You are on page 1of 25

War Philosophy and Naval Strategist Exam

๑. ในการชนะสงครามใด ๆ นัน
้ จำเป็ นที่จะต้องหาหนทางชนะข้าศึกไว้ตงั ้ แต่ก่อนที่จะมีการทำสงคราม และต้อง
เป็ นชัยชนะในระดับยุทธศาสตร์ จึงจะนำพาประเทศให้อยู่รอดต่อไปได้ จงเขียนอธิบายเชิงเปรียบเทียบจากทฤษฎี
การทำสงครามในระดับยุทธศาสตร์ที่ได้ศึกษาจาก เคลา เซวิทซ์, ซุนวู และ เหมา เจ๋อ ตง โดยอธิบายให้ครบทุก
ประเด็น ดังนี ้ ความหมายของสงครามและวัตถุประสงค์ของสงคราม, วิธีการได้มาซึ่งชัยชนะรวมถึงการใช้กำลังรบ
หลักและกำลังที่ไม่ใช่กำลังรบหลัก, ผู้นำทางทหาร
และประชาชนกับการทำสงคราม (น.ท.กฤษณพร, น.ท.รศ.สันติ, น.ท.วรยุทธ, น.ท.ฐิติกร น.ท.สุทธิชัย,
น.ต.ณโรจ)
ตอบ การทำสงครามในระดับยุทธศาสตร์ควรใช้เครื่องมือและกำลังอำนาจของชาติทงั ้ หมดของประเทศ ซึง่
ประเทศหนึ่งนำมาใช้กับประเทศหนึ่ง ประกอบด้วย ด้านการทูต ข้อมูลข่าวสาร ด้านการทหาร และด้านเศรษฐกิจ
ซึ่งเป็ นการทำสงครามตามแบบและหรือสงครามนอกแบบ รายละเอียดการเปรียบเทียบทฤษฎีการทำสงครามของ
นักทฤษฎีการทำสงครามแต่ละท่าน ดังนี ้

รายการ ซุนวู เหมา เจ๋อ ตง เคลา เซวิทซ์


๑.ความหมายของ การทำสงครามคือ ความสําคัญ สงคราม คือ ปรากฎการณ์ สงครามคือ การต่อสู้ด้วยความ
อย่างสูงต่อการคงอยู่ของรัฐ ลักษณะเฉพาะของสังคมเพราะ รุนแรงระหว่างข้าศึก ๒ ฝ่ าย
สงครามและ
รายการ ซุนวู เหมา เจ๋อ ตง เคลา เซวิทซ์
วัตถุประสงค์ของ เกี่ยวข้องกับความเป็ นความตาย มนุษย์มีความขัดแย้ง และพัฒนา หรือมากกว่า ที่เป็ นอิสระต่อกัน
ไปสู่การทำสงคราม สงคราม โดยที่แต่ละฝ่ ายพยายามบีบ
สงคราม
เป็ นหนทางไปสู่ทงั ้ ความอยู่รอด เป็ นการเมืองที่หลั่งเลือด การ บังคับให้อีกฝ่ ายทำในสิ่งที่ตนเอง
และการล่มสลาย ดังนัน
้ จึงอย่า แข่งขันทางเศรษฐกิจ ต้องการ ดังนัน
้ วัตถุประสงค์
เลี่ยงที่จะเรียนรู้ให้ตลอด โดยมีวัตถุประสงค์ของสงคราม ของสงคราม เพื่อใช้กำลังเพื่อบีบ
ดังนัน
้ วัตถุประสงค์ของสงคราม เพื่อปลดแอก บังคับให้อีกฝ่ ายทำความต้องการ
คือ เพื่อความอยู่รอดของชาติ ทางชนชัน
้ ของประชาชน โดย ของฝ่ ายตนเอง
ประชาชน
เพื่อประชาชน
๒. วิธีการการได้มาซึ่ง ชนะโดยไม่ต้องรบ/เลี่ยงจุดแข็ง ยึดมั่นในสงครามที่ชอบธรรม -รวมกำลังทัง้ หมด

ชัยชนะรวมถึงการใช้ ตีจุดอ่อน (เสมือนน้ำไหล)/เสีย และต่อต้านการทำสงครามที่ไม่ (concentration) เข้าโจมตีที่จุด


เปรียบอย่ารบ/รุก-รับ ชอบธรรม ศูนย์ดุล (Central of Gravity)
กำลังรบหลัก และ
เมื่อจำเป็ น - ใช้กองทัพประชาชนเป็ น หรือ
กำลังที่ไม่ใช่กำลังรบ
บทบาทนำ ที่จุดชีข
้ าด (Decisive Point)
หลัก
- มีเอกภาพในการบังคับบัญชา - ใช้ปฏิบัติการเชิงรับ
- ยึดหลักการ ๓ ประสาน + ๑ (Defense) เมื่อกำลังฝ่ ายเรา
ประชาชน ได้แก่ อ่อนแอ
รายการ ซุนวู เหมา เจ๋อ ตง เคลา เซวิทซ์
๑. กองทัพที่เป็ นกำลังหลัก - ใช้ปฏิบัติการเชิงรุก
๒. กองทัพสำคัญที่อยู่ตาม (Offensive) เมื่อกำลังฝ่ ายเรามี
พื้นที่/ทัพภาค ความแข็งแกร่งกว่า
๓. กองกำลังสำรองหรือทหารบ้าน - เปลี่ยนอยากฉับพลันด้วย CP
(กองกำลังสำรอง)
๔. ความร่วมมือของประชาชน
ในการทำสงคราม
๓. ผู้นำทางทหาร ก่อนการตัดสินใจเข้าสู่สงคราม - เป็ นผู้นำที่มีลักษณะดังนี ้ - ผู้นำจะต้องรู้หลักการสงคราม
ผู้นำ แม่ทัพ นายกอง จะต้อง ๑. อำนวยการยุทธ์บนอัตวิสัย (Principle) และ เรียนรู้ใน
ประเมินสถานการณ์ผ่านปั จจัย คือ ยึดตนเองเป็ นศูนย์กลาง ให้ เปลี่ยน Defensive-
พื้นฐาน ๕ ประการ ได้แก่ ความสำคัญกับคนเก่ง และภว >Offensive
ปัจจัยที่ ๑ คือ การเมือง คือ สิ่ง วิสัย คือ การมองในมุมกว้าง ให้
เชื่อมโยง Trinity of War คือ
ที่เป็ นเหตุผลที่ประชาชนจะเห็น ความสำคัญกับคนดี
รัฐบาล ทหาร และประชาชน
พ้องร่วมกับผู้นํา ด้วยเหตุ ๒. มองภาพรวม
ประการฉะนีป
้ ระชาชนจะติด ๓. จับประเด็นที่สำคัญ ๆ
ตามผู้นําโดยไม่ห่วงชีวิต ๔. เข้าใจธรรมชาติของสงคราม
ปราศจากความกลัวจากภัย ๕. ปรับเปลี่ยนอ่อนตัว
รายการ ซุนวู เหมา เจ๋อ ตง เคลา เซวิทซ์
อันตรายต่าง ๆ
ปัจจัยที่ ๒ สภาพอากาศ คือ
กลางคืนและ กลางวัน หนาว
หรือร้อน แจ่มใสหรือฝนตก และ
การเปลี่ยนของอากาศ
ปัจจัยที่ ๓ ภูมิประเทศ คือ
ระยะทาง รวมถึง พื้นที่ท่ข
ี วาง
กัน
้ อยู่นน
ั ้ ง่ายหรือยาก โล่งหรือ
คับแคบ ซึ้งจะมีผลต่อโอกาส
รอดหรือตาย
ปั จจัยที ๔ คือ ผู้บังคับบัญชา
คือ ที่ภูมิปัญญา ความมีนํ า้ ใจ
ความเมตตา ความกล้าหาญและ
ความเข้มงวด
ปัจจัยที ๕ คือ หลักนิยม คือ
ความเข้าใจในการจัดองค์กร
กองทัพ ระบบการให้บําเหน็จ
รายการ ซุนวู เหมา เจ๋อ ตง เคลา เซวิทซ์
เลื่อนขัน
้ ระหว่างนายทหาร
ระเบียบข้อบังคับของการส่งกํา
ลังบํารุง และ การจัดหาเตรียม
การเกี่ยวกับยุทโธปกรณ์ทาง
ทหารสําหรับกองทัพ
ผลการวิเคราะห์ห้าปัจจัยพื้น
ฐานนีส
้ ามารถชีไ้ ด้ว่า ฝ่ ายไหน
จะเป็ นผู้ได้รับชัยชนะ และฝ่ าย
ไหนจะประสบความพ่ายแพ้
ด้วยการตอบคำถามที่สำคัญ ๗
คำถาม ดังนี ้
๑) ผู้นำของรัฐใด มีคุณธรรมคือ
ความชอบธรรมในการประกาศ
สงครามหรือพาประชาชนเข้า
ร่วมสงครามได้มากกว่ากัน
๒) ผู้บังคับบัญชาฝ่ ายใดมีสติ
ปั ญญาที่เฉียบคมที่พร้อมด้วย
รายการ ซุนวู เหมา เจ๋อ ตง เคลา เซวิทซ์
ความรู้และประสบการณ์ มี
ความจริงใจ เอื้ออาทร ความ
กล้าหาญ และความเข้มงวด
มากกว่ากัน
๓) ฝ่ ายใดเจนจัด ชำนาญ และ
สามารถใช้ประโยชน์จากสภาพ
อากาศ สภาวะแวดล้อมทาง
อุตุนิยมวิทยา และสภาวะ
แวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ได้
มากกว่ากัน
๔) ฝ่ ายใดมีกฎระเบียบ ข้อ
บังคับ วินัยทหาร สายการบังคับ
บัญชา ระบบการจัดการในการ
ส่งกำลังบำรุง ฝ่ ายใดมีมากกว่า
กัน
๕) กำลังทหาร อาวุธยุโธปกรณ์
การเพิ่มเติมกำลัง การซ่อมบำรุง
รายการ ซุนวู เหมา เจ๋อ ตง เคลา เซวิทซ์
ฝ่ ายใดมีมากกว่ากัน
๖) ระบบการฝึ กหัดศึกษา ระบบ
เพิ่มพูนสติปัญญา ความรู้ ความ
สามารถและประสบการณ์ ฝ่ าย
ใดมีมากกว่ากัน
๗) กฎระเบียบการให้บำเหน็จ
รางวัล และการลงโทษผู้กระทำ
ผิด ผู้ฝ่าฝื นวินัยกองทัพ ฝ่ ายใด
เป็ นธรรมมากกว่ากัน

๔. ประชาชนกับการทำ ผู้นำจะต้องสร้างการรับรู้และ ใช้การทำสงครามประชาชน โดย อธิบายผ่าน Trinity of War ใน

สงคราม ทำความเข้าใจด้วยวิธีการต่าง ๆ ติดอาวุธให้ประชาชน โดยอาศัย มุมมองของแรงขับตามธรรมชาติ


เพื่อให้ประชาชนรับรู้ใน หลักความชอบธรรม (เกลียดชัง รุนแรง ความเป็ น
สถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อที่จะ ปฏิปักษ์)
ทำให้ผู้นำของรัฐและประชาชน - ความรุนแรง ความเกลียด และ
รายการ ซุนวู เหมา เจ๋อ ตง เคลา เซวิทซ์
มีจุดประสงค์ร่วมกันในการทำส่ง ความเป็ นศรัตรูเป็ นสัญชาตญาน
คราม พูดอีกนัยหนึ่งคือ ผู้นำ ดิบของมนุษย์ที่มีโอกาสในการ
ของรัฐมีความชอบธรรมในการ ทำสงคราม
ประกาศสงคราม ไม่ใช่การนำพา
ประชาชนเข้าสู่สงครามโดยที่
ประชาชนไม่ได้มีความรู้สึก
ร่วม/ไม่ได้มีความเต็มใจในการ
ทำสงคราม
๒. จากแนวคิดที่ทรงอิทธิพลไปทั่วโลกในเรื่องการทำสงครามทางทะเล
ของ Sir Julian Corbett และ Alfred Thayer Mahan ประกอบกับ
ทฤษฎีการใช้กำลังทางอากาศของนักทฤษฎีสงครามทางอากาศทัง้ ๕
ท่าน ให้ นทน.วิเคราะห์จากขีดความสามารถจริงของ ทร.ไทย และ
ทอ.ไทย และเขียน Maritime Power at sea และ Maritime Power
From the Sea. ในสาขาที่ นทน.คิดว่าประเทศไทยสามารถทำได้ โดย
อธิบายเหตุผลตามตรรกะความคิดของ นทน. (น.ต.ศรัณย์, น.ต.ยุทธา,
น.ท.จิรัฏฐ์, น.ต.กุลวิณ, น.ต.บุญญฤทธิ)์

แนวตอบ เอา slide นี ้ เป็ นแนวตอบครับ


แล้วลองเขียนของตัวเองดูว่า ทร.ของเรา ทำอะไรได้บ้าง แล้วที่ว่าได้นน
ั้
ทำมันอย่างไร

จากแนวความคิดการปฏิบัติการทางเรือของ A.T.Mahan และ Sir Julian


Corbett ส่งอิทธิพลต่อการกำหนดยุทธศาสตร์ ทร. ๒๐ ปี นัน
้ ซึง่ ได้
กำหนดแนวความคิดทางยุทธศาสตร์ไว้ทงั ้ สิน
้ ๓ ด้าน ได้แก่ การเสริม
สร้างความร่วมมือด้านความมั่นคง(Enhance Maritime Security
Cooperation) การป้ องปราม (Deterrence) และ การป้ องกันเชิงรุก
(Active Defense) ซึง่ จากยุทธศาสตร์ ทร. ๒๐ ปี นัน
้ นำมาซึ่งแนวความ
คิดในการปฏิบัติการทางเรือของ ทร.ไทย จะสามารถแบ่งเป็ น ๒ ประเภท
ใหญ่ๆ ได้แต่ Maritime Power at sea และ Maritime power from
the sea ซึ่งขีดความสามารถที่ ทร.ไทย สามารถกระทำได้โดยแบ่งตาม
ด้านต่าง ๆ ตามยุทธศาสตร์ของ ทร.ดังนี ้

๑. การเสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคง(Enhance Maritime
Security Cooperation) การดำเนินนโยบายระหว่างประเทศในการ
สร้างความสัมพันธ์ทางทหารกับประเทศต่าง ๆ

- Support of Diplomacy แนวความคิดในการพัฒนาความสัมพันธ์


ระหว่างประเทศในด้านทางการทูตนัน
้ เป็ นขีดความสามารถที่ ทร.ไทย
สามารถกระทำได้โดยในปั จจุบันนัน
้ มีการส่งเรือไปเข้าร่วมการปฏิบัติการ
ทางการฑูตร่วมกับนานาประเทศ อีกทัง้ ยังมีการตัง้ สำนักงาน
ผชท.ทหารไทยในประเทศต่าง ๆ

- Peace Support Operation การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ เป็ นสาขา


การปฏิบัติการที่กองทัพเรือได้ทำการสนับสนุนและส่งกำลังพลเข้าร่วมกับ
กองกำลังนานาชาติอยู่อย่างต่อเนื่อง

๒. ด้านการป้ องปราม Deterrance โดยใช้แนวคิดที่จะยับยัง้ ความตัง้ ใจ


ในการคุกคามของฝ่ ายตรงข้าม

- Defense In Depth เป็ นการป้ องกันเชิงลึกหรือการวางกำลังในการ


ป้ องกันประเทศเป็ น Layer ตามพื้นที่ต่างๆเพื่อเป็ นการแจ้งเตือนล่วงหน้า
ซึ่งแนวความคิดในการ Defense in Depth นัน
้ เป็ นแนวความคิดที่
ทร.ใช้อยู่ในการป้ องกันภัยทางอากาศ และ แนวทางการป้ องกันในพื้นที่
ทรภ.ต่าง ๆ นอกจากนีย
้ ังมีการปฏิบัติการร่วมกับ ทอ.ในการป้ องกันภัย
ทางอากาศในพื้นที่ภาพรวมของประเทศ และมีการร้องขออากาศยานของ
ทอ.มาใช้ในการปฏิบัติภารกิจป้ องกันภัยทางอากาศ หรือโจมตีเป้ าหมาย
ผิวน้ำให้กับกองกำลังทางเรือเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติการ
ทางเรือ (COG(Defensive), Warden)

- Maritime Surveillance การลาดตระเวนทางทะเลโดยมีวัตถุประสงค์


ในการป้ องปรามและสร้างภาพสถานการณ์ทางทะเล โดย ทร.มีการ
ปฏิบัติการในด้านนีอ
้ ยู่อย่างต่อเนื่อง อีกทัง้ ยังมีการปฏิบัติการร่วมกับ
บ.ลาดตระเวนและ อากาศยานแบบต่าง ๆ ของ ทอ.เพื่อเพิ่มความ
ตระหนักรู้ในภาพสถานการณ์ทางทะเล (OODA loop; Boyd)

- SLOC Protection (Sea line of Communication) การปกป้ องเส้น


ทางคมนาคมทางทะเลให้ปลอดภัยและสามารถทำการเดินเรือได้อย่าง
ปลอดภัย

๓. ด้านการป้ องกันเชิงรุก (Active Defense) โดยการใช้กำลังทางเรือ


ปฏิบัติการตอบโต้อย่างรุนแรงและรวดเร็ว (Quick Response) มีอำนาจ
เหนือพื้นที่การรบ (Battle space Dominance) มีความต่อเนื่อง
ในการปฏิบัติการ (Sustained Operations)

- Sea Control / คือการควบคุมทะเลในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ตามห้วงเวลา


ที่ต้องการ เพื่อให้ฝ่ายเราสามารถใช้ประโยชน์จากพื้นที่ที่ควบคุมนัน
้ ได้
อย่างเต็มที่ ซึ่งการทำ Sea control นัน
้ มียุทธวิธีต่างๆเพื่อให้ได้มาซึ่งการ
ควบคุมทะเล ไม่ว่าจะเป็ นการทำ Choke Point Control หรือก็คือการ
วางกำลังทางเรือไว้ในจุดที่เป็ นจุดผ่านที่สำคัญในการเดินทางยกตัวอย่าง
เช่นการเดินทางจากอ่าวไทยไปฝั่ งทะเลอันดามันนัน
้ มี choke point คือ
บริเวณทางเข้า ช่องแคบสิงคโปร์ หรือ ทางออกช่องแคบมะละกา เป็ นต้น
หรือการประกาศพื้นที่MEZ(Military Engagement Zone) หรือพื้นที่
ปฏิบัติการทางทหาร ซึ่งแนวความคิดในการควบคุมทะเลนัน
้ ทร.ได้
ทำการฝึ กและทดสอบอยู่เป็ นประจำในการฝึ ก ทร.ประจำปี และมีการ
ปฏิบัติการร่วมกับ ทอ.ในกรณีที่มีการต่อต้านโดยภัยคุกคามทางอากาศ
จากข้าศึก หรือมีความจำเป็ นที่จะต้องได้มาซึ่งการครองอากาศในห้วง
อากาศเหนือยุทธบริเวณนัน
้ (Local Air Superiority; Douhet,
Trenchard, Mitchell)

- Sea Denial คือการปฏิเสธการใช้ทะเล โดยเป็ นการกระทำที่ ฝ่ ายเราไม่


ต้องการใช้พ้น
ื ที่นน
ั ้ ๆ และ ไม่ต้องการให้ฝ่ายตรงข้ามสามารถใช้พ้น
ื ที่นน
ั้
ด้วย ซึ่งการทำ Sea Denial นัน
้ เป็ นแนวความคิดที่ ทร.ได้ทำการฝึ กและ
ทดสอบอยู่เป็ นประจำในการฝึ ก ทร.ประจำปี และมีการปฏิบัติการร่วมกับ
ทอ.ในกรณีที่จำเป็ นต้องร้องขอ อ.เพื่อทำการโจมตีทางลึก หรือโจมตีเป้ า
หมายเหนือผิวน้ำ และพื้นดินที่กองกำลังทางเรือไม่มีขีดความสามารถที่
จะโจมตีเองได้ (Local Air Superiority; Douhet, Trenchard,
Mitchell)

- Close and Distance Blockade


การปิ ดล้อมระยะใกล้ (Close) – เพื่อป้ องกันข้าศึกไม่ให้ออกมาจาก
ท่าเรือและปฏิบัติการในทะเล เพื่อบรรลุเป้ าหมายการครองทะเลเฉพาะที่
หรือแบบชั่วคราว

– การปิ ดล้อมระยะไกล (Distance) – เพื่อบีบให้ข้าศึกออกมาจากท่าเรือ


โดยการเข้าควบคุมเส้นทางคมนาคมทางทะเลของข้าศึก ในกรณีนี ้ ฝ่ าย
เราจะพยายามดึงข้าศึกให้ออกมารบแตกหัก เพื่อบรรลุเป้ าหมายในการ
ครองทะเลแบบทั่วไป

ซึ่ง ทร.นัน
้ ได้มีการเตรียมแผนในการ Anti Blockade ในพื้นที่อ่าวไทย
เนื่องจากในพื้นที่อ่าวไทยนัน
้ มีโอกาสที่จะถูก Blockade ได้ ซึง่ สามารถ
ทำการปฏิบัติการร่วมกับ ทอ.ได้โดยทำการร้องขอกำลังทางอากาศในการ
ทำ MAS และการทำ AI เพื่อให้ได้มาซึ่งการควบคุมอากาศนในพื้นที่ที่
ต้องการเพื่อต่อต้านการถูก Blockade ได้ (Local Air Superiority;
Douhet, Trenchard, Mitchell)

- Close and Distance Escort คือการคุ้มกันกระบวนเรือที่มีคุณค่าทาง


ยุทธการสูงในการเดินทางผ่านพื้นที่อันตรายได้อย่างปลอดภัยซึ่งมี
แนวทางการปฏิบัติในการคุ้มกันกระบวนเรืออยู่ ๒ แนวทาง คือ การคุ้ม
กันกระบวนเรือระยะใกล้(Close) การคุ้มกันกระบวนเรือระยะ
ไกล(Distance) รวมถึงมีการปฏิบัติการร่วมกับ บ.ทอ.เพื่อเพิ่มขีดความ
สามารถในการลาดตระเวนส่วนหน้าเพื่อเพิ่มภาพสถานการณ์ในการใช้คุ้ม
กันกระบวนเรืออีกด้วย (OODA loop; Boyd)
Power Projection From Sea (อันนีค
้ ือหัวข้อใหญ่จากภาพทางด้าน
ขวา มาแตกเป็ นรายละเอียดย่อยๆ ตามด้านของการป้ องกันเชิงรุก
ตามยุทธศาสตร์ ทร.๒๐ ปี )

๑. การปฏิบัติการยุทธ์สะเทินน้ำสะเทินบก (Amphibious Operation)


มีความมุ่งหมายในการส่งผ่านกำลังทางบกขึน
้ ไปปฏิบัติการในพื้นที่บนฝั่ ง
ของข้าศึก หรือพื้นที่ฝ่ายเราที่ข้าศึกยึดครอง โดยการนำยานพาหนะ
กำลังรบ ไปกับเรือของฝ่ ายเราเดินทางไปทางทะเล โดยมีการปฏิบัติต่าง
ๆ ดังนี ้

๑.๑ การโจมตีสะเทินน้ำสะเทินบก (Amphibious Assault) เป็ นการ


ปฏิบัติการยุทธ์สะเทินนำสะเทินบก โดยมีวัตถุประสงค์ในการสถาปนาที่
หมายบนฝั่ งและมีการส่งกำลังบำรุงเพิ่มเติม

๑.๒ การโจมตีโฉบฉวยสะเทินน้ำสะเทินบก (Amphibious Raid)


เป็ นการใช้กำลังรบยกพลขึน
้ บกด้วยจำนวนกำลังที่มีความคล่องตัว ด้วย
ความรวดเร็ว เหนือความคาดหมายของฝ่ ายตรงข้าม และไม่มีการ
สถาปนาที่หมายบนฝั่ ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจของ
ข้าศึกให้แบ่งกำลังมาป้ องกัน

๑.๓ การแสดงลวงสะเทินน้ำสะเทินบก (Amphibious Demonstration)


เป็ นการปฏิบัติการยุทธ์สะเทินน้ำสะเทินบกเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ ตรึง
และสนับสนุนการปฏิบัติการอื่น ๆ

๑.๔ การถอนตัวสะเทินน้ำสะเทินบก (Amphibious Withdrawal)


เป็ นการปฏิบัติการถอนกำลังฝ่ ายเราที่ถูกปิ ดล้อมด้วยกำลังฝ่ ายตรงข้าม
ออกจากพื้นที่ปฏิบัติการ
๒. การโจมีตีฝั่ง (Land Attack) การใช้กำลังรบโจมตีต่อที่หมายบนฝั่ ง
ก่อนการทำการยกพลขึน
้ บก

๓. การสนับสนุนการปฏิบัติการบนฝั่ ง (Land Support) เป็ นการปฏิบัติ


การเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติหลักการบนฝั่ งไม่ว่าจะเป็ นการสนับสนุนยิง
ฝั่ ง หรือการสนับสนุนคลื่นตามคำขอ

๔. การอพยพประชาชนออกจากพื้นที่ขัดแย้ง (Noncombatant
Evacuation Operations : NEO) เป็ นการอพยพประชาชน หรือผู้ที่
ไม่ใช่พลเรือนรบ ออกจากพื้นที่ที่มีความขัดแย้ง

ซึ่งในการปฏิบัติการ From the sea นัน


้ มีปฏิบัติการร่วม ทอ.ในภารกิจ
การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิดให้กับกำลังรบยกพลขึน
้ บก และ
ภารกิจการโจมตีทางอากาศให้แก่เป้ าหมายเชิงลึก และเป้ าหมายที่มีการ
คุ้มกันแน่นหนาในภารกิจยกพลขึน
้ บก (COG; Warden)
3. ปั จจุบันนีส
้ ังคมโลกได้เข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ที่เทคโนโลยีอันเจริญก้าวหน้า
ได้เชื่อมโยงโลกเข้าด้วยกัน ทำให้โลกมีความใกล้ชิดกันมากขึน
้ มีการเกิด
ขึน
้ ของประเทศ หรือกลุ่มประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจใหม่ๆ ทำให้
ระบบโลกในปั จจุบันจึงเป็ นระบบหลายขัว้ ที่ประเทศที่มีศักยภาพต่าง
แข่งขัน และถ่วงดุล และร่วมมือซึ่งกันและกัน นอกจากนีย
้ ุคโลกาภิวัตน์ยัง
ส่งผลให้รูปแบบของภัยคุกคามได้เปลี่ยนแปลงไป จากภัยคุกคามที่เกิด
จากรัฐ กำลังทางทหาร หรือการเกิดสงครามขนาดใหญ่มีแนวโน้มลดลง
ขณะที่การพัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี การเดินทาง และการติดต่อ
สื่อสาร นอกจากทำให้รัฐต่างๆมีศักยภาพลดลงในการบริหารจัดการด้าน
ความมั่นคง และยังทำให้เกิดภัยคุกคามความมั่นคงรูปแบบใหม่ขน
ึ ้ ซึ่ง
ครอบคลุมทัง้ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางสังคม ความมั่นคง
ของมนุษย์ และความมั่นคงทางสิ่งแวดล้อม ที่เป็ นภัยคุกคามที่มีลักษณะ
ข้ามชาติ และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึน
้ อย่างมีนัยยะสำคัญ ดังนัน
้ แนวโน้มใน
การปฏิบัติการด้านความมั่นคงของกองทัพเรือในอนาคต มีความจำเป็ น
จะต้องดำรงบทบาททัง้ 2 ด้าน คือ การรบ และการไม่ใช่การรบอย่าง
สมดุล โดยยังคงบทบาทใน 3 บทบาทหลัก ได้แก่ การปฏิบัติการทาง
ทหาร การรักษากฎหมายและช่วยเหลือ และการสนับสนุนกิจการระหว่าง
ประเทศ จากที่กล่าวมาทัง้ หมด คิดว่า ข้อใดบ้างของหลักกาคทำสงคราม
ทัพไทย 10 ข้อ ที่มีความโดดเด่น และสำคัญอย่างยิ่งที่จะมาประยุกต์ใช้
กับกองทัพเรือ เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อบทบาทหลักทัง้ 3 บทบาท
ของ ทร. ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้เลือก 5 ข้อ และให้อธิบายว่า
แต่ละข้อนำมาประยุกต์ได้อย่างไร (น.ต.ภูวจักร, น.ต.ตรีศัลย์, น.ต.ชวัล
ธร, น.ต.กฤษณ์, น.ต.ธนัสม์)

1 การรวมกำลัง (Concentration of Forces) การรวมกำลังวัตถุหรือ


บุคคล ให้เหนือกว่าข้าศึก ณ ตำบลที่ และเวลาที่ต้องการผลการรบ
แตกหัก (ประสานกำลังรบ, รวมอำนาจโจมตี)

บทบาทของของกองทัพเรือนัน
้ ดำรงทัง้ บทบาทด้านการรบ และ
ด้านที่ไม่ใช่การรบ ถึงแม้ปัจจุบันในยุคโลกาภิวัตน์ กองทัพเรือจะมีแนว
โน้มในการปฏิบัติการรบลดลง และภัยคุกคามจะมาในรูปแบบของภัย
คุกคามรูปแบบใหม่ ไม่ใช่ในรูปแบบของภัยคุกคามจากรัฐ ทำให้หลักการ
รวมกำลังเพื่อให้กำลังเหนือกว่าข้าศึกและการรบแตกหักอาจจะไม่ได้มี
การใช้อย่างเด่นชัด แต่การใช้หลักการรวมกำลัง ทัง้ วัตถุหรือบุคคลในการ
ต่อต้านภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การก่อการร้าย โจรสลัด จะมีแนวโน้ม
มากกว่า รวมทัง้ สามารถนำหลักการรวมกำลังมาใช้ในการปฏิบัติการอื่นๆ
นอกเหนือจากการทหาร เพื่อความพร้อมและประสิทธิภาพในการปฏิบัติ
อย่างรวดเร็วและทันที ยกตัวอย่างเช่น การรวมกำลังเพื่อช่วยเหลือผู้
ประสบภัยจากภัยธรรมชาติ หรือการบรรเทาสาธารณภัยทางทะเล

2 ความมุ่งหมาย (Objective) การกำหนดเป้ าหมายและวัตถุประสงค์


อย่างชัดเจน เพื่อให้หน่วยรองลงมาทัง้ หมดได้รับทราบและเข้าใจตรงกัน
(ทำลายความสามารถในการรบของข้าศึก, ทำลายเจตนารมณ์หรือความ
มุ่งมั่นในการรบของข้าศึก

หลักกการความมุ่งหมายมีความสำคัญ และมีการนำมาประยุกต์ใช้
ในกองทัพเรือ โดยกองทัพเรือจะต้องมีการกำหนดเป้ าหมายและ
วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เห็นได้จากมีการกำหนดวัตถุประสงค์และความมุ่ง
หมายในบทบาทสำคัญทัง้ ๓ บทบาท ได้แก่ บทบาทในการปฏิบัติการทาง
ทหาร (Military role) มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการฝึ กเพื่อเตรียมความ
พร้อมของกำลังรบให้มีความ สอดคล้องกับสถานการณ์ซึ่งจะมีความ
สอดคล้องกับภัยคุกคามยุคโลกาภิวัตน์ ด้านบทบาทในการรักษากฎหมาย
และช่วยเหลือ (Constabulary role) มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาขีด
ความสามารถและกลไกความร่วมมือการ บริหารจัดการภัยพิบัติของ ทร.
เพื่อให้การช่วยเหลือประชาชนได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ สุดท้าย
ด้านบทบาทกิจการระหว่างประเทศ (Diplomatic Role) มีความมุ่ง
หมายเพื่อดำเนินความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างประเทศอย่าง
สมดุล จากบทบาทที่กล่าวมาข้างต้น ล้วนมาจากนโยบายของผู้บัญชาการ
ทหารเรือ ที่มีความมุ่งหมายเพื่อให้การปฏิบัติของหน่วยปฏิบัติมีความ
เข้าใจ และเป็ นไปในทางเดียวกัน รวมทัง้ ทันต่อภัยคุกคามในยุคโลกาภิวัต
น์

3. การรุก (Offensive) หนทางที่มีประสิทธิภาพและเด็ดขาดที่สุดในการ


บรรลุวัตถุประสงค์ (ชิงความริเริ่มก่อนข้าศึก, ดำรงความอิสระในการ
ปฏิบัติ, บรรลุผลขัน
้ เด็ดขาด)
ในสภาวะปั จจุบัน ความขัดแย้งที่นำไปสู่การรบขัน
้ แตกหักเป็ นไปได้
น้อย แต่จะเป็ นการรบในลักษณะการก่อการร้ายและการก่อความไม่สงบ
ทัง้ ภายในประเทศและลักษณะข้ามชาติ ในลักษณะภัยคุกคามดังกล่าว
ทร. สามารถใช้หลักสงครามในหัวข้อการรุก (Offensive) สร้างหลักนิยม
ในการขจัดภัยคุกคามก่อนที่จะเกิดเหตุความไม่สงบ เพื่อที่จะได้เป็ นผู้
ควบคุมเกมการรบนัน
้ ๆ ตลอดจนสามารถควบคุมความเสียหายที่จะเกิด
ขึน
้ ซึ่งเป็ นแนวทางที่สามารถตอบสนองบทบาทหลักของ ทร. ได้

4. การระวังป้ องกัน/การรักษาความปลอดภัย (Security) การดำเนินการ


ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยหรือลดความล่อแหลมจากการโจมตีของ
ข้าศึก ซึ่งจะทำให้ฝ่ายเรามีเสรีภาพใน การดำเนินการรุก
ในความก้าวหน้าในเทคโนโลยีปัจจุบัน ระบบการรับส่งข้อมูลจะเป็ น
ลักษณะ Cloud Computing มีความล่อแหลมในการถูก Hack หรือการ
โจรกรรมข้อมูล การนำหลักการระวังป้ องกัน/การรักษาความปลอดภัย
(Security) จึงควรนำมาประยุกต์ใช้กับ ทร. ในประเด็นนี ้ ด้วยการสร้าง
ระบบ Cyber Security อย่างเป็ นรูปธรรม เพื่อป้ องกันการรั่วไหลของ
ข้อมูลชัน
้ ความลับตลอดจนข้อมูลอื่น ๆ ที่เอื้อประโยชน์ต่อฝ่ ายตรงข้าม
โดยแบ่งเป็ นประเด็นย่อยตามหน้าที่หลัก ทร. ได้ดงั นี ้ 1) การปฏิบัติการ
ทางทหาร ในแง่ของการวางแผนการจัดกำลังในพื้นที่ต่าง ๆ ตลอดจนแผน
ลว. เป็ นสิง่ ที่ควรจำกัดขอบเขตการส่งต่อข้อมูล และรูปแบบการสั่งการ
ระหว่างหน่วย 2) การรักษากฎหมายและการช่วยเหลือ ในส่วนของการ
บังคับใช้กฎหมาย แผนปฏิบัติการ ตลอดจนเครื่องมือยุทโธปกรณ์ที่ใช้
ข้อมูลที่กล่าวมาจะต้องไม่รั่วไหลไปสู่ฝ่ายตรงข้าม ซึ่งจะทำให้ภารกิจ ทร.
มีแนวโน้มที่จะล้มเหลว 3) การสนับสนุนกิจการระหว่างประเทศ การ
ดำเนินการใด ๆ ที่เป็ นเรื่องภายในที่ต้องการปกปิ ด จะต้องมีความ
ระมัดระวังในการส่งต่อข้อมูล หากมีการรั่วไหลของข้อมูลที่สำคัญ จะส่ง
ผลกระทบต่ออำนาจการต่อรองระหว่างประเทศ เป็ นต้น

5.หลักการออมกำลัง คือ การแบ่งกำลังให้เหมาะสมเท่าที่จำเป็ นไปกระทำ


กิจรอง เพื่อสงวนกำลังที่เหลืออยู่ให้มีปริมาณเพียงพอที่จะเก็บไว้สนอง
ความต้องการตามหลัก การรวมกำลัง ซึ่งเป็ นเรื่องหลักที่จะต้องทุ่มเทใน
การปฏิบัติหรือบางครัง้ อาจสงวนกำลังไว้เพื่อ การระวังป้ องกันของฝ่ าย
เรา

*** บทบาทของของกองทัพเรือนัน
้ จะต้องดำรงไว้ทงั ้ บทบาท ด้านการรบ
และด้านที่ไม่ใช่การรบ ถึงแม้ปัจจุบันในยุคโลกาภิวัตน์ กองทัพเรือจะมี
แนวโน้มในการปฏิบัติการรบระหว่างประเทศ หรือการรบขนาดใหญ่ที่
แทบจะไม่มีโอกาสเกิดขึน
้ เลยในปั จจุบัน อันเนื่องมาจากถานการณ์โลกที่
เปลี่ยนไปตามกระแสโลกาภิวัฒน์ ซึ่งในความเป็ นจริงนัน
้ หลักการออม
กำลังเป็ นหลักที่มีความสำคัญค่อนข้างสูงของหลักการสงคราม ซึง่ ใน
ปั จจุบันหลักการออมกำลังเพื่อนำไปใช้ในการรบขนาดใหญ่ของกองทัพ
เรือไทยยังไม่เคยมีการนำไปใช้ในสงครามอย่างเป็ นรูปธรรม แต่เนื่อง
สถานการณ์โลกที่เปลี่ยนภัยคุกคามต่างๆที่กองทัพเรือไทยกำลังเจออยู่ใน
ปั จจุบันจะเป็ นคุกคามในรูปแบบใหม่ ซึ่งภัยคุกคามรูปแบบใหม่นน
ั ้ เข้ามา
เป็ นส่วนสำคัญในการบ่อนทำลายกองทัพไปทีละนิดๆซึ่งเกิดขึน
้ ในสภาวะ
ปกติที่กองทัพเรือกำลังเผชิญอยู่ ดังนัน
้ หลักการออมกำลังจึงสามารถนำ
มาประยุกต์ให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบันที่กองทัพเรือกำลังเผชิญ โดยใช้
วิธีการปรับกำลังให้เหมาะสมกับภารกิจ และจัดลำดับความสำคัญของ
ภารกิจ เพื่อเป็ นการสงวนกำลังที่เหลือไว้ใช้ในยามจำเป็ น หรือพูดอีกนัย
ยะหนึ่งคือการรวมกำลังเพื่อใช้ตอบสนองต่อภารกิจที่สำคัญยิ่ง ด้วยการ
จัดลำดับความสำคัญและการบริหารคนให้เหมาะสมกับภารกิจ และ
สามารถรวมกำลังไว้ตอบสนองต่อภารกิจที่สำคัญยิ่งของกองทัพเรือได้

6. หลักการดำเนินกลยุทธ คือ การบังคับให้ข้าศึกอยู่ในฐานะที่เสียเปรียบ


ด้วยการมุ่งกระทำต่อจุดอ่อนของข้าศึก การกระทำใดที่จะนำมาซึ่งความ
ได้เปรียบข้าศึก เช่น การลวง ให้ข้าศึกเข้าใจผิด แล้วฉวยโอกาสเข้า
กระทำต่อจุดสำคัญข้าศึกที่ถูกเบี่ยงเบนความสนใจจึงอ่อนด้อยในการ
ระวังป้ องกัน โดยการดำเนินกลยุทธที่ได้ผลจะทำให้ข้าศึกเสียสมดุล และ
รักษากำลังฝ่ ายเราไปด้วยในตัวเป็ นการต่อยอดความสำเร็จ ดำรงเสรีการ
ปฏิบัติและลดจุดอ่อนของเรา ทำให้ข้าศึกฏิบัติการไม่ได้ผลและพ่ายแพ้ใน
ที่สุด

*** ในสภาวะปั จจุบัน ความขัดแย้งที่นำไปสู่การรบขัน


้ แตกหัก หรือการ
รบขนาดใหญ่ ระหว่างประเทศเป็ นไปได้น้อยมาก ซึง่ การที่จะได้หลักการ
ดำเนินกลยุทธเพื่อมาสู้รบกันก็เป็ นไปได้ยาก แต่ในปั จจุบันจะเป็ นต่อสู้กัน
ในรูปแบบของภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(IO) หรือ สงครามไซเบอร์ (Cyber Watfare) ซึง่ ปั จจุบันกองทัพเรือ
สามารถประยุกต์ใช้หลักการดำเนินกลยุทธในสภาวะปกติได้ ยกตัวอย่าง
เช่น การใช้การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO) ในการใช้แสดงพลังอำนาจ
ของกองทัพเรือไทยให้ต่างชาติได้รับรู้ถึงขีดความสามารถของกองทัพเรือ
ว่าเป็ นกองทัพเรือที่มีขึดสรรถนะอย่างไร ซึ่งเป็ นวิธิการอย่างนึงของหลัก
การดำเนินกลยุทธนั่นก็คือการลวงให้ข้าศึกเข้าใจผิด โดยใช้การปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านหลายช่องทางเพื่อให้นานาชาติ
ได้รับรู้ถึงพลังอำนาจทางการทหารของกองทัพเรือ

7. unity of command

การรักษาความมีเอกภาพในการบังคับบัญชานัน
้ เแ็นสิง่ ที่มีความสำคัญต่อ
ปฏิบัติการทางทหารในทัง้ 3 บทบาท เนื่องจากจะทำให้ผู้ปฏิบัติมีความ
เข้าใจว่าจะต้องรับคำสั่งจากใครและจะมีผลให้การปฏิบัติเป็ นไปใน
แนวทางเดียวกันและเป็ นไปตามจุดมุ่งหมายของผู้บังคับบัญชา นอกจากนี ้
ยังทำให้แน่ใจว่าการทำตามคำสั่งนัน
้ ได้รับความเห็นชอบจากผู้บังคับ
บัญชาที่มีหน้ารับผิดชอบ ทำให้เกิดความมั่นใจในการปฏิบัติงาน

8. Surprise

การใช้หลักการจู่โจมจะทำให้ฝ่ายตรงข้ามเกิดความประหลาดใจ ในการ
รบจะทำให้สามารถปฏิบัติการต่อข้าศึกที่อยู่ในภาวะที่ไม่พร้อมทำให้ไม่
สามารถตอบโต้ได้อย่างเหมาะสม สำหรับบทบาทการรักษากฎหมายการ
สร้างความประหลาดใจเช่นการปรากฏตัวในพื้นที่ที่ไม่เคยเข้าถึงหรือการ
ใช้ยุทธวิธีใหม่ๆ จะทำให้ผก
ู้ ระทำผิดมีความระมัดระวังตัวน้อยลงและ
ทำให้ง่ายต่อการจับกุมมากขึน
้ และอาจทำให้ได้ผลในการป้ องปรามการก
ระทำผิดเนื่องจากเกรงกลัวการถูกตรวจพบในสถานการณ์ที่ไม่ได้เตรียม
พร้อมได้

9. ความง่าย

การใช้หลักการความง่าย คือการบริหารที่ไม่ซับซ้อน มีการวางแผน ทำ


แผน ทำเอกสารสั่งงาน ที่ง่ายต่อความเข้าใจ ซึ่งเมื่อนำมาปฏิบัติงานจริง
จะทำให้ผู้ปฏิบัติสามารถเข้าใจแผนการปฏิบัติได้ง่าย ไม่เกิดความสับสน
ส่งผลให้โอกาสประสบความสำเร็จในภารกิจของ ทร. มีสูง

10 หลักการต่อสู้เบ็ดเสร็จ

เป็ นการผนึกกำลังและกิจกรรมป้ องกันในการป้ องกันประเทศเข้าด้วยกัน


รวมถึงพลังประชาชน ซึง่ อ้างถึงบทเรียนที่ผ่านมาในอดีตในการทำ
สงคราม ซึง่ ในสถานการณ์ปัจจุบันไม่มีการรบขนาดใหญ่เกิดขึน
้ แต่
ทร.สามารถใช้หลักการดังกล่าว มาประยุกต์ใช้กับบทบาทของ ทร.ในด้าน
อื่นๆ เช่น การช่วยเหลือประชาชน หรือการปฏิบัติการในสถานการณ์
วิกฤตที่ต้องมีการบูรณาการกำลังจากหลายส่วน รวมทัง้ กำลังจากภาค
ประชาชนในการให้ข้อมูลข่าวสาร เพื่อให้ภารกิจสำเร็จได้ด้วยดี สามารถ
ยกตัวอย่างโมเดลของ ศรชล. หรือแนวทางการปฏิบัติงานของ
ศปก.ทร.ในการใช้กำลังจากหลายส่วน หลายหน่วย เป็ นแนวทางในการ
ตอบคำถามได้

You might also like