใหม่ที่น�ำเสนอ
ในห้วงความขัดแย้ง
ง-3 ปฏิบัติการในภูมิประเทศเขตเมืองที่หนาแน่น
ก. ความท้าทายในภูมปิ ระเทศเขตเมืองทีห่ นาแน่น มีความท้าทายหลาย
ประการได้แก่ :
(1) จ�ำกัดการปฏิบตั กิ ารด�ำเนินกลยุทธ์เชิงรุก โดยก�ำหนดให้ผโู้ จมตี
ใช้ก�ำลังและพลังงานเพื่อรักษาความปลอดภัยของข่ายการสื่อสารในบริเวณ
ใกล้เคียงของเมืองที่ถูกข้ามผ่านหรือเพื่อเข้าและผ่านออกเมือง

133
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(2) การบดบังการปฏิบตั งิ านและกองก�ำลัง (ทางกายภาพและความคิด)


(3) การเพิ่ ม ข้ อ ก� ำ หนดส� ำ หรั บ อ� ำ นาจก� ำ ลั ง รบเพื่ อ รั ก ษาความ
สามารถในการปฏิบัติงาน รักษาความได้เปรียบ ป้องกันจุดผกผันที่เร็วเกินไป
และการปฏิบัติการเพื่อเสถียรภาพ
(4) ต้องมีการประสานสอดคล้อง และบูรณาการ
(5) การท้าทายความสามารถในการยึดความคิดริเริ่ม และก�ำหนด
จังหวะการด�ำเนินงานอันเป็นผลมาจากแรงเสียดทานและการสูญเสียที่มากขึ้น
(6) ความสามารถในการด�ำรงอยู่ของฝ่ายเป็นมิตรในสถานที่ที่มี
การแยกย้ายกันไปอย่างกว้างขวางเพื่อรวมถึงการให้การสนับสนุน/อพยพ
ทางการแพทย์และกิจการศพ
ข. ในการก�ำหนดเงื่อนไขทางการเมืองที่เอื้ออ�ำนวยต่อความขัดแย้ง
ในการแข่งขันฝ่ายตรงข้ามจะมุ่งเน้นไปที่การท�ำสงครามข่าวสารและการปฏิบัติ
การสงครามนอกแบบกับประชากรเป้าหมายและในเมือง ที่มีอิทธิพลในช่วง
การเปลี่ยนผ่านไปสู่ความขัดกันทางอาวุธกองก�ำลังฝ่ายตรงข้ามจะเข้ายึดเมือง
ที่เปราะบางอย่างรวดเร็วเพื่อให้สามารถรวมก�ำลังและการปกป้องการสื่อสาร
ได้อย่างรวดเร็ว ข้อได้เปรียบของภูมปิ ระเทศในเขตเมืองทีห่ นาแน่น จึงมีศกั ยภาพ
ในการแจ้งเตือนล่วงหน้าและชะลอความเร็วในการปฏิบตั กิ ารของข้าศึก ในการใช้
ประโยชน์จากข้อได้เปรียบเหล่านีก้ องทัพต้องเข้าใจ จัดระเบียบ และฝึกอบรมการ
ใช้งานในพื้นที่เมืองที่มีความส�ำคัญเชิงยุทธศาสตร์และยุทธการ
(1) ท�ำความเข้าใจภูมิประเทศเมืองที่หนาแน่นในการแข่งขัน เพื่อ
ให้เข้าใจสภาพเมือง ได้ดีที่สุด ในการแข่งขันกองทัพบกควรวางก�ำลังในเมืองที่
มีความส�ำคัญเชิงยุทธศาสตร์และยุทธการ อย่างไรก็ตามการจัดวางก�ำลังทหาร
ในเมืองต่าง ๆ มีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดความวุ่นวายทางการเมือง การท�ำ
ความเข้ า ใจกั บ เขตเมื อ งในระหว่ า งการแข่ ง ขั น นั้ น ต้ อ งอาศั ย ความเข้ า ใจ

134
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ในลักษณะของสภาพเมืองทีอ่ ธิบายไว้ขา้ งต้นและวิธที ดี่ ที สี่ ดุ ในการใช้ภมู ปิ ระเทศ


ของเมืองในเชิงป้องกันในระหว่างมีความขัดแย้งภูมิประเทศในเมืองที่หนาแน่น
ท�ำให้มีการเตือนภัยล่วงหน้าเกี่ยวกับเจตนารมณ์ของข้าศึกหรือกิจกรรมของ
ประเทศพันธมิตรที่น่าจะเป็นการตอบโต้ทางทหารจากข้าศึก (เช่น การชุมนุม
ต่อต้านรัสเซียในเคียฟในปี 2014) การท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
ของผู้คนและแนวคิดท�ำให้กองทัพบกสามารถระบุการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
ที่ส�ำคัญ ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญต้องใช้วิธีการรวบรวมทางเทคนิคแต่สามารถท�ำได้โดย
ผ่านการมีอยูจ่ ริง (เช่น HUMINT และ SOF) และการรวบรวมข้อมูลทางแหล่งข่าว
เปิดโดยเฉพาะจากสื่อสังคมออนไลน์ โดยการพัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้
ความเข้าใจและลักษณะการด�ำเนินงานของเมือง ในระหว่างการแข่งขัน กองทัพบก
ได้รับข้อได้เปรียบเบื้องต้นจากการขัดกันทางอาวุธ
(2) การท�ำความเข้าใจภูมิประเทศที่หนาแน่นของเมืองในความ
ขัดแย้งเมื่อความขัดแย้งเริ่มขึ้นสภาพแวดล้อมในเมืองจะมีชีวิตชีวามากขึ้น
ซึ่งจะท�ำลายความได้เปรียบในการท�ำความเข้าใจ การได้รับหรือการรักษา
ความเข้ า ใจในเขตเมื อ งในระหว่ า งความขั ด แย้ ง ต้ อ งใช้ วิ ธี ก ารทางเทคนิ ค
จ�ำนวนมาก เพื่อด�ำเนินการรวบรวม วิเคราะห์และแสดงข้อมูลจากหลายมิติ
เครื่องมือในการรวบรวมของพันธมิตรและกองก�ำลังร่วมโดยพื้นฐานแล้วคือ
เซ็ น เซอร์ ต ่ า ง ๆ ซึ่ ง จะมี จ� ำ นวนมากในภู มิ ป ระเทศและน่ า นฟ้ า เหนื อ เมื อ ง
สิง่ นีช้ ว่ ยให้สามารถรวบรวมข้อมูลจ�ำนวนมหาศาลเกีย่ วกับลักษณะทางกายภาพ
ความรู้ความเข้าใจ และการปฏิบัติงานของในเมือง จากข้อมูลจ�ำนวนมากและ
รูปแบบต่าง ๆ ของข้อมูลที่รวบรวมมา การวิเคราะห์ข่าวกรองจะต้องสังเคราะห์
และแยกข้อมูลที่ส�ำคัญต่อการด�ำเนินงานและการตัดสินใจ จากนั้นน�ำไปใช้ใน
การด�ำเนินการอย่างรวดเร็วกับกองก�ำลังปกปิดขนาดเล็ก, ระบบควบคุมสั่งการ
ภารกิจต้องแสดงข้อมูลวิเคราะห์ในเวลาจริง ความเข้าใจทางเทคนิคของการปฏิบตั ิ

135
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ในเมืองในความขัดแย้งกันนัน้ มีจุดประสงค์หลักสองประการ ขัน้ แรกท�ำให้หน่วย


งานที่มีความตระหนักในสถานการณ์ของพื้นที่ใกล้เคียง ประการที่สองเซ็นเซอร์
ต่าง ๆ ท�ำให้สามารถรวบรวมข่าวกรองที่สนับสนุนการก�ำหนดเป้าหมายและ
การก�ำหนดรูปแบบของปฏิบตั กิ ารอย่างไรก็ตามการสร้างและรักษาความตระหนัก
ในสถานการณ์ในเมืองใช้ทรัพยากรจ�ำนวนมาก ซึ่งท้าทายหน้าที่และขีดความ
สามารถของกองทัพ ในการรวบรวมและประมวลผล, แสวงประโยชน์ และการ
กระจายข่าวกรอง ซึ่งจ�ำเป็นต้องใช้กระบวนการที่เป็นปัญญาประดิษฐ์
(3) การจั ด ระเบี ย บส� ำ หรั บ การปฏิ บั ติ ก ารในพื้ น ที่ เขตเมื อ งที่
หนาแน่นไม่มีหน่วยทหารหรือหน่วยทหารเดียวที่สามารถปฏิบัติการในเมือง
เพียงฝ่ายเดียวในระหว่างการแข่งขันหรือความขัดแย้ง ในระหว่างการแข่งขัน
กองทัพต้องพึง่ พาประเทศเจ้าบ้านและได้รบั การอนุมตั จิ ากรัฐบาลและสนับสนุน
การอยู่และปฏิบัติในประเทศนั้น ๆ ในระหว่างความขัดแย้งกองทัพบกสนับสนุน
การด�ำเนินงานของประเทศเจ้าภาพในสภาพแวดล้อมในเมือง เพื่อลดความเสี่ยง
ทางการเมืองและลดต้นทุนการด�ำเนินงานส�ำหรับกองก�ำลังสหรัฐฯ การปฏิบตั กิ าร
ในพื้นที่ในเขตเมืองที่หนาแน่นนั้นต้องการการประสานสอดคล้องที่ดีระหว่าง
ขีดความสามารถการปฏิบัติการร่วม และการรวมกันก�ำลังรบตามแบบและ
หน่ ว ยรบพิ เ ศษ นอกจากนี้ ห น่ ว ยด� ำเนิ น กลยุ ท ธ์ จ ะต้ อ งสร้ า งชุ ด ปฏิ บั ติ ก าร
ติดอาวุธที่ประกอบด้วย ทหารช่าง ทหารม้า ทหารราบ และทหารปืนใหญ่
สิ่ ง นี้ จ ะช่ ว ยให้ ก ารเคลื่ อ นที่ ไ ปยั ง และผ่ า นเขตเมื อ งและการรุ ก ผ่ า นและ
การข้ามเครื่องกีดขวางทางกายภาพ หน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ที่กระจัดกระจาย
เคลื่อนไปตามแนวด้านหน้าและปฏิบัติการแบบแยกการ ซึ่งต้องใช้ทรัพยากร
สนับสนุนและการด�ำเนินกลยุทธ์ที่มากขึ้น เพื่อท�ำความเข้าใจและสนับสนุน
การด�ำเนินงานเมืองหน่วยที่เหนือว่ากองพลน้อยจะต้องปรับปรุงกระบวนการ
เพื่อให้การสื่อสาร การตัดสินใจ และการสนับสนุนถูกต้องแม่นย�ำยิ่งขึ้น ประการ

136
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

สุดท้ายนั้นการปฏิบัติการในเมืองจ�ำเป็นต้องมีการสร้างกองก�ำลังร่วมและ
การส่งก�ำลังบ�ำรุงอย่างกว้างขวาง ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั กองทัพบกยุทธบริเวณทีเ่ ชือ่ ถือได้
และการควบคุมบังคับบัญชาที่สามารถก�ำหนดยุทธบริเวณระหว่างการช่วงชิงได้
(4) การฝึกอบรมส�ำหรับการปฏิบัติในพื้นที่เขตเมืองที่หนาแน่น
กองทั พ ต้ อ งฝึ ก ซ้ อ มที่ ร ะดั บ หน่ ว ยเพื่ อ ปฏิ บั ติ ก ารในเมื อ ง การด� ำ เนิ น งาน
ในเมืองที่ประสบความส�ำเร็จนั้นได้รับการก�ำหนดไว้ล่วงหน้าเกี่ยวกับความ
สามารถในการปฏิบัติงานที่จ�ำเป็นสามประการ ประการแรกการแยกหลาย
มิติของเขตเมืองเพื่อควบคุมการส่งก�ำลังบ�ำรุงและการสื่อสาร ประการที่สอง
การแทรกซึมผ่านขอบเขตภายนอกและโครงสร้างภายในของเมือง ประการ
ที่สามความสามารถในการได้รับและรักษาการปะทะกับข้าศึกเมื่ออยู่ในเมือง
ถึงแม้วา่ การมีสว่ นร่วมทางยุทธวิธที มี่ ปี ระสิทธิภาพเป็นส่วนส�ำคัญของงานเหล่านี้
แต่การปฏิบัติระดับยุทธการและยุทธศาสตร์ท�ำให้มั่นใจถึงชัยชนะของการต่อสู้
ในเมื อ ง กองทั พ ภาคสนามและทั พ น้ อ ยต้ อ งท� ำ การฝึ ก เพื่ อ จั ด การเงื่ อ นไข
ทางการเมืองและงานที่เกี่ยวข้องกับการแยกเขตเมือง กองทัพและกองทัพ
น้อยร่วมกับกองพล ท�ำการฝึกเพื่อวางแผนและด�ำเนินกลยุทธ์อย่างรวดเร็ว
หน่วยเหล่านี้จะต้องฝึกอบรมเพื่อก�ำหนดโครงสร้างพื้นฐานอย่างยั่งยืนที่จ�ำเป็น
ต่อการแสดงก�ำลังและบ�ำรุงรักษากองก�ำลังรบด้วยหากการต่อสู้ในเมืองจ�ำเป็น
ต้องมีการกวาดล้างระหว่างบ้านเป็นหลัง ๆ ที่หน่วยระดับต�่ำกว่ากองพลหน่วย
ด�ำเนินกลยุทธ์ท�ำการฝึกเพื่อให้สามารถแทรกซึมและปฏิบัติการในเขตเมือง
กองพลท� ำ การฝึ ก เพื่ อ สนั บ สนุ น หน่ ว ยด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ด ้ ว ยการประสานงาน
การประกอบก�ำลังและการแสดงก�ำลัง การด�ำรงอยู่ และการบูรณาการร่วมกัน
กองพลน้อยและระดับรองลงมาท�ำการฝึกเพือ่ แทรกซึมพืน้ ทีใ่ นเมืองและรักษาการ
ปะทะกับข้าศึกในสภาพแวดล้อมที่ซับซ้อนนี้

137
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(5) ปฏิ บั ติ ก ารในพื้ น ที่ เขตเมื อ งที่ ห นาแน่ น ในฐานะที่ เ ป็ น กอง


ก�ำลังรบนอกประเทศ กองทัพบกด�ำเนินงานหลักในเขตเมืองในช่วงภัยธรรมชาติ
หรือทีภ่ ยั ทีม่ นุษย์สร้างขึน้ สิง่ นีท้ ำ� ให้กองทัพบกเห็นภาพการด�ำเนินงานของเมือง
ในแง่ความขัดแย้งที่ก�ำหนดโดยการท�ำความเข้าใจที่น้อยนิด ด้านงานเชิงรุกหรือ
การรักษาความมัน่ คง อย่างไรก็ตามพืน้ ทีใ่ นเมืองทีห่ นาแน่นนัน้ ก�ำลังเพิม่ พืน้ ทีก่ าร
แข่งขันมากขึน้ ซึง่ ท�ำให้กองทัพมีโอกาสในการยับยัง้ ความขัดแย้ง ด้วยการปฏิบตั ิ
การในเขตเมือง กองทัพสามารถเข้าใจเจตนาของข้าศึกและประสานการฝึกซ้อม
เพือ่ เผชิญหน้ากับการรุกรานและด�ำเนินการ IEO และปฏิบตั กิ ารพิเศษเพือ่ ขัดขวาง
การยกระดับความขัดแย้ง ในความขัดแย้งนั้น พื้นที่เขตเมืองสนับสนุนยุทธการ
การป้องกันจากกองก�ำลังขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมากกว่า ในระหว่าง
ปฏิบัติการรุกเขตเมือง จ�ำกัดการด�ำเนินกลยุทธ์และชะลอความเร็วในการ
ปฏิบั ติ ก ารที่ ต ้ องใช้ก�ำลังเพิ่มเติม สุดท้ายนั้น การรวมก� ำ ลั ง และการรั ก ษา
ความมั่นคงที่เกิดขึ้นในพื้นที่เมือง โดยเฉพาะในพื้นที่เมืองหลวง โดยรอบท่าเรือ
ท่าอากาศ ทีส่ ำ� คัญ เป็นสิง่ จ�ำเป็นในการรักษาความปลอดภัยเส้นหลักการสือ่ สาร
และการสนับสนุนทางการเมืองส�ำหรับปฏิบัติการทั้งหมด
ค. หลักการของ MDO ที่น�ำมาใช้ในพื้นที่ในเมืองที่หนาแน่น
(1) การปรับการวางก�ำลัง การปรับการวางก�ำลังส�ำหรับเมือง ต้องการ
การเตรียมการในระหว่างการแข่งขัน ภารกิจในการแข่งขันมุ่งเน้นไปที่การแสดง
ภาพของสภาพแวดล้อมในเมืองอย่างละเอียดเพือ่ คาดการณ์ถงึ การประกอบก�ำลัง
การด�ำรงอยู่ และความต้องการข่าวกรองระหว่างความขัดแย้ง สิ่งนี้ช่วยให้
กองทัพยุทธบริเวณและกองทัพบกสนามสามารถก�ำหนดยุทธบริเวณได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
(ก) กองก�ำลัง กองก�ำลังสหรัฐฯ จะต้องมุ่งเน้นไปการก�ำหนด
ทีต่ งั้ TEC ทีร่ องรับหน่วยข่าวกรอง การยิง (อันตรายและไม่อนั ตราย) การด�ำรงสภาพ

138
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

และภารกิจการบังคับบัญชา หน่วยข่าวกรอง (INSCOM) เป็นหน่วยข่าวกรอง


ปฏิบัติการของกองทัพบก INSCOM ผ่านค�ำสั่งกองก�ำลังหน่วยข่าวกรองทหาร
(MIB-T) INSCOM ท�ำให้หน่วย GCC สามารถมุง่ เน้นความพยายามในการรวบรวม
ข่าวสารในพื้นที่เขตเมืองที่มีการด�ำเนินงานและมีความส�ำคัญเชิงยุทธศาสตร์
การยิงทั้งแบบสังหารและไม่สังหาร TEC อนุญาตให้ GCC ประสานสอดคล้อง
ผลกระทบร่วมในระหว่างขั้นตอนเริ่มต้นของการด�ำเนินการขัดแย้ง มาตรการ
ควบคุมการปฏิบัติที่จ�ำเป็นส�ำหรับการรวมกันของการยิงทั้งแบบสังหารและ
ไม่สังหารในพื้นที่เขตเมือง สามารถก�ำหนดและซักซ้อม TEC พัฒนาประมาณ
การก่ อ นเกิ ด ความขั ด แย้ ง และประสานงานข้ อ ก� ำ หนดการท� ำ ข้ อ ตกลง
ล่วงหน้าที่จ�ำเป็นในการรักษากองก�ำลังที่ปฏิบัติการในเมือง ที่บังคับการภารกิจ
ต้องการองค์ประกอบของกองบัญชาการเพื่อการควบคุมและสั่งการใช้อ�ำนาจ
และก�ำหนดทิศทาง หน่วย Signal TEC จัดให้มีหน้าที่และขีดความสามารถ
ของเครือข่ายและความสามารถในการรองรับการปฏิบัติการร่วมกันในพื้นที่
การสือ่ สารทีแ่ ออัด นอกจากนัน้ Signal TEC ยังช่วยให้สามารถกระจายข่าวกรอง
และข้อมูลจ�ำนวนมหาศาลจากในเมือง การตัง้ ยุทธบริเวณด้วย การข่าวกรอง การยิง
การด�ำรงสภาพและขีดความสามารถในการควบคุมบังคับบัญชา ทีเ่ พียงพอช่วยให้
GCC มีความสามารถในการมองเห็นพื้นที่ส�ำคัญของเมืองในระหว่างการแข่งขัน
และการเปลี่ยนผ่านสู่ความขัดแย้งเมื่อจ�ำเป็น
(ข) การเพิ่มเติมของกองก�ำลังไปส่วนหน้าจะต้องมีการเพิ่ม
ตามสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ฐานและโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับกองก�ำลังยุทธ
บริเวณจะต้องใช้ร่วมกันในปฏิบัติการในเมือง APS ยังต้องได้รับการประเมินและ
ปรับเพือ่ สนับสนุน สหรัฐอเมริกา พันธมิตร และหุน้ ส่วน ในเรือ่ ง การด�ำเนินกลยุทธ์
การยิง การด�ำรงอยู่ และการป้องกันการปฏิบัติ ในพื้นที่เขตเมือง

139
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(ค) ข้อตกลง ข้อตกลงกับประเทศหุ้นส่วนและพันธมิตรจะต้อง


ค�ำนึงถึงความต้องการด้านก�ำลังและความต้องการสิ่งอ�ำนวยความสะดวก และ
ภารกิจในการรวบรวมข่าวสารและผลิตข่าวกรองที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่เมืองเฉพาะ
หากกองก�ำลังของสหรัฐฯ ตั้งใจที่จะเข้าใจสภาพเมืองหนาแน่นในระหว่าง
การแข่งขัน กิจกรรมต่าง ๆ เช่น IPB หรือการเตรียมสนามรบด้านการข่าวจะเพิม่ ขึน้
และมีแนวโน้มว่าจะต้องมีการรับรูข้ องกระทรวงการต่างประเทศหากไม่เห็นด้วย
IPB หรือการเตรียมสนามรบด้านการข่าวนัน้ ด�ำเนินการได้ดที สี่ ดุ โดยความร่วมมือ
กับประเทศเจ้าภาพ นอกจากนี้กองก�ำลังร่วมและพันธมิตรต้องสร้างกฎเฉพาะ
ของการมีสว่ นร่วมของเมืองในระหว่างการแข่งขัน เพือ่ แจ้งให้ทราบถึงข้อก�ำหนด
ของยุ ท ธบริ เวณและท� ำ ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว ต่ อ การขั ด กั น
ทางอาวุธ
(2) การก่อตัวหลายมิติ เนื่องจากการปฏิบัติการในเขตเมืองที่หนา
แน่นนัน้ ท�ำให้เกิดแรงในอัตราการสูญเสียทีส่ งู กว่าการปฏิบตั กิ ารในสภาพแวดล้อม
อื่น ๆ การประกอบก�ำลัง ระบบ และก�ำลังทหารที่จัดให้มีการรวมกันของหน้าที่
ขีดความสามารถ และความอดทนทีจ่ ำ� เป็นในการใช้งานข้ามมิตติ า่ ง ๆ การด�ำเนิน
กลยุทธ์ที่อิสระช่วยให้เกิดการปรับตัวที่รวดเร็วโดยที่หน่วยปฏิบัติในสภาพ
เขตเมืองมีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง การยิงข้ามมิตผิ สานรวมและส่งการยิงข้ามมิติ
ทั้งแบบอันตรายและไม่อันตราย, EMS และสภาพแวดล้อมของข่าวสารที่มี
ผลกระทบต่อลักษณะทางกายภาพ ความคิด และการปฏิบัติที่มีอยู่ภายในเมือง
สุดท้ายนั้น ก�ำลังรบแต่ละคนในการปฏิบัติการในเมือง ต้องพยายามกดดัน
ทัง้ ทางร่างกายและจิตใจอย่างต่อเนือ่ งต่อข้าศึกของตน กองทัพต้องการการวิจยั มิติ
ของมนุษย์ที่สามารถลดผลกระทบเหล่านี้ต่อกองก�ำลังฝ่ายเรา ในขณะที่เพิ่มขึ้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบทางจิตวิทยาของปฏิบัติการในเมืองต่อศัตรู

140
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

(3) การบรรจบกัน ข้อดีของการบรรจบกัน การสร้างการท�ำงาน


ร่ ว มกั น ข้ า มมิ ติ แ ละการจั ด ระดั บ ของตั ว เลื อ กน� ำ ไปใช้ อ ย่ า งเท่ า เที ย มกั น
ในเขตเมือง อย่างไรก็ตามการท�ำให้เกิดการบรรจบกันอาจถูกท้าทายโดยสภาพ
แวดล้อมทางกายภาพและเสมือนทีซ่ บั ซ้อนและแออัด และข้อจ�ำกัดทีอ่ าจเกิดขึน้
จากกฎการปะทะ อาจมีการเพิม่ ขึน้ ของผลกระทบทีไ่ ม่เป็นอันตราย และผลกระทบ
ที่เป็นอันตรายอาจไม่ได้ถูกน�ำมาใช้ทั้งหมด

ง-4 ข้อสรุป
สภาพแวดล้อมในเมืองโดยแท้แล้วมีหลายโดเมน การเชือ่ มต่อระหว่างกัน
ของพื้นที่ในเมืองท�ำให้เกิดการไหลของข้อมูล ผู้คน และสินค้า ที่ท�ำให้สภาพ
แวดล้อมนี้มีอิทธิพลอย่างไม่เท่ากันต่อการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์ท้ังหมดรวม
ถึงการขัดกันทางอาวุธ ภูมิประเทศในเขตเมืองที่หนาแน่นอัดรวมด้วยพื้นที่ทาง
กายภาพและพื้นที่แห่งเวลา อุปสรรคต่าง ๆ และต้องมีการปฏิบัติหลายอย่าง
พร้ อ มกั น ซึ่ ง หมายความว่ า ในขณะที่ ก ารปฏิ บั ติ ก ารช้ า ลง ความเร็ ว และ
ความซับซ้อนของภารกิจทางยุทธวิธีเพิ่มขึ้น การใช้องค์ประกอบของ MDO
ร่ ว มกั บ การปรั บ ปรุ ง หน้ า ที่ แ ละขี ด ความสามารถของกองทั พ บกในการ
ท� ำ ความเข้ า ใจ จัดระเบียบ และฝึก อบรม เพื่ อ การปฏิ บัติ ในเมื อ ง ช่ วยให้
การปฏิบัติภารกิจประสบความส�ำเร็จ

141
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ผนวก จ
การเชื่อมโยงไปยังแนวคิดอื่น ๆ

จ-1 แนวคิดนีม้ กี ารเชือ่ มโยงกับแนวคิดต่อไปนี ้ : ปฏิบตั กิ าร แนวคิด หลักนิยมหลัก


ส�ำหรับการปฏิบัติการร่วม Capstone Concept for Joint, ยุทธศาสตร์
ความร่วมมือส�ำหรับ Seapower ศตวรรษที่ 21, แนวคิดปฏิบัติการปฏิบัติ
หน่วยนาวิกโยธิน : การปฏิบัติการกองก�ำลังรบนอกประเทศในศตวรรษที่ 21,
แผนการครองอากาศ Air 2030 แผนแนวคิดการด�ำเนินงานในอนาคตของ
กองทัพอากาศ, แนวคิดร่วมส�ำหรับแผนการยุทธ์บรู ณาการ (JCIC), แนวคิดการเข้า
ถึ ง เพื่ อ การปฏิ บั ติ ก ารร่ ว ม (JOAC), แนวคิ ด ร่ ว มส� ำ หรั บ การเข้ า ถึ ง และ
การด�ำเนินกลยุทธ์ใน Global Commons (JAM-GC), แนวคิดร่วมส�ำหรับปฏิบตั ิ
การ การเข้าสู่พื้นที่ในเมือง (JCEO), แนวคิดร่วมส�ำหรับมุมมองของประชาชน
ในการปฏิบัติการทางทหาร (JC-HAMO) และแนวคิดร่วมส�ำหรับการรวมก�ำลัง
อย่างรวดเร็ว

จ-2 แนวคิดหลักนิยมหลัก ส�ำหรับการปฏิบัติการร่วม ก�ำหนดการด�ำเนินงาน


แบบบูรณาการทั่วโลกเป็นแนวคิดการด�ำเนินงานร่วมกันในอนาคต ที่ออกแบบ
มาเพื่อจัดการกับความท้าทายของการตอบสนองความต้องการเชิงยุทธศาสตร์
อย่างต่อเนือ่ งกับทรัพยากรทางทหารทีจ่ ำ� กัด แนวคิดนีอ้ ธิบายถึงวิธกี ารทีก่ องทัพ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ กองก�ำลังภาคพืน้ ดินจะเอาชนะความท้าทายในปัจจุบนั ส�ำหรับ
การรวมก�ำลังอย่างรวดเร็วที่กระจายทั่วโลกในการปฏิบัติการแบบบูรณาการ
ทั่วโลก
จ-3 ยุทธศาสตร์ความร่วมมือส�ำหรับ Seapower ศตวรรษที่ 21 ระบุวา่ กองก�ำลัง
ทางเรือปฏิบัติหน้าที่ส�ำคัญดังนี้ : การเข้าถึงทุกมิติ, การควบคุม, การควบคุม

142
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ทางทะเล, การแสดงแสนยานุภาพและความปลอดภัยทางทะเล แนวคิดการ


ปฏิบัติการหลายมิติของกองทัพบกสหรัฐอเมริกาน�ำเสนอแนวทางร่วมที่ช่วย
จัดการกับงานที่จ�ำเป็นเหล่านี้

จ-4 แนวคิดการปฏิบัติการของนาวิกโยธิน : การปฏิบัติการของกองก�ำลังรบ


นอกประเทศในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นไปที่การขับเคลื่อนในห้าประเด็นดังนี้ :
ภูมปิ ระเทศทีซ่ บั ซ้อน การแพร่ขยายเทคโนโลยี การใช้ขา่ วสารเป็นอาวุธ สงคราม
แห่งร่องรอย (battle of Signature) แนวคิดการปฏิบัติการหลายมิติของ
กองทัพบกสหรัฐอเมริกาเสนอแนวทางช่วยแก้ไขการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้

จ-5 แผนครองอากาศ Air Superiority 2030 Flight Plan ระบุวา่ การพัฒนา


และส่งมอบการครองอากาศที่เหนือกว่าส�ำหรับสภาพแวดล้อมที่มีการแข่งขันสูง
ในปี 2030 นั้นจ�ำเป็นต้องมุ่งเน้นไปที่หน้าที่และขีดความสามารถแบบหลายมิติ

จ-6 แนวคิดการด�ำเนินงานในอนาคตของกองทัพอากาศระบุวา่ ความยืดหยุน่ ใน


ความคล่องตัวในการปฏิบตั งิ านนัน้ ปรากฏเป็น MDO แบบบูรณาการ นอกจากนี้
ยังยืนยันว่ากองก�ำลังปฏิบัติการที่คล่องตัวจะเอาชนะภัยคุกคามของข้าศึกใน
อนาคตตามพันธกิจการสู้รบ และวิธีการนี้จะต้องได้รับการพัฒนาภายในกรอบ
ความคิดของชุดปฏิบัติการร่วมและผสม

จ-7 แนวคิดร่วมส�ำหรับการวางแผนการยุทธ์แบบบูรณาการ (JCIC) อธิบายถึง


สภาพแวดล้อมในการด�ำเนินงานทีซ่ บั ซ้อนซึง่ กองก�ำลังร่วมวางแผนการยุทธ์อย่าง
ต่อเนือ่ งภายในการแข่งขันอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ มีสว่ นผสมของความร่วมมือ การแข่งขัน
ที่ต�่ำกว่าการขัดกันแย้งทางอาวุธ และการขัดกันทางอาวุธ ภายในโครงสร้างนี้
วัตถุประสงค์ของ Joint Force คือการแสวงหา การรักษาและการคงไว้
ซึง่ จุดมุง่ หมายเชิงยุทธศาสตร์ ในขณะเดียวกันท�ำการต่อต้านความพยายามของรัฐ
143
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

จัดตั้งใหม่ที่บ่อนท�ำลายผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกา MDO น�ำเสนอวิธีการ


ส�ำหรับกองก�ำลังร่วมในการวางแผนการยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นตลอดทั้ง
การแข่งขันที่ต่อเนื่อง
จ-8 Joint Operational Access Concept (JOAC) ระบุปัญหาของการส่ง
ก�ำลังทหารเข้าสูพ่ นื้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารและรักษาไว้ในการเผชิญกับการสูร้ บโดยศัตรูทมี่ ี
ความสามารถมากขึ้นและภายในมิติที่มีการช่วงชิง JOAC เสนอให้ใช้การท�ำงาน
ร่วมกันข้ามมิติ – การเสริมสร้างขีดความสามารถในมิติที่แตกต่างกัน ในแบบที่
แต่ละส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและชดเชยช่องโหว่ของส่วนอื่น ๆ – เพื่อสร้าง
ความเหนือกว่าในการรวมกันของมิติต่าง ๆ ที่จะให้อิสระในการด�ำเนินการตาม
ภารกิจที่ต้องการ แนวคิดนี้แสดงให้เห็นว่ากองก�ำลังภาคพื้นดินจะช่วยให้ได้รับ
การท�ำงานร่วมกันข้ามมิติในการสนับสนุนการวางแผนการยุทธ์ร่วมได้อย่างไร
จ-9 แนวคิดร่วมส�ำหรับการเข้าถึงและการด�ำเนินกลยุทธ์ใน Global Commons
(JAM-GC) ระบุว่าก�ำลังในอนาคตจะต้องสามารถแยกส่วนได้, ยืดหยุ่น และ
ปรับได้ด้วยขนาดที่เพียงพอ และสามารถด�ำเนินการในระยะเวลาที่เพียงพอ
ทางออกของ JAM-GC ประกอบด้วยการรวมการด�ำเนินงานขั้นสูงในหลายมิติ
ทั้งในและนอกสภาพแวดล้อมที่มีการช่วงชิงสิ่งนี้สอดคล้องกับแนวคิดมากมาย
ในเอกสารนี้ แนวคิดนีข้ ยายกรอบของ JAM-GC จากการใช้งานร่วมกันทัว่ โลกไปสู่
การด�ำเนินกลยุทธ์โดยกองก�ำลังผสมเหล่าภาคพืน้ ดิน รวมเข้ากับก�ำลังทางอากาศ
ทางเรือ ไซเบอร์สเปซ และอวกาศ
จ-10 แนวคิดร่วมส�ำหรับปฏิบตั กิ ารเข้าพืน้ ที่ (JCEO) มุง่ เน้นไปทีก่ ารบูรณาการ
ความสามารถในการบังคับข้ามมิติเพื่อความปลอดภัยของการด�ำเนินกลยุทธ์ใน
อาณาเขตต่างประเทศภายในพื้นที่ปฏิบัติงาน แนวคิดนี้เติมเต็มและช่วยก�ำหนด
เงื่อนไขส�ำหรับแนวคิดการด�ำเนินงานใน JCEO
144
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

จ-11 แนวคิดร่วมส�ำหรับการปฏิบัติทางทหารเพื่อประชาชน (JC-HAMO)


สนั บ สนุ น แนวคิ ด การปฏิ บั ติ ก ารหลายมิ ติ ข องกองทั พ บกสหรั ฐ ฯ เพื่ อ
ท�ำความเข้าใจถึงแรงจูงใจและความต้องการของผู้ที่เกี่ยวข้อง JC-HAMO
ให้ความส�ำคัญกับความต้องการของคนในสงครามและจัดให้มีกรอบความคิด
ที่รวมเข้ากับวงรอบตัดสินใจของผู้บังคับบัญชา ช่วยให้กองก�ำลังร่วมมีอิทธิพล
ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เป้าหมายของแนวคิดนี้ คือ การปรับปรุงความเข้าใจ
และประสิทธิภาพของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในระหว่างการปฏิบัติการ

จ-12 แนวคิดร่วมส�ำหรับการรวมก�ำลังอย่างรวดเร็ว มุ่งเน้นไปที่ความพยายาม


ที่จะปรับปรุงความเร็ว ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการวางก�ำลังเพื่อ
สนับสนุนการด�ำเนินภารกิจทั่วโลกแบบบูรณาการ แนวคิดนี้อธิบายความคิด
ในการจั ด ตั้ ง กองก� ำ ลั ง ร่ ว มและกองก� ำ ลั ง ผสมเหล่ า โดยการรวมก� ำ ลั ง
และขีดความสามารถอย่างรวดเร็วภายในและกับพันธมิตรทางภารกิจข้ามมิติ
ระดับหน่วย ที่ตั้งภูมิศาสตร์ แนวชาย และความสัมพันธ์เชิงองค์กร MDO
เติมเต็มสิ่งนี้ด้วยแนวคิดของการปรับที่ตั้งการวางก�ำลังอย่างมีพลวัต

145
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ภาคผนวก ฉ
บทเรียนที่ได้เรียนรู้จากก�ำลังที่ปฏิบัติการในสนาม

ฉ-1 บทเรียนทีจ่ ะแจ้งแนวคิดการปฏิบตั กิ ารหลายโดเมนของกองทัพบกสหรัฐฯ


กองทัพบกได้เริม่ กระบวนการทดลองและวิเคราะห์อย่างจริงจัง เพือ่ แจ้ง
และปรับปรุงกองทัพสหรัฐฯ ในแนวคิดการด�ำเนินงานหลายโดเมน ในปี 2560
ผู้บัญชาการทหารบกสหรัฐฯ (CSA) เป็นผู้รับผิดชอบการออกแบบและการ
ทดสอบของ Multi-Domain Task Forces (MDTFs) เป็นก�ำลังในแนวหน้าหน้า
เพื่ อ ด� ำ เนิ น การด้ า น MDO ออกแบบมาเพื่ อ ส่ ง มอบการโจมตี ที่ แ ม่ น ย� ำ ใน
ระยะยาวรวมถึงการป้องกันทางอากาศและขีปนาวุธ สงครามอิเล็กทรอนิกส์
อวกาศ ไซเบอร์และการปฏิบัติการข่าวสาร MDTF ด�ำเนินงานในทุกมิติ EMS
และสภาพแวดล้อมของข่าวสารทั้งในการแข่งขันและความขัดแย้ง เพื่อให้
กองก�ำลังร่วมและพันธมิตรมีขีดความสามารถใหม่ ในการต่อต้านการเข้าถึงและ
การปฏิเสธพื้นที่ของฝ่ายตรงข้าม ด้วยขีดความสามารถที่มอบให้เพื่อการแข่งขัน
และจัดให้มีการแทรกซึมเข้า MDTF ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกในการพัฒนาหลายมิติ
อื่ น  ๆ ที่ ก� ำ ลั ง อยู ่ ใ นการพั ฒ นาเป็ น ขั้ น ตอนแรกที่ ส� ำ คั ญ ในการตระหนั ก ถึ ง
ขีดความสามารถของกองทัพบกภายในปี 2571
ก. กองทัพบกสหรัฐฯ ภาคพื้น แปซิฟิก ก�ำลังสร้าง MDTF ทดลองครั้ง
แรกและด�ำเนินการโปรแกรมการทดลองร่วมเพื่อแสดงรูปแบบของ MDTF ใน
อนาคต การทดลองนี้มีการรวมกันกองพลทหารปืนใหญ่ภาคสนามที่ 17 เข้ากับ
องค์ประกอบส่วนบังคับบัญชา, ส่วนข่าวกรองร่วม, ไซเบอร์สเปซ, สงคราม
อิเล็กทรอนิกส์ และส่วนประสานงานอวกาศ (ICEWS) และรูปแบบการจัดหน่วย
อื่ น  ๆ ที่ ส ่ ง มอบการประเมิ น ผลที่ เ ป็ น จริ ง ของแนวคิ ด และขี ด ความสามารถ

146
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

และส่งกลับข้อมูลของก�ำลังรบเพื่อยืนยันแผนและการพัฒนาของกองทัพบก
ส่วนปฏิบัติการหน้า MDTF ที่ประจ�ำอยู่พร้อมกับขีดความสามารถในทุกมิติ,
EMS และสภาพแวดล้อมข่าวสารสร้างประเด็นขัดแย้งใหม่ส�ำหรับฝ่ายตรงข้าม
ที่เพิ่มความแข็งแกร่งในการยับยั้ง โดยการท�ำให้แผนการสงครามของข้าศึก
มี ค วามซั บ ซ้ อ น ในช่วงที่มีความขัดแย้ง MDTF ยั ง ปฏิ บัติก ารรบที่ ประสบ
ความส�ำเร็จผ่านการสร้างความสูญเสียให้กับระบบเข้าถึงและการปฏิเสธพื้นที่
ของฝ่ายตรงข้ามและสนับสนุนกองก�ำลังรบจากภายใน จากการทดลองและ
การฝึกซ้อมจ�ำนวนมากในปี 2561 MDTF ประสบความส�ำเร็จในการเชือ่ มโยงระบบ
และจัดการในทุกมิติ, EMS และสภาพแวดล้อมข้อมูลข่าวสารด้วยวิธีที่ไม่เคย
ประสบความส�ำเร็จมาก่อน ก�ำลังร่วมและผสมแสดงให้เห็นถึงวิธีการใหม่ในการ
แบ่งปันขีดความสามารถในการเฝ้าตรวจและก�ำหนดเป้าหมายในการสนับสนุน
แผนการด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ร ่ ว ม ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด MDTF แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง วิ ธี ก าร
ใช้ ผ ลกระทบที่ ไ ม่ เ ป็ น อั น ตราย non-kinetic ที่ เ ป็ น ชั้ น  ๆ (EW, space,
ไซเบอร์ ส เปซ และการปฏิ บั ติ ก ารข่ า วสาร) ที่ ช ่ ว ยก� ำ หนดเงื่ อ นไขส� ำ หรั บ
การปฏิบัติภารกิจที่ใช้อาวุธและทหารที่ประสบความส�ำเร็จทั้งทางทะเลและ
ทางอากาศ ความพยายามของกองทัพบกสหรัฐฯ ภาคพื้นแปซิฟิก ได้จัดให้มี
บทเรียนทีส่ ำ� คัญส�ำหรับทัง้ กองทัพบกและกองก�ำลังร่วมและท�ำให้สามารถเปลีย่ น
MDO ได้เร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพจากแนวคิดสู่การปฏิบัติงานจริงในสนาม
ข. การประเมินผู้ปฏิบัติการรบร่วม (JWA) เป็นการฝึกในหลายระดับ
ด้วยกระสุนจริงระดับสูงของกองทัพบกที่มีจุดประสงค์เพื่อแสดงและประเมิน
แนวคิดและความสามารถในอนาคตของกองทัพทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับการปฏิบตั เิ ร่งรีบ
และว่องไว การฝึก JWA ก�ำหนดเงื่อนไขเพื่อประเมินการด�ำเนินการตามแนวคิด
ของหน่วยงาน MDO ให้แน่ใจว่ามีการบูรณาการและการท�ำงานร่วมกันของชาติ
ต่าง ๆ และบูรณาการและประเมินแนวคิดและขีดความสามารถในอนาคต

147
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

เพื่อให้บรรลุขีดความสามารถของกองทัพบก MDO ภายในปี 2571 การฝึก


JWA ถือเป็นโอกาสอันมีค่าให้กับกองทัพมุ่งเน้นวิธีการในการ "ปฏิบัติการ
MDO" การฝึกเช่นนี้อนุญาตให้หน่วยที่เข้าร่วมหลายระดับได้ท�ำการทดลอง
กับหนทางปฏิบัติตามแนวคิดและเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแก้ปัญหาที่
ส�ำคัญห้าประการของ MDO เพือ่ ต่อสูก้ บั ฝ่ายตรงข้าม : กองก�ำลังร่วมด�ำเนินการ
อย่างไรในการแข่งขัน, การแทรกซึม, การใช้ประโยชน์ และกลับสู่การแข่งขัน
ตลอดห้วงทางลึกของสภาพแวดล้อมการปฏิบัติเพื่อต่อสู้ เอาชนะ และด�ำรงอยู่
มีการฝึก JWA 18-1 เป็นครั้งแรกเพื่อตรวจสอบแนวคิด MDO ที่ Grafenwoehr
ประเทศเยอรมนีระหว่างวันที่ 27 เมษายนถึง 10 พฤษภาคม 2561

ฉ-2 บทเรียนที่ได้รับ – หลักการของ MDO


ก. การวางก�ำลังเพือ่ ให้เป็นมาตรฐาน เพือ่ ให้สามารถแข่งขันกับฝ่ายตรงข้าม
ได้อย่างมีประสิทธิภาพกองก�ำลังร่วมจ�ำเป็นต้องใช้การประกอบก�ำลังของก�ำลัง
ในแนวหน้าปฏิบตั กิ ารในขอบเขตของระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธพืน้ ที่
ในระยะยาวของฝ่ายตรงข้าม ในฐานะที่เป็นองค์ประกอบของ Joint Force
กองทัพเสนอทางเลือกที่สมเหตุสมผลในการจัดวางก�ำลังที่ยั่งยืนและยืดหยุ่นใน
พื้นที่ที่ถูกโต้ตอบจากการกระท�ำของฝ่ายตรงข้ามในการแข่งขันและการขัดกัน
ทางอาวุธ
(1) ตามหลั ก การแล้ ว การประกอบก� ำ ลั ง นี้ จ ะเป็ น ตั ว แทนองค์
ประกอบของกองทัพของ CJTF แบบถาวรหรือเสมือนที่พัฒนาความสัมพันธ์
การฝึกแบบสร้างนิสัย อย่างไรก็ตามการก่อตัวของกองทัพเหล่านี้จะต้องมี
ความสามารถในการด�ำเนินการด�ำเนินกลยุทธ์อย่างอิสระและใช้การยิงข้าม
มิติตามเจตนาของผู้บัญชาการกองก�ำลังร่วม ในกรณีที่ขีดความสามารถในการ
ควบคุมและสั่งการลดลงอย่างทันที การก่อตัวหลายมิติจะใช้การเคลื่อนไหวและ
การด�ำเนินกลยุทธ์ทวั่ ยุทธบริเวณในช่วงการแข่งขันและด�ำเนินการแสดงขีดความ
148
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

สามารถในการสนับสนุนการยับยั้ง, ปฏิบัติการเพื่อสร้างอิทธิพล และแผนการ


ลวงทางทหาร
(2) ผลกระทบที่ไม่เกี่ยวกับการใช้อาวุธและการปฏิบัติทางทหาร
มีความส�ำคัญมากขึ้นในการก�ำหนดเงื่อนไขส�ำหรับความส�ำเร็จการปฏิบัติที่ใช้
อาวุธและก�ำลังทหาร โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ อัตราส่วนก�ำลังสร้างความได้เปรียบ
ให้กับข้าศึกผลกระทบ เช่น การปฏิเสธและการหยุดชะงักของการสื่อสารของ
ข้าศึก การเฝ้าตรวจการติดตามความสามารถในการน�ำทาง การน�ำข้อมูลเท็จเข้าสู่
เครือข่ายข้าศึกและการปฏิบัติการที่มีอิทธิพล จะเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญมากขึ้น
ของภารกิ จ ส� ำ หรั บ การปฏิ บั ติ ก ารใช้ อ าวุ ธ และก� ำ ลั ง ที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ
สิ่งเหล่านี้สามารถจัดให้มีขึ้นด้วยการวางก�ำลังในแนวหน้าในพื้นที่หรือภูมิภาคที่
มีการช่วงชิงกับข้าศึก
ข. การก่อตัวหลายโดเมน
(1) วอร์ เ กมส์ แ ละการจ� ำ ลองยุ ท ธ์ บ ่ ง ชี้ ว ่ า กองก� ำ ลั ง ภาคพื้ น ดิ น
สามารถอยู่รอดได้ (เทียบกับกองก�ำลังทางอากาศและกองทัพเรือ) ปฏิบัติการ
ลึกลงไปในเขตต่อต้านและการปฏิเสธการเข้าโจมตีของฝ่ายตรงข้าม มาตรการ
เหล่านีร้ วมถึงการแพร่กระจาย, แผนการเคลือ่ นทีแ่ ข็งแกร่ง, การควบคุมการปล่อย
อย่างเข้มงวดจนกว่าจะถึงเงื่อนไขที่เหมาะสม, อ�ำพราง การปกปิด และการลวง
(รวมถึงการลวงทางแม่เหล็กไฟฟ้า), และที่บังคับบัญชาแบบเคลื่อนที่ การก่อตัว
ของหลายมิ ติ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น ที่ เ ด็ ด ขาดต่ อ กองก� ำ ลั ง ร่ ว มโดยการต่ อ สู ้ กั บ
การรุกรานของข้าศึกและท�ำการเจาะระบบระยะไกลของข้าศึก ในระยะเริ่มต้น
จากภายในขอบเขตของระบบต่อต้านการเข้าถึงและการปฏิเสธทางอากาศ
(2) การฝึกและประเมินก�ำลังพลและผู้น�ำในการด�ำเนินการ MDO
จะต้องใช้ความสามารถในการจ�ำลองยุทธ์แบบเรียลไทม์ซงึ่ รวมถึงหน่วยเหล่าอืน่ ๆ
ส่วนราชการ และขีดความสามารถของพันธมิตรนานาชาติ

149
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ค. การรวมเข้าด้วยกัน
การรวมเข้าด้วยกันนัน้ เกิดขึน้ ได้จากการรวมเหล่าทัพและปฏิบตั กิ าร
ร่วมกันในทุกมิติ, EMS และสภาพแวดล้อมข่าวสาร แบบแผนส�ำหรับเหล่าทัพ
เป็นศูนย์กลางการบูรณาการถือว่ามีความก้าวหน้า อย่างไรก็ตามกองก�ำลังร่วมมี
ข้อบกพร่องที่ส�ำคัญในเรื่องขีดความสามารถในการบรรลุการรวมเข้าด้วยกัน
ทั้งนี้ข้อบกพร่องบางอย่างเป็นเรื่องทางเทคนิค ส่วนบางเรื่องเป็นข้อบกพร่อง
ทางแนวคิด
(1) ข้อบกพร่องทางเทคนิค ข้อบกพร่องทางเทคนิคทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ สอง
ประการ คือ การขาดภาพการด�ำเนินงานร่วมกัน (COP) และข้อจ�ำกัดในการท�ำงาน
ร่วมกันระหว่างเซนเซอร์กับอาวุธยิง กองก�ำลังร่วมต้องใช้ COP หรือเครื่องมือ
สร้างภาพและสนับสนุนการตัดสินใจ ซึ่งช่วยให้ผู้บังคับบัญชาในแต่ละเหล่าทัพ
ในระดับใด ๆ ในภารกิจใด ๆ และในระดับการจัดหมวดหมู่ใด ๆ เพื่อ “เลือกลง”
หมวดหมู่ของข้อมูลที่พวกเขาจ�ำเป็นต้องตกลงใจควรเข้าใจรวมกันว่าควรรวม
ถึงวิธีการทางเทคนิคเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ส่งถึงพวกเขาจากส่วนประกอบสนับสนุน
ทัง้ หมด ชุดปฏิบตั กิ ารร่วมและผสมยังต้องการความสามารถของเซ็นเซอร์รว่ มใน
การเผยแพร่ข้อมูลการเฝ้าระวังและการก�ำหนดเป้าหมาย เพื่อให้มีข้อมูลส�ำหรับ
อาวุธยิงใด ๆ ทั้งแบบ kinetic และ non-kinetic การประกอบก�ำลังของ
กองทัพในหลายมิตติ อ้ งมีขีดความสามารถ ตัวอย่างเช่นเพื่อรับข้อมูลการก�ำหนด
เป้าหมายและการปราศจากการยิงจากแพลตฟอร์มร่วม เช่น F-35, Aegis หรือ
จากเครื่องมืออื่น ๆ ในยุทธบริเวณ กองทัพบกและเหล่าทัพอื่น ๆ มีแผนงานและ
ความคิดริเริ่มมากมายที่สามารถช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนเหล่านี้ได้
(2) ความบกพร่องทางแนวคิด
(ก) การควบคุมภารกิจ กองทัพจะต้องสร้างทีมงานมืออาชีพ
ที่ไว้ใจได้ซึ่งพร้อมที่จะท�ำงานในความก�ำกวมไม่แน่นอนและความโกลาหลและ

150
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ อ� ำ นาจผ่านหลัก นิยมของการควบคุม ภารกิ จ ในการตอบโต้ อ ย่ า ง


รวดเร็วจากการคุกคามและโอกาสตามเจตนาของผู้บังคับบัญชา แนวคิด MDO
ใช้ประโยชน์จากความได้เปรียบทางทหารทีส่ ำ� คัญของสหรัฐอเมริกา - คนของเรา
แต่กองทัพบกไม่ได้ออกแบบโปรแกรมการฝึกและการซ้อมรบด้วยวิธที เี่ อือ้ ต่อการ
ตัดสินใจแบบกระจายอ�ำนาจเช่นนี้ ต้องใช้ความพยายามทางหลักการมากขึ้นใน
การปรับปรุงการออกแบบการฝึกทีอ่ ำ� นวยความสะดวกในการปฏิบตั ภิ ารกิจของ
MDO เนื่องจากความซับซ้อนที่เพิ่มขึ้น
(ข) อ�ำนาจหน้าที่ ขีดความสามารถแบบ non-kinetic หลาย ๆ
อย่างของกองก�ำลังร่วมได้รับการแบ่งเป็นส่วนๆ และมีฝ่ายอ�ำนวยการและ
เจ้าหน้าที่จ�ำนวนไม่มากที่ได้รับสิทธิ์ในการเข้าถึง โปรแกรมเดียวกันหลาย
โปรแกรมเหล่านี้ต้องการการอนุญาตให้ใช้ขีดความสามารถในระดับรัฐมนตรี
หรือสูงกว่าและ/หรือการอนุญาตจากค�ำสัง่ ผูบ้ ญ ั ชาการยุทธ์ กองก�ำลังร่วมจ�ำเป็น
ต้องด�ำเนินการและใช้กระบวนการเพื่อให้ได้รับการอนุมัติอย่างรวดเร็วเพื่อใช้
ขีดความสามารถเหล่านี้ในการสนับสนุนการปฏิบัติการทางยุทธวิธี (กล่าวคือ
ต�ำ่ กว่า Corps, Fighter Wing, Carrier Strike Group และกองก�ำลังนาวิกโยธิน)
นี่เป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งเมื่ออัตราส่วนก�ำลังมีความได้เปรียบกับข้าศึก
(ค) การวางแผนเพิม่ ประสิทธิภาพอาวุธ อาวุธยุทโธปกรณ์ทมี่ อี ยู่
อย่างจ�ำกัดของกองก�ำลังร่วมสามารถสร้างการขาดแคลนทีส่ ำ� คัญซึง่ น�ำไปสูค่ วาม
พ่ายแพ้ในการต่อสู้ ดังนั้นเมื่อระบบการยิงร่วมอยู่ในระยะท�ำลายแบบเดียวกับ
ภั ย คุ ก คาม แผนการใช้ อ าวุ ธ ที่ ป รั บ ปรุ ง แล้ ว และจั ด ล� ำ ดั บ การยิ ง สามารถ
ช่วยบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด ในขณะที่บรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ
แผนเพิ่มประสิทธิภาพอาวุธแบบบูรณาการเป็นสิ่งจ�ำเป็นนอกเหนือไปจากกลไก
การจัดการความขัดแย้ง

151
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ฉ-3 บทเรียนที่ได้รับ - การเสริมสร้างความทันสมัย
ในขณะทีก่ ระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ได้ครอบครองการพัฒนาเทคโนโลยี
แทบทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการรบ ในปัจจุบันนี้ภาคการค้าก�ำลังผลิต
เทคโนโลยีเพือ่ การต่อสูจ้ ำ� นวนมากทีไ่ ด้เร็วกว่ากระทรวง ในบางกรณี กระบวนการ
จัดซือ้ ของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ เกือบจะรับประกันความล้าสมัยของอุปกรณ์
เมือ่ ถึงเวลาต้องน�ำไปประจ�ำการในสนาม การปฏิรปู การจัดหาอย่างต่อเนือ่ งแนะน�ำ
ให้กองทัพพิจารณาการเลือกขีดความสามารถใหม่ที่เป็นประเภทการได้มา
ประเภท II หรือ III และเลือกใช้รปู แบบ “ซือ้ ลองใช้ ตัดสินใจ” ซึง่ ริเริม่ โดยหน่วย
ปฏิบตั กิ ารพิเศษของสหรัฐอเมริกา สิง่ นีจ้ ะช่วยให้มนั่ ใจว่าหน่วยก�ำลังของกองทัพ
บกยังคงได้รับการเสริมสร้างยุทโธปกรณ์ที่ทันสมัยเพื่อตอบสนองความต้องการ
ด้านภารกิจ และจะช่วยให้กองทัพสามารถประเมินว่าขีดความสามารถที่เกิดขึ้น
ใหม่ควรเป็นโครงการใหม่ของกองทัพบก หรืออาจน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงข้อ
เสนอของโปรแกรมปัจจุบัน

152
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ผนวก ช
การอ้างอิงที่ส�ำคัญ

ส่วนที่ 1 การอ้างอิงที่ส�ำคัญ
ระเบียบกองทัพบก คูม่ อื การปฏิบตั ริ าชการสนามกองทัพบก, หลักนิยมกองทัพบก
ดูได้จาก http://www.usapa.army.mil TRADOC publications and
forms are available at TRADOC
Administrative Publications home page at http://adminpubs.tradoc.
army.mil. Joint publications
(JPs) are available on the Joint Electronic Library at http://www.dtic.
mil/doctrine/new_pubs/jointpub_operations.htm or https://
jdeis.js.mil/jdeis/ index.jsp?pindex=0
Army-Marine Corps Multi-Domain Battle: Combined Arms for the 21st
Century White Paper (2017, January 18)
Joint Operating Environment 2035, The Joint Force in a Contested and
Disordered World
TRADOC Pamphlet 525-3-0
The U.S. Army Capstone Concept

ส่วนที่ 1 การอ้างอิงที่เกี่ยวข้อง
A Cooperative Strategy for 21st Century Seapower
Army Doctrine Publication 1-01
Air Force Future Operating Concept
Air Superiority 2030 Flight Plan

153
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

Annual Report to Congress, Military and Security Development In-


volving the People’s Republic of China 2015. (2015, April 7).
Retrieved from https://www.defense.gov/Portals/1/Documents
/pubs/2015_China_Military_Power_Report.pdf
Capstone Concept for Joint Operations
Cross-Domain Synergy in Joint Operations Planners Guide - January 2016
Expeditionary Advanced Based Operations
FM 3-60 The Targeting Process
FM 3-90-1
Offense and Defense Volume 1
Fruhling, S., & Lasconjarias, G. (2016, March 21). NATO, A2/AD, and the
Kaliningrad challenge. Survival Magazine, 58(2), 95-116.
Retrieved from https://www.iiss.org/en/publications/survival/
sections/2016-5e13/survival--global-politics-andstrategy-april-
may-2016-eb2d/58-2-07-fruhling-and-lasconjarias-de87
Grau, L.W. & Bartles C. K. (2017 July). The Russian Way of War, Force Structure,
Tactics and Modernization of the Russian Ground Forces. Foreign
Military Studies Office. Retrieved from https://community.apan.
org/wg/tradoc-g2/fmso/p/fmso-bookshelf
Johnson, D. (2016). The Challenges of the “Now” and Their Implications
for the U.S. Army, RAND. Retrieved from http://www.rand.org/
pubs/perspectives/PE184.html
Joint Concept for Access and Maneuver in the Global Commons
Joint Concept for Entry Operations

154
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

Joint Concept for Human Aspects of Military Operations


Joint Concept for Integrated Campaigning
Joint Concept for Rapid Aggregation
Joint Operational Access Concept
Karber, P. & Thibeault, P. (2016, May 13). Russia’s new-generation
warfare. Army Magazine. Retrieved from http://www.armymag-
azine.org/2016/05/13/russias-new-generation-warfare/
Karber, P. (2015, July 8). “Lessons Learned from the Russo-Ukrainian
War: Personal
Observations,” Report for the Johns Hopkins Applied Physics Labo-
ratory and U.S. Army
Capabilities Center, The Potomac Foundation. Retrieved from
https://prodev2go.files.wordpress.com/2015/10/rus-ukr-lessons-draft.pdf
Littoral Operations in Contested Environments
Retrieved from https://marinecorpsconceptsandprograms.com/con-
cepts/littoral-operationscontested-environment
Marine Corps Operating Concept: How an Expeditionary Force Operates
in the 21st Century
Paul, C. and Matthews, M. (2016). The Russian “Firehose of Falsehood”
Propaganda Model, RAND Corporation. Retrieved from https://
www.rand.org/content/dam/rand/pubs/perspectives/PE100/
PE198/RAND_PE198.pdf
Rinehart, I. E. (2016, March). The Chinese Military: Overview and Issues
for Congress. Congressional Research Service. Retrieved from

155
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

https://digital.library.unt.edu/ark:/67531/metadc847539/m2/1/
high_res_d/R44196_2016Mar24.p df
Romjue, J. (1984, June). From Active Defense to AirLand Battle:
The Development of Army Doctrine, 1973-1982. Historical Of-
fice, U.S. Army Training and Doctrine Command. Retrieved from
https://books.google.com/books/about/From_active_defense_
to_AirLand_Battle.html?id =RqcZAAAAIAAJ
Shlapak, D. and Johnson, M. (2016). “Reinforcing Deterrence on NATO’s
Eastern Flank, Wargaming the Defense of the Baltics,” RAND.
Retrieved from https://www.rand.org/pubs/research_reports/
RR1253.html
Skinner, D. (1988, September). AirLand Battle Doctrine, Professional
Paper 463, Center for
Naval Analysis. Retrieved from http://www.dtic.mil/cgi-bin/GetTR-
Doc?AD=ADA202888& Location=U2&doc=GetTRDoc.pdf
Snegovaya, M. (2015, September). Russia Report I, “Putin’s Information
Warfare in the Ukraine: Soviet Origins of Russia’s Hybrid
Warfare.” Retrieved from http://www.understandingwar.org/
report/putins-information-warfare-ukraine-soviet-originsrus-
sias-hybrid-warfare
Summary of the 2018 National Defense Strategy of the United States
of America: Sharpening the American Military’s Competitive
Edge, U.S. Department of Defense. Retrieved from https://
www.defense.gov/Portals/1/Documents/pubs/2018-Nation-
al-Defense-StrategySummary.pdf
156
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

Thomas, T. L. (2007). Decoding the Virtual Dragon: Critical Evolutions


in the Science and
Philosophy of China’s Information Operations and Military Strategy,
Foreign Military Studies Office. Retrieved from https://commu-
nity.apan.org/wg/tradoc-g2/fmso/p/fmso-bookshelf
Thomas, T. L. (2016, May 2). Russia Military Strategy, Impacting 21st Century
Reform and
Geopolitics, Foreign Military Studies Office. Retrieved from http://
fmso.leavenworth.army.mil/E- Pubs/Epubs/Thomas_Rus-
sian%20Military%20Strategy_Final_(2%20May%202016).pdf
Unified Challenge 18.1 Seminar Final Event Report. Mission Command
Battle Lab. Available upon request from the proponent.
Weitz, R. (2014, August). “NATO Must Adapt to Counter Russia’s
Next-Generation Warfare;” World Politics Review. Retrieved
from http://www.worldpoliticsreview.com/articles/13976/
nato-must-adapt-to-counter-russia-s-next-generation-warfare
G-3 Worldwide Threat Assessment of the U.S. Intelligence Community,
Senate Select Committee on Intelligence. (2016, February 9).
Retrieved from http://www.intelligence.senate.gov/sites/
default /files/wwt2016.pdf

157
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

อภิธานศัพท์

ส่วนที่ 1 – อักษรย่อ และ ค�ำย่อชื่อ


ADRP Army doctrine reference publication : หลักนิยมอ้างอิง
ของ ทบ.
APS Army prepositioned stocks : การสะสมสิ่งอุปกรณ์
DoD Department of Defense : กระทรวงกลาโหม
DUT dense urban terrain : ภูมิประเทศที่เป็นเมืองหนาแน่น
EMS electromagnetic spectrum : แถบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
EW electronic warfare : สงครามอิเล็กทรอนิกส์
FM field manual : คู่มือราชการสนาม
HUMINT human intelligence : ข่าวกรองมนุษย์
IADS integrated air defense system : การสนธิระบบป้องกันภัย
ทางอากาศ
IEO information environment operations : สภาพแวดล้อมด้าน
การปฏิบัติการข่าวสาร
IRC information-related capability : ความสามารถด้านการเชือ่ มโยง
ข้อมูล
ISR intelligence, surveillance, and reconnaissance : การข่าวกรอง
การลาดตระเวน และค้นหาเป้าหมาย
JAM-GC Joint Concept for Access and Maneuver in the Global
Commons : แนวความคิดร่วมในการเข้าถึงและด�ำเนินกลยุทธ์
อย่างเสรีในทุกพื้นที่ทั่วโลก

158
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

JCEO Joint Concept for Entry Operations : แนวความคิดร่วม


ในการเริ่มเข้าสู่การยุทธ์
JCIC Joint Concept for Integrated Campaigning : แนวความคิด
ร่วมการสนธิแผนการทัพ
JOAC Joint Operational Access Concept : แนวความคิดร่วมการ
เข้าถึงทางยุทธการ
JP joint publication : หลักนิยมการรบร่วม
LRPF long-range precision fires : การยิงหวังผลระยะไกล
MDO Multi-Domain Operations : การยุทธหลายมิติ
MDTF Multi-Domain Task Force : กองก�ำลังเฉพาะกิจการยุทธ์หลายมิติ
MRL multiple rocket launcher : จรวดหลายล�ำกล้อง
NATO North Atlantic Treaty Organization : องค์กรสนธิสัญญา
แอตแลนติกเหนือ
SOF special operations forces : ก�ำลังปฏิบัติการพิเศษ
SAM surface-to-air missile : จรวดพื้นสู่อากาศ
SRBM short-range ballistic missile : จรวดขีปนาวุธระยะใกล้
TEC theater enabling command : กองบัญชาการเคลื่อนย้ายก�ำลัง
เริ่มแรกในยุทธบริเวณ
TRADOC U.S. Army Training and Doctrine Command : กองบัญชาการ
ฝึกและหลักนิยม
UAS unmanned aircraft system : ระบบอากาศยานไร้คนขับ
U.S. United States : ประเทศสหรัฐฯ

159
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ส่วนที่ 2 – ค�ำศัพท์ และค�ำจ�ำกัดความ


adversary : ฝ่ายตรงข้าม
กลุ่มบุคคลที่รับรู้ได้ว่าจะกลายเป็นปฏิปักษ์ หรือศัตรูต่อกลุ่มพันธมิตร
ของเรา และต่อต้านด้วยการใช้ก�ำลังหรืออาจเป็นการเผชิญหน้า
air domain : มิติการปฏิบัติทางอากาศ
ชั้นบรรยากาศที่เริ่มตั้งแต่พื้นผิวโลก ขยายขอบเขตขึ้นไปจนถึงระดับ
ความสูงที่อากาศมีผลต่อการปฏิบัติการน้อยลง
armed conflict : การขัดแย้งกันด้วยอาวุธ
ในช่วงเวลาซึง่ ต้องใช้ความรุนแรงเป็นเครือ่ งมืออันดับแรกโดยทีค่ ขู่ ดั แย้ง
ต่างพยายามตอบสนองผลประโยชน์ของตนเอง
battlefield : สนามรบ
ณ พืน้ ทีซ่ งึ่ มีการปฏิบตั กิ ารทางทหาร และก�ำลังด�ำเนินการเพือ่ ให้บรรลุ
เป้าหมายทางทหาร ซึง่ ประกอบไปด้วยห้วงมิตปิ ฏิบตั กิ ารทุกมิติ (ทางบก,
ทางอากาศ, ทางทะเล, อวกาศและไซเบอร์) รวมถึงปัจจัยและเงื่อนไข
ของความเข้าใจที่จะท�ำให้การใช้พลังอ�ำนาจการรบ การพิทักษ์หน่วย
ประสบความส�ำเร็จหรือบรรลุภารกิจทั้งนี้ยังรวมถึง ก�ำลังฝ่ายข้าศึก
ก�ำลังฝ่ายเดียวกันโครงสร้างพื้นฐาน ภูมิประเทศ ลมฟ้าอากาศ ที่อยู่ใน
พื้นที่ปฏิบัติการ และพื้นที่สนใจ
calibrated force posture : เกณฑ์ของการวางก�ำลัง
การผสมผสานระหว่างต�ำแหน่งทีต่ งั้ ของก�ำลังกับขีดความสามารถในการ
ด�ำเนินกลยุทธ์ จากระยะการเข้าถึงทางยุทธศาสตร์ ซึ่งรวมถึงสิ่งที่ไม่ใช่
ข้อจ�ำกัดเหล่านี้ ได้แก่ ฐานก่อก�ำลัง (Basing) และสิง่ อ�ำนวยความสะดวก
ความพร้อมของการจัดฟอร์มรูปแบบก�ำลังและยุทโธปกรณ์ การแบ่งสรร
ขีดความสามารถให้สว่ นต่าง ๆ การเคลือ่ นย้ายทางยุทธศาสตร์ทเี่ ป็นไปได้
การท�ำงานร่วมกัน วิธีเข้าถึง (Access) และผู้มีอ�ำนาจ
160
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

campaign : การทัพ
ชุ ด การปฏิ บั ติ ข องการยุ ท ธ์ ห ลั ก ที่ สั ม พั น ธ์ กั น อั น มุ ่ ง ไปสู ่ ก ารบรรลุ
วั ต ถุ ป ระสงค์ ท างยุ ท ธการและยุ ท ธศาสตร์ ภ ายในพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก าร
และเวลาที่ก�ำหนด
Close Area : พื้นที่การปฏิบัติระยะใกล้
ณ ทีซ่ งึ่ ก�ำลังฝ่ายเราและข้าศึก รูปขบวนและระบบการสูร้ บใกล้จะปะทะ
กันทางกายภาพ และการควบคุมการต่อสู้ในมิติทางกายภาพนั้นเป็นไป
เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการทัพ
Competition : ห้วงแข่งขันและช่วงชิง
ในสถานการณ์ที่ผู้แสดงทั้งสองฝ่ายหรือมากกว่า ต่างก็ด�ำเนินการใน
ระบบระหว่างประเทศในท่ามกลางผลประโยชน์ที่ขัดกัน แต่ก็พยายาม
ไม่ทำ� ให้เหตุการณ์บานปลาย ไม่เปิดขยายความขัดแย้งเพิม่ ในการช่วงชิง
ผลประโยชน์เหล่านั้น ในขณะที่ความรุนแรงยังไม่ใช่ เครื่องมือหลัก
ของฝ่ายตรงข้ามในการแข่งขันช่วงชิง สิ่งที่ท้าทายนั้นอาจรวมถึงช่วง
ที่ใช้ความรุนแรงเป็นเครื่องมือ ตลอดจนการใช้ก�ำลังตามแบบของรัฐที่
สนับสนุน ด้วยแหล่งที่มาที่ไม่แน่นอน
Contested spaces : ห้วงมิติการช่วงชิง
ณ พืน้ ทีซ่ งึ่ สหรัฐฯ พันธมิตร หรือกองก�ำลังผสม สามารถยืนหยัดท้าทาย
ต่อวิธกี ารปฏิเสธห้วงมิตพิ นื้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารของฝ่ายตรงข้ามได้ดำ� รงเสรีการ
ปฏิบตั ขิ องก�ำลังฝ่ายเดียวกันได้ในระดับหนึง่ รวมถึงอาจขัดขวางเสรีการ
ปฏิบัติของข้าศึกได้
Convergence : การรวมพลังอ�ำนาจ
คือการสนธิขีดความสามารถของทุกโดเมนเข้ามาอย่างต่อเนื่องและ
รวดเร็ว เช่น แถบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Spectrum)

161
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

สภาพแวดล้อมด้านสารสนเทศ ที่ปรับแต่งอย่างเหมาะสมเพื่อสร้าง
ผลกระทบให้เกิดความเหนือกว่าข้าศึก ผ่านข้ามโดเมนด้วยความหลาก
หลายในการท�ำงานร่วมกัน จากการโจมตีด้วยขีดความสามารถทั้งหมด
โดยการบังคับบัญชาที่มุ่งเน้นภารกิจและการริเริ่มอย่างมีวินัย
Counterinsurgency : การป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบ
การออกแบบความพยายามที่ครอบคลุมทั้งของฝ่ายทหารและพลเรือน
เพื่ อ ยั บ ยั้ ง และเอาชนะการก่ อ ความไม่ ส งบ และการระบุ ส าเหตุ
ของปัญหา
Cross-domain : ข้ามโดเมน
น�ำเอาผลกระทบจากห้วงมิติการรบหนึ่งไปสู่ห้วงมิติพื้นที่การรบอื่นๆ
Cross-domain fires : การยิงข้ามโดเมน
บูรณาการอ�ำนาจการยิง ทัง้ ทีม่ ผี ลในการสังหารและไม่มผี ลในการสังหาร
ข้ามสอดประสานกันทั้งห้าโดเมน (มิติทางบก, ทางทะเล, ทางอากาศ,
อวกาศและไซเบอร์) รวมถึงแถบคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า และสภาพแวดล้อม
ทางสารสนเทศ
Cross-domain maneuver : การด�ำเนินกลยุทธ์ข้ามโดเมน
การจัดการสนับสนุนซึ่งสัมพันธ์สอดคล้องกันทั้งขีดความสามารถที่มี
อ�ำนาจสังหารและไม่มอี ำ� นาจสังหารในหลายโดเมน เป็นการสร้างสภาพ
(เงื่อนไขการออกแบบ) เพื่อท�ำให้เกิดความเหนือกว่า เพื่อท�ำให้ข้าศึก
ต้องเผชิญกับปัญหาหลายด้าน ซึ่งจะส่งผลให้กองก�ำลังรบร่วมสามารถ
มีเสรีในการเคลื่อนย้ายและด�ำเนินกลยุทธ์
Cross-domain synergy : การประสานก�ำลังข้ามโดเมน
การเสริมขีดความสามารถซึ่งกันและกันต่างโดเมนในลักษณะของการ
เพิ่มประสิทธิผลให้แก่กัน และชดเชยช่องว่างระหว่างกัน ซึ่งสิ่งเหล่านี้

162
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

จะเป็นการสร้างความเหนือกว่าด้วยคุณลักษณะจาก (ที่เป็น) การผสม


โดเมนนี้ จะอ�ำนวยให้ฝา่ ยเรามีเสรีในการปฏิบตั ิ และสิง่ นีม้ คี วามจ�ำเป็น
ต่อภารกิจ
Cyberspace : มิติทางไซเบอร์
เป็นโดเมนทีค่ รอบคลุมไปทัว่ โลก ภายในสภาพแวดล้อมทางสารสนเทศ
ทีป่ ระกอบด้วย ระบบเครือข่ายทีพ่ งึ่ พากันภายในโครงสร้างพืน้ ฐานของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ และข้อมูลถิน่ ทีอ่ ยู่ รวมถึงอินเทอร์เน็ต เครือข่าย
โทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลฝังตัวและตัวควบคุม
Cycle time : วงรอบการปฏิบัติ
เวลาโดยรวมที่สั้นที่สุดที่ต้องการในการเชื่อมโยงการท�ำงานได้สมบูรณ์
ตั้งแต่การเตรียมการ การวางแผน การปฏิบัติการ ช่วงเวลาที่ยืนหยัด
และรีเซ็ตขีดความสามารถขึ้นใหม่
Decisive operation : การยุทธ์แตกหัก
การปฏิบัติการโดยตรงที่ท�ำให้ส�ำเร็จภารกิจ (ADRP 3-0)
Decisive space : ห้วงการยุทธ์แตกหัก
ข้อพิจารณาทางด้านภูมิศาสตร์ มโนทัศน์เกี่ยวกับความรู้สึกในทางโลก
ของมนุษย์ที่เป็นอยู่ในช่วงขณะปัจจุบัน ณ ที่ซึ่งการเพิ่มประสิทธิภาพ
อย่างเต็มรูปแบบของขีดความสามารถการใช้กำ� ลังระหว่างโดเมน ได้ถกู
พัฒนาขึ้นให้อยู่เหนือข้าศึก และมีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการยุทธ์
Deep Fires Areas : พื้นที่การยิงทางลึก
ได้แก่พนื้ ทีซ่ งึ่ อยูไ่ กลเกินกว่าก�ำลังในพืน้ ทีก่ ารรบของฝ่ายเราจะเคลือ่ นที่
ไปถึงแต่เป็นพืน้ ทีซ่ งึ่ การยิงสนับสนุนร่วม ก�ำลังรบพิเศษ การข่าวสารและ
ความสามารถเพิ่มเติมอื่นสามารถใช้ได้

163
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

Deep Maneuver Area : พื้นที่ด�ำเนินกลยุทธ์ทางลึก


คือพืน้ ทีซ่ งึ่ หน่วยด�ำเนินกลยุทธ์สามารถไปถึงได้ เป็นพืน้ ทีซ่ งึ่ เลยถัดออก
ไปจากพืน้ ทีก่ ารรบระยะใกล้ (Close Area) แต่ในการเข้าด�ำเนินกลยุทธ์
และต่อสู้นั้น ยังคงต้องการการแบ่งมอบ และหลอมรวมพลังอ�ำนาจ
จากขีดความสามารถของโดเมนต่างๆ
Destroy : ท�ำลาย
ภารกิจทางยุทธวิธที ที่ ำ� ให้กำ� ลังรบของข้าศึกหมดประสิทธิภาพลงในทาง
กายภาพ จนต้องฟืน้ ฟูขนึ้ ใหม่ อีกนัยหนึง่ คือ การท�ำลายระบบการสูร้ บ
ทุกระบบจนพังพินาศ และไม่สามารถฟื้นฟูขึ้นได้ นอกจากว่าเป็นการ
สร้างขึ้นใหม่ทั้งหมด
Deniedspaces : พื้นที่ที่จ�ำกัดการเข้าถึง
ณ พื้นที่ซึ่งฝ่ายตรงข้ามสามารถสร้างข้อจ�ำกัดอย่างเข้มแข็งต่อเสรีภาพ
ในการปฏิบตั ขิ องกองก�ำลังสหรัฐฯ และพันธมิตร ด้วยมาตรการต่อต้าน
การเข้าถึง และปฏิเสธการเข้าสู่ห้วงมิติพื้นที่ปฏิบัติการ
Dense urban terrain : ภูมิประเทศในเมืองหนาแน่น
พื้นที่ซึ่งมีลักษณะสิ่งปลูกสร้างที่ชิดกันอย่างแออัด และมีประชากร
มีความหนาแน่นสูงเป็นพิเศษ รวมถึงการกระจุกตัวของกลุม่ อาคารสูงชัน้
ดินมีลักษณะเฉพาะ และมีชุมชนแออัด (Slums) จ�ำนวนมาก
Dis-intergrate : การแยกสลาย
แยกระงับระบบการเชื่อมโยงของข้าศึกด้วยการท�ำลาย หรือรบกวน
ขัดขวาง ได้แก่ องค์ประกอบ (เครื่องมือในระบบควบคุมบังคับบัญชา,
การรวบรวมข่าวสาร, โหนด (nodes) ทีส่ ำ� คัญ เป็นต้น ) ลิดรอนสมรรถนะ
ในการปฏิบัติการ ซึ่งเป็นเหตุน�ำไปสู่การล่มสลายของขีดความสามารถ
ข้าศึกโดยรวดเร็วหรือยอมสู้ตาย

164
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

Dialocate : ท�ำให้เสียระเบียบ
ท�ำให้องค์ประกอบขีดความสามารถข้าศึกอยู่ในต�ำแหน่งที่ไม่เหมาะสม
ฝ่ายเรามีความได้เปรียบในการวางก�ำลัง โยกย้ายก�ำลังเพื่อดึงข้าศึก
ออกจากจุดแตกหัก (Decisive Point) ของเขาที่วางไว้ หรือบรรลุ
ความได้เปรียบทั้งด้วยทางยุทธวิธีหรือเทคโนโลยี
Domain : มิติพื้นที่
พื้นที่ท�ำกิจกรรมที่ประกอบด้วยสภาพแวดล้อมของการปฏิบัติการ
ทางพื้นดิน ห้วงอากาศ ทางทะเล ในอวกาศและทางไซเบอร์ ที่ซึ่งใช้
ปฏิบัติการยุทธ์ การประกอบก�ำลังและการจัดการทั้งมวล
Echeloning or echelonment : การจัดล�ำดับขั้น
การด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ ข องก� ำ ลั ง จากพื้ น ที่ ส นั บ สนุ น ทางยุ ท ธศาสตร์
และยุทธการ เข้าสูพ่ นื้ ทีส่ นับสนุนทางยุทธวิธี และพืน้ ทีก่ ารรบระยะใกล้
Electromagnetic spectrum : แถบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ย่านความถี่ของรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าจากศูนย์ถึงไม่มีที่สิ้นสุด แยกเป็น 26
ย่านความถี่ตามล�ำดับตัวอักษร (A-Z) (JP 3-13.1)
Enemy : ข้าศึก
กลุ่มบุคคลที่ระบุได้ว่าไม่เป็นมิตร และต่อต้านด้านการใช้ก�ำลังที่ตนเอง
สั่งการ
Engagement : การโจมตี
การผสมผสานการปฏิบตั ทิ างด้านกายภาพ ด้านข่าวสารและด้านจิตวิทยา
เพื่อน�ำไปสู่การโน้มน้าวต่อผู้ท่ีมีอ�ำนาจตกลงใจ (โจมตีท่ีความรู้สึก
และจิตใจ)
Escalation advantage : ขยายความได้เปรียบ
ขีดความสามารถในการปรับเปลี่ยนบทบาทของก�ำลังที่มาสนับสนุนเรา
ได้เร็วกว่าฝ่ายตรงข้าม
165
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

Expeditionary maneuver : ด�ำเนินกลยุทธ์โดยก�ำลังรบนอกประเทศ


การเข้าวางก�ำลังอย่างรวดเร็ว ของกองก�ำลังผสมเฉพาะกิจที่สามารถ
ส่งผ่านเข้าท�ำการยุทธ์ได้อย่างรวดเร็ว ด้วยระดับก�ำลังและปัจจัยเวลา
ที่เพียงพอ เพื่อให้ได้มาซึ่งการบรรลุวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์
Fix : ตรึง
ภารกิจทางยุทธวิธี ณ ทีซ่ งึ่ ผูบ้ งั คับบัญชาต้องการป้องกันการปฏิบตั ขิ อง
ข้าศึกจากการเคลื่อนที่จากสถานที่เฉพาะแห่งหนึ่ง ในช่วงเวลาที่เฉพาะ
เจาะจง การตรึงนี้รวมถึงผลกระทบจากเครื่องกีดขวาง ที่มุ่งเน้นตาม
แผนการยิง ซึ่งเครื่องกีดขวางดังกล่าวจะหน่วงเหนี่ยวการเคลื่อนที่ของ
ฝ่ายเข้าตีให้ช้าลงภายใต้พื้นที่ที่ก�ำหนด ซึ่งโดยทั่วไปแล้วหมายถึงพื้นที่
โจมตี (EA : Engagement Area)
Globally integrated operations : สนธิการปฏิบัติการทั่วโลก
จั ด รู ป แบบการยุ ท ธ์ ที่ สั ม พั น ธ์ กั น ระหว่ า งการปฏิ บั ติ ก ารทางทหาร
ภายใต้เวลา พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารและวัตถุประสงค์ ซึง่ จะด�ำเนินการโดยรวม
ทุกต�ำแหน่งในภูมิภาค ทุกมิติพื้นที่และในหลาย ๆ พันธกิจอันท้าทาย
(หลักนิยมหลักของการรบร่วม : Capstone Concept for Joint
Operations (draf-2018))
Hyperactive : กระท�ำมากเกินไป
การแสดงออกที่มากเกินปกติ หรือกระท�ำด้วยความพึงพอใจ เช่น
การแข่งขันกันอย่างรุนแรงในระหว่างสภาวะของการแข่งขันและช่วงชิง
การใช้ความรุนแรงอย่างสุดขัว้ (Hyper-Violent) ในสภาวะทีข่ ดั แย้งกัน
ด้วยอาวุธ

166
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

Independent maneuver : ด�ำเนินกลยุทธ์อิสระ


การด�ำเนินกลยุทธ์ที่แยกการปฏิบัติ ภายในห้วงเวลา เป็นลักษณะที่ไม่
ต่อเนื่องกัน (พื้นที่ไม่ติดกัน) ให้การสนับสนุนโดยหน่วยบังคับบัญชา
สูงสุดทีอ่ ำ� นวยการยุทธ์ ในขณะทีก่ ำ� ลังพยายามด�ำรงพลังอ�ำนาจการรบ
(Combat power) เพื่อเข้าสู่มิติพื้นที่ปฏิบัติการแตกหักโดยรวดเร็ว
โดยการยิงและการด�ำเนินกลยุทธ์ข้ามโดเมน เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์
ของภารกิจ ภายใต้เจตนารมณ์ของการทัพในยุทธบริเวณ
Information space : พื้นที่ข้อมูลข่าวสาร
ระบบอันซับซ้อนที่สัมพันธ์กันของกระแสข้อมูลในระบบเครือข่าย
ในท่ามกลางสังคมประชาชน ซึง่ ผบ. ต้องเข้าใจและน�ำมาพิจารณา เพือ่
ให้ได้มาและด�ำรงไว้ซึ่งเสรีในการปฏิบัติ
Information environment : สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร
ผลรวมของแต่ละส่วนจากหน่วยต่างๆ จากการรวบรวมโดยระบบ
กระบวนการปฏิบตั ิ รวมถึงการเผยแพร่ และการปฏิบตั ติ อ่ ข้อมูลข่าวสาร
(JP 3-13)
Information environment operations : การปฏิบัติการในด้านสภาพ
แวดล้อมข้อมูลข่าวสาร บูรณาการการใช้หน่วยงานด้านการข่าวที่มี
ขีดความสามารถสอดคล้องกันในการท�ำงานร่วมกับเส้นความพยายาม
อืน่ ๆ (Linesof operation) เพือ่ บีบบังคับ เพือ่ การลวง รบกวนให้สบั สน
ท�ำให้เลวร้ายลง ซึ่งกระบวนการคิดตัดสินใจของข้าศึก หรือการที่เรา
ช่วงชิงการตัดสินใจก่อนฝ่ายตรงข้าม ในขณะที่ด�ำรงไว้ ซึ่งการพิทักษ์
ข้อมูลข่าวสารฝ่ายเรา ทั้งหมดนี้เพื่อลดทอนการเป็นปฏิปักษ์ของ
ประชาชนและข้ า ศึ ก ที่ มี ต ่ อ เรา เพื่ อ เกื้ อ กู ล ต่ อ ฝ่ า ยเดี ย วกั น และ
ประชาชนส่วนใหญ่ที่เป็นกลาง ให้การสนับสนุนปฏิบัติการของฝ่ายเรา
และพันธมิตร

167
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

Information operations : การปฏิบัติการข่าวสาร


บูรณาการการใช้หน่วยงานด้านการข่าว ทีม่ ขี ดี ความสามารถสอดคล้อง
กันในการท�ำงานร่วมกับเส้นความพยายามอืน่ ๆ (Lines of operation)
เพื่อบีบบังคับ เพื่อการลวง รบกวนให้สับสน ท�ำให้เลวร้ายลง ซึ่ง
กระบวนการคิดตัดสินใจของข้าศึก หรือการที่เราช่วงชิงการตัดสินใจ
ก่อนฝ่ายตรงข้ามในขณะที่ด�ำรงไว้ซึ่งการพิทักษ์ข้อมูลข่าวสารฝ่ายเรา
Information warfare : การสงครามข่าวสาร
การใช้ ห น่ วยงานที่มีขีดความสามารถด้า นการข่ า ว ในการรณรงค์
บิดเบือนข้อมูลโดยเจตนา เป็นการสนับสนุนการปฏิบัติจากองค์กรด้าน
การข่าวกรอง ซึ่งออกแบบมาเพื่อสร้างความสับสนให้แก่ข้าศึก และ
เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ด้วยต้นทุนที่ต�่ำที่สุด
Interoperability : ความสามารถปฏิบัติการร่วมกัน
1. คุณลักษณะและสมรรถนะทีส่ ามารถท�ำงานร่วมกันได้ ตามกิจเฉพาะ
ที่ได้รับมอบภายใต้การปฏิบัติการ (JP 3-0)
2. เงื่ อ นไขการบรรลุ ผ ลส� ำ เร็ จ ประกอบด้ ว ยระบบการสื่ อ สาร
อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ห รื อ เครื่ อ งมื อ สิ่ ง อุ ป กรณ์ สื่ อ สารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์
เมื่อข่าวสารและการบริการสามารถแลกเปลี่ยนกันโดยตรงและ
เป็นที่พอใจแก่ทั้งสองฝ่าย หรือในบรรดาผู้ใช้งาน
Intelligence, surveillance and reconnaissance : การข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ
และการลาดตระเวน สนธิการปฏิบตั กิ ารและกิจกรรมด้านการข่าวกรอง
ด้วยความประสานสอดคล้อง บูรณาการการวางแผนและการปฏิบตั กิ าร
ใช้ เ ครื่ อ งมื อ ตรวจจั บ ทรั พ ยากรและกระบวนการปฏิ บั ติ ก ารระบบ
การเผยแพร่เพือ่ การใช้ประโยชน์แก่ฝา่ ยเรา ในการสนับสนุนการปฏิบตั ิ
ทั้งในปัจจุบันและอนาคต เรียกค�ำย่อว่า ISR (JP2-01)

168
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

Irregular warfare : สงครามไม่ตามแบบ


การต่อสูท้ รี่ นุ แรงท่ามกลางตัวแสดงทีเ่ ป็นรัฐและไม่ใช่รฐั เพือ่ ความถูกต้อง
ชอบธรรม และเพื่อมีอิทธิพลอยู่เหนือมวลชนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ค�ำย่อ
ว่า IW (JP1) [Note : สงครามไม่ตามแบบ นิยมการต่อสู้ทางอ้อมและ
ใช้วิธีการอสมมาตร (Asymmetric) แม้ว่ามันอาจใช้ก�ำลังได้เต็มย่าน
การปฏิบตั ทิ างทหารรวมกับขีดความสามารถด้านอืน่ เพือ่ กัดกร่อนพลัง
ของฝ่ายตรงข้าม สร้างอิทธิพลไปสู่ชัยชนะ
Isolate : โดดเดี่ยวเป้าหมาย
เป็นภารกิจทางยุทธวิธีที่ต้องใช้หน่วยในการปิดกั้นข้าศึกจากแหล่ง
สนับสนุน ซึ่งเป็นการปิดกั้นทั้งทางกายภาพและในทางจิตวิทยา ท�ำให้
ข้าศึกหมดเสรีในการเคลือ่ นย้าย ป้องกันข้าศึกส่วนทีถ่ กู แยกให้โดดเดีย่ ว
ติดต่อกับข้าศึกส่วนอื่น (FM 3-90-1)
Land domain : มิติการปฏิบัติทางบก
ได้แก่ พื้นดินบนผิวโลกสิ้นสุด ณ ที่ระดับน�้ำทะเลขึ้นสูงสุด ซึ่งซ้อนทับ
อยูก่ บั มิตกิ ารปฏิบตั ทิ างทะเล (Maritime Domain) เฉพาะส่วนทีอ่ ยูใ่ น
ผืนแผ่นดินอย่างแท้จริง (JP3-31)
Littoral : แนวชายฝั่งทะเล
พื้นที่แนวชายฝั่งประกอบไปด้วยส่วนส�ำคัญสองส่วน ซึ่งมีผลกระทบ
ต่อสภาพแวดล้อมทางยุทธการ คือ 1. ออกสู่ทะเล (seaward) ได้แก่
พืน้ ทีจ่ ากทะเลเปิดสูแ่ นวชายฝัง่ ซึง่ ต้องควบคุมเพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั ิ
การขึ้นสู่ฝั่ง (Operation ashor) 2. เข้าหาฝั่ง (Landward) ได้แก่ พื้นที่
ในแผ่นดินจากชายฝั่งทะเลที่สามารถสนับสนุนและป้องกันการรุกจาก
ทางทะเล (JP 2-01.3)

169
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

Maritime domain : มิติการปฏิบัติทางทะเล


ได้แก่ มหาสมุทร ทะเล อ่าว ปากอ่าว/ปากแม่นำ�้ เกาะ พืน้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเล
และพื้นที่ห้วงอากาศ (airspace) เหนือบริเวณดังกล่าวทั้งหมด
Multi – domain : การปฏิบัติหลายมิติ/การยุทธ์หลายมิติ
กระท�ำการยุทธ์หรือการปฏิบัติการมากกว่าหนึ่งโดเมนในเวลาเดียวกัน
Multi – domain formations : รูปแบบการจัดก�ำลังในการยุทธ์หลายมิติ
การจัดหน่วยภายใน ทบ. ที่รวมทั้งสมรรถนะและขีดความสามารถ
เข้าด้วยกันรวมถึงความจ�ำเป็นในการยืนหยัด เพือ่ ปฏิบตั กิ ารข้ามโดเมน
ในมิติพื้นที่การต่อสู้ ต่อต้านฝ่ายตรงข้ามที่อยู่ใกล้
Multi – Domain Operations (MDO) : การยุทธ์หลายมิติ
เข้าท�ำการปฏิบตั กิ ารยุทธ์ในหลายมิตพิ นื้ ทีข่ องการต่อสู้ เพือ่ เอาชนะก�ำลัง
ความเข้มแข็งของข้าศึกหรือฝ่ายตรงข้าม ด้วยการท�ำให้พวกเขาต้องเผชิญ
กับการปฏิบัติการที่หลากหลาย และ/หรือ ยุทธวิธีที่ยากล�ำบาก ด้วย
การประยุกต์วิธีผสมเครื่องมือ จากเกณฑ์ของการวางก�ำลังที่เหมาะสม
เพื่อให้ได้มาซึ่งรูปขบวนการใช้ก�ำลังในหลายมิติ และการหลอมรวม
ขี ด ความสามารถข้ า มโดเมน โดยค� ำ นึ ง ถึ ง สภาพแวดล้ อ มในการ
ปฏิบัติการ พันธกิจการต่อสู้ในช่วงเวลาและพื้นที่ปฏิบัติการเพื่อบรรลุ
วัตถุประสงค์ทางยุทธการและยุทธวิธี
Near – peer adversaries : ฝ่ายตรงข้ามที่อยู่ใกล้
ประเทศเหล่านั้นที่มีเจตนารมณ์ มีสมรรถนะและขีดความสามารถใน
การช่วงชิงผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกาที่อยู่ทั่วโลก หรือในทุกมิติ
(All Domain) เช่น มิติ EMS (ความถีค่ ลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า) และมิตสิ ภาพ
แวดล้อมด้านสารสนเทศ

170
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

Neutralize : ตัดรอน/ต่อต้าน
เป็นภารกิจทางยุทธวิธี ผลลัพธ์ทตี่ อ้ งการ คือ ก�ำลังพลข้าศึก ยุทโธปกรณ์
และสมรรถนะในการท�ำงาน ถูกรบกวนขัดขวางด้วยการปฏิบตั ทิ เี่ ฉพาะ
เจาะจง (FM 3-90-1)
Operational maneuver : การด�ำเนินกลยุทธ์ระดับยุทธการ
คือการด�ำเนินกลยุทธ์ทสี่ นับสนุนวัตถุประสงค์ในระดับยุทธการ โดยปกติ
จะเกิดขึ้นในยุทธบริเวณปฏิบัติการ
Operational preparation of the environment : การจัดเตรียมสภาพแวดล้อม
ทางยุทธการ การด�ำเนินกิจกรรมภายในพื้นที่ปฏิบัติการที่มีแนวโน้ม
หรือความเป็นไปได้ ส�ำหรับการจัดเตรียมและจัดรูปแบบ (shape) ของ
สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติการ
Operational Support Area : พื้นที่สนับสนุนทางยุทธการ/ ระดับยุทธการ
พื้นที่ซึ่งได้รับการจัดตั้งขึ้นจากพื้นที่ส่วนใหญ่ของพื้นที่ทางอากาศและ
ทางทะเล สามารถขับเคลื่อนแหล่งส่งก�ำลัง ควบคุมและด�ำรงสภาพ
ตลอดจนถึงที่ซึ่งหน่วยก�ำลังภาคพื้นเข้าสู่ยุทธบริเวณ มีการจัดหน่วย
และความพร้อมและความว่องไว ส�ำหรับการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า และ
บูรณาการการปฏิบัติ
Overmatch : ความเหนือกว่า
การประยุกต์ใช้ขีดความสามารถหรือยุทธวิธีที่ไม่ซ�้ำแบบใคร เช่นเดียว
กับโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อม ประกอบด้วยเจตนารมณ์ในการป้องกัน
หรือลดทอนก�ำลังฝ่ายตรงข้าม ทีก่ ำ� ลังเข้าปฏิบตั กิ ารหรือใช้ยทุ โธปกรณ์
ตามแผนหรือปฏิบัติทางยุทธวิธี
Planning of relative advantage : เวลาในการวางแผนและปฏิบัติการ
ปัจจัยเวลาส�ำหรับวางแผนการใช้ก�ำลัง จากนั้นจึงปฏิบัติตามแผน
เพือ่ สร้างผลกระทบ เพือ่ การสร้างหน้าต่าง (โอกาส) แห่งความได้เปรียบ
171
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ตามปกติแล้วการวางแผนและเตรียมการจะเกิดขึ้นพร้อมกัน แม้ว่ามัน
จะขึ้นอยู่กับสถานการณ์และขีดความสามารถอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่อาจ
เป็นปัจจัยจ�ำกัด
Position of relative advantage : ต�ำแหน่งของความได้เปรียบ
ต�ำแหน่งที่ตั้งหรือหน่วยที่จัดตั้งขึ้นด้วยสภาพเงื่อนไขที่พึงประสงค์ที่สุด
ภายในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ซึง่ จะอ�ำนวยให้ผบู้ งั คับบัญชามีเสรีในการปฏิบตั ิ
ในช่วงเวลาหนึ่ง เพื่อเพิ่มพูนอ�ำนาจก�ำลังรบให้เหนือกว่าข้าศึก หรือ
เหนืออิทธิพลของข้าศึก ยอมรับเกณฑ์เสี่ยงและเคลื่อนเข้าสู่ต�ำแหน่งที่
เสียเปรียบ
Precision logistics : การส่งก�ำลังบ�ำรุงที่แม่นย�ำ
คือศิลปะในการส่งก�ำลังสนับสนุนหน้า ส�ำหรับใช้ประโยชน์ร่วมกัน เช่น
ตัวขับเคลื่อนเซ็นเซอร์ส�ำหรับวิเคราะห์และพยากรณ์ข้อมูล, การซ่อม
บ�ำรุงตามสภาพ ณ จุดที่จ�ำเป็น และหุ่นยนต์อัตโนมัติส่งก�ำลังแบบ
รวมการ ตามประโยชน์ความต้องการที่ถูกรวบรวม เพื่อท�ำให้รูปขบวน
ของก�ำลังหลายมิติ (Multi - Domain) สามารถเข้าร่วมในภาวะของ
การแข่งขันและช่วงชิงได้อย่างน่าเชื่อถือ, เปลี่ยนไปสู่การขัดแย้งกัน
ด้วยอาวุธ (Armed Conflict) ด้วยความรวดเร็วและว่องไว, และ
มี ค วามลึ ก ในการท� ำ การยุ ท ธ์ ห ลายมิ ติ , รวมถึ ง การเพิ่ ม เติ ม ก� ำ ลั ง
ให้ แ ก่ รู ป ขบวนก� ำ ลั ง ที่ เข้ า ด� ำ เนิ น กลยุ ท ธ์ โดยอิ ส ระเพื่ อ ยื ด เวลา
และการเข้าถึงความยืดเยื้อในการปฏิบัติการ (Reach of protracted
operations)
Preperationtime : เวลาเตรียมการ
ปัจจัยเวลาที่ต้องการส�ำหรับประกอบก�ำลังหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ หรือ
จัดเตรียมขีดความสามารถ (e.g.acyber weapon) จากที่ต้ังปัจจุบัน

172
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

ไปยังห้องพื้นที่ปฏิบัติการ (space) ตามเจตนารมณ์หรือไปสู่หน้าต่าง


(โอกาส) แห่งความได้เปรียบ
Reset : ปรับก�ำลังใหม่
ชุดของการปฏิบตั ใิ นการฟืน้ ฟูยทุ โธปกรณ์ใหม่ เข้าสูร่ ะดับทีต่ อ้ งการ สมดุล
กับขีดความสามารถการรบของหน่วย ส�ำหรับภารกิจในอนาคต
Resilience : ความยืดหยุ่น
ความสามารถในเรื่องรูปแบบและระบบของ ทบ. ทุกระดับหน่วยใน
การปฏิบัติการ ณ พื้นที่แข่งขันและช่วงชิง เพื่อต่อต้านศักยภาพของ
ฝ่ายตรงข้าม
Shaping operation : ปฏิบัติการจัดรูปแบบ
การปฏิบตั กิ ารเพือ่ ก�ำหนดเงือ่ นไขไปสูก่ ารปฏิบตั กิ ารแตกหัก (Decisive
Operation) มุ่งสร้างผลกระทบให้เกิดขึ้น
Snap drill : ตรวจความพร้อมรบเร่งด่วน
การตอบสนองอย่ า งรวดเร็ ว ต่ อ การปฏิ บั ติ ท างทหาร เพื่ อ ทดสอบ
ความพร้อมรบ
Space domain : มิติห้วงอวกาศ
พื้นที่ซึ่งอยู่เหนือความสูง (Attitude) ของชั้นบรรยากาศบริเวณที่
ผลกระทบต่อวัตถุบิน มีอยู่เพียงเล็กน้อย
Stand – off : ยุทธศาสตร์การป้องกันและการยืนหยัดหลายชั้น
ทางกายภาพ, องค์ความรู้, การคัดแยกข้อมูลข่าวสาร ที่ท�ำให้มีเสรีใน
การปฏิบัติในที่ใดๆ, หรือบางแห่ง, หรือในทุกมิติปฏิบัติการ (domain)
รวมถึงแถบคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า และสภาพแวดล้อมทางสารสนเทศ เพือ่ ให้
บรรลุวตั ถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ และ/หรือ วัตถุประสงค์ทางยุทธการ
ก่อนที่ฝ่ายตรงข้ามจะสามารถตอบโต้ได้เพียงพอ ทั้งนี้มันจะสัมฤทธิผล
ได้ด้วยการใช้ศักยภาพทางการเมืองและทางการทหารควบคู่กัน
173
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

Strategic maneuver : การด�ำเนินกลยุทธ์ทางยุทธศาสตร์


การด�ำเนินกลยุทธ์ที่สนับสนุนวัตถุประสงค์ระดับยุทธศาสตร์โดยทั่วไป
จะเกิดขึ้นมากกว่าหนึ่งยุทธบริเวณปฏิบัติการ (intertheater : ระหว่าง
ยุทธบริเวณภาคพื้น)
Strategic Support Area : พื้นที่สนับสนุนทางยุทธศาสตร์
พื้นที่ซึ่งอยู่ภายใต้การประสานงานของผู้บัญชาการทหาร (แต่งตั้งโดย
รัฐบาลรับผิดชอบการใช้ก�ำลังทั้งมวล สหรัฐฯ เรียกว่า Combatant
Command - ผู ้ แ ปล) เส้ น การสื่ อ สารยุ ท ธศาสตร์ ท างทะเลและ
ทางอากาศ รวมถึงพื้นที่ภายในประเทศ (สหรัฐอเมริกา)
System : ระบบ
กลุ่มของการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน, เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกัน, และองค์
ประกอบที่พึ่งพาซึ่งกันและกัน หรือระบบย่อยซึ่งมาจากความซับซ้อน
และรวมเป็ น หนึ่ ง ระบบใหญ่ ทุ ก ระบบย่ อ มมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องมั น
ตามการจัดเรียงองค์ประกอบภายในโครงสร้างเพื่อด�ำเนินการตาม
วัตถุประสงค์ (TRADOC Pamphlet 525-3-3)
Tactical Support Area : พื้นที่สนับสนุนทางยุทธวิธี
คือพื้นที่ซึ่งสามารถปฏิบัติการแตกหักทางยุทธวิธีโดยตรง ในพื้นที่การ
ปฏิบัติระยะใกล้ และขยายผลขีดความสามารถไปสู่การด�ำเนินกลยุทธ์
ทางลึกและการยิงทางลึก
Unconventional warfare : สงครามนอกแบบ
กิจกรรมการท�ำงานที่ด�ำเนินการเพื่อให้สามารถต่อต้านการเคลื่อนไหว
หรือก่อความไม่สงบเพือ่ รบกวนบีบบังคับ เพือ่ โค่นล้มรัฐบาล หรือปฏิบตั ิ
การยึดครองด้วยก�ำลัง โดยก�ำลังใต้ดิน กลุ่มสนับสนุนและก�ำลังกองโจร
ในพื้นที่ปฏิเสธ (denied area : ป้องกันและปฏิเสธไม่ให้ฝ่ายตรงข้าม

174
การยุทธ์หลายมิติ
Multi-Domain Operations 2028

เข้ามาสู่พื้นที่ทุกมิติ โดยมีระบบอาวุธยิงต่อต้าน - ผู้แปล) นิยมเรียกว่า


ยูวอร์ (Also called UW.) (JP 3-05.1)
window of superiority : หน้าต่างของความได้เปรียบ (โอกาส)
การหลอมรวมขีดความสามารถในเวลาและพื้นที่ปฏิบัติการ ภายใต้
โดเมน และสภาพแวดล้อมที่เลือกไว้ ท�ำให้ ผบ.มีความได้เปรียบ
ในเรือ่ งการควบคุมทีแ่ คบลง ได้เปรียบทางกายภาพ ทางภาวะเสมือนจริง
(เทคโนฯ สารสนเทศ-ผู้แปล) และ/หรือมีอิทธิพลทางปัญญาอยู่เหนือ
พื้นที่ที่ก�ำหนดเพื่อป้องกันมันจากข้าศึก หรือพัฒนาเงื่อนไขที่จ�ำเป็น
เพื่อผลส�ำเร็จในกลยุทธ์ของฝ่ายเรา

175

You might also like