You are on page 1of 18

การใช้ภาษาในการโต้แย้ง

เสนอ อาจารย์พนมศั กดิ์ มนูญปรัชญาภรณ์


(อาจารย์นม)
จัดทําโดย :
๑. ภูมิ อิงคามระธร (แอลเบิรท ์ )
๒. ณัฐภัทร ลีลาวัฒนานันท์ (บู)
๓. ภูทัศน์ พลพานิช (ภู)
๔. ปุณณวิชญ์ ภักดีนุกูล (ปุน)
๕. พงศ์ พรหม แซ่ เบ๊ (ฟลุ๊ค)
๖. ณัฐลดา เสริมศี ลธรรม (เอิรน์ )
๗.วลัยพรรณ สิ รธิ นั ยกานต์ (เจนนี่)
๘. วิภาดา ทิพย์อารักษ์วงศ์ (เบ้นซ์ )
นิยาม ตัวอย่าง เกริ่นนํา
นิยาม ตัวอย่าง เกริน่ นํา
● นานาจิตตัง - มนุษย์ไม่จําเป็นต้องมีความคิดเหมือนกันแต่ความแตกต่างทางความคิดเป็น
เรอื่ งธรรมดาที่บุคคลควรยอมรับ แต่ไม่หมายความว่าจะไม่มีการโต้แย้งกันเกิดขึ้น
● เกิดได้ทุกเรอื่ ง เช่น เศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม
● แสดงทรรศนะที่แตกต่างกันตามประสบการณ์ ความรู้ ทัศนคติ ค่านิยม รสนิยม
● เกิดขึ้นเพราะบุคคลแต่ละคนมีความคิดที่ไม่เหมือนกัน
● การโต้แย้ง คือ การแสดงทรรศนะที่ต่างการระหว่างบุคคล ๒ ฝ่าย
หัวข้อและเนื้อหาของการโต้แย้งเกีย่ วกันอย่างไร

1. เกิดขึ้นได้ในทุกระดับของสังคม โดยหัวข้อและเนื้อหาจะไม่จํากัดขอบเขต
2. โดยสิ่งแรกที่ต้องคิดคํานึงก็คือ ในการโต้แย้งทุกครั้ง จะต้องกําหนดขอบเขตให้ชัดว่า หัวข้ออะไร และมีประเด็นที่สําคัญอะไรบ้าง
3. การโต้แย้งที่ตรงประเด็นตามหัวข้อที่กําหนด จะทําให้ลดความสับสนได้ หร ือทําให้การโต้แย้งนั้นไม่มีที่สิ้นสุดก็ได้
4. เนื้อหาในการโต้แย้ง จะต้องคล้อยตามหัวข้อ ตัวอย่างเช่น หัวข้อคือ การเลี้ยงสัตว์ในสวนสัตว์ และเนื้อหาก็คือ เราทําผิดศีลธรรมไหม ใน
การนําสัตว์มาเลี้ยงไว้ในสวนสัตว์
5. ข้อที่ควรนึกถึงไว้เสมอคือ ผู้เป็นฝ่ายเรมิ่ จะต้องกล่าวหร ือเสนอสิ่งที่จะเปลี่ยนแปลงผลของการโต้แย้ง ส่วนฝ่ายค้าน ก็กล่าวถึงข้อ
บกพร่องและข้อเสีย หร ือชี้ให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นไม่มีประโยชน์ หร ือมีข้อเสียเยอะ
การตั้งประเด็นในการโต้แย้ง
การตั้งประเด็นในการโต้แย้ง

การโต้แย้งเกีย
่ วกับนโยบายหรือข้อ
การโต้เเย้งเกีย
่ วกับข้อเท็จจริง
เสนอเพื่ อเปลีย
่ นแปลงสภาพเดิม

การโต้แย้งเกีย
่ วกับนโยบายหรือข้อ
เสนอเพื่ อเปลีย
่ นแปลงสภาพเดิม
การโต้แย้งเกี่ยวกับนโยบายหรือข้อเสนอ
เพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพเดิม
เริม
่ ต้นขึ้นเมือ
่ มีผู้ใดผู้หนึ่งเสนอทรรศนะของตนเพื่ อให้บุคคลอืน
่ พิ จารณายอมรับ

ประเด็นที่ 1 สภาพเดิมทีเ่ ป็นอยู่น้น


ั มีข้อบกพร่องหรือไม่ อย่างใด

ประเด็นที่ 2 ข้อเสนอเพื่ อการเปลีย


่ นแปลงจะแก้ไขข้อบกพร่องได้หรือไม่ เพี ยงใด

ประเด็นที่ 3 ผลดีทเี่ กิดจากข้อเสนอนั้นมีอย่างไร เพี ยงใด


การโต้เเย้งเกี่ยวกับข้อเท็จจริง
การโต้แย้งเกี่ยวกับข้อเท็จจริง มีประเด็นสํ าคัญ คือ

ฝ่ายเสนอ ฝ่ายโต้แย้ง
ประเด็นที่ ๑ ประเด็นที่ ๑
ข้อเท็จจริงที่อ้างถึง มีหรือเป็นเช่นนั้น แย้งว่าเรื่องนั้นไม่มีอยู่จริง
จริงหรือไม่ อยู่ที่ไหน
ประเด็นที่ ๒
ประเด็นที่ ๒
แย้งว่าได้ตรวจสอบแล้ว แต่ไม่
การตรวจสอบสิ่ งทีอ้างถึงนั้นทําได้ ปรากฏว่ามี
หรือไม่ด้วยวิธีใด
การโต้เเย้งเกี่ยวกับคุณค่า

มักจะขึ้นอยู่กับความรู้สึกส่ วนตัวไม่อาจจะกําหนด
ประเด็นนี้แน่นอนลงไปได้

การโต้แย้งประเภทนี้จะมีความรู้สึกส่ วนตัวแทรกอยู่
ด้วย
กระบวนการโต้แย้ง
มีอะไรบ้าง
การนิยามคําหรือกลุม
่ คําสํ าคัญทีอ
่ ยู่ในประเด็นของการโต้แย้ง
การกําหนดความหมายของคําให้ชัดเจนว่า ผู้นิยามต้องจํากัดขอบเขตความหมายของคําให้ครอบคลุมถึงเรื่องอะไรบ้าง เพื่อป้องกันไม่ให้
เกิดการโต้แย้งที่ไปคนละทิศคนละทาง หรือเกิดการเชื่ อมโยงไปยังเรื่องอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการโต้แย้ง

วิธีการนิยามแบ่งเป็น 2 วิธี

การเปรียบเทียบ การยกตัวอย่าง

ตัวอย่างเช่ น กางเกงขาสั้ นสี เทา ตัวอย่างเช่ น กิจกรรมเสริมหลักสู ตร

‘กางเกงขาสั้ นทรงเดิม แต่มีสีเทาทหารอากาศ’ ‘กิจกรรมที่ช่วยเสริมการเรียนตามหลักสู ตร เช่ น


การทัศนศึ กษา การจัดนิทรรศการ การประกวดต่างๆ’
การค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะของตน
การเรียบเรียงข้อสนับสนุนนั้น จําเป็นต้องทําให้ผู้ฟังที่ไม่เกี่ยวข้องกับ การมีข้อสนับสนุน เช่ น ข้อเท็จจริง สถิติ หลักฐานต่างๆ ที่เพียงพอ
การโต้แย้งเข้าใจ และจะต้องดึงดูดความสนใจให้ผู้ฟังติดตามสาระ จะช่ วยให้ทรรศนะมีความน่าเชื่ อถือมากขึ้น ข้อมูลเหล่านี้สามารถ
สํ าคัญของทรรศนะ ค้นคว้าได้จากการอ่าน ฟัง สั มภาษณ์และอื่นๆ
เมื่อเริม่ การโต้แย้งผู้เสนอต้องชี้ ให้ผู้ฟังเห็นถึงประเด็นหลัก
แต่ละข้ออย่างชั ดเจน และควรเสนอข้อมูลและข้อสนับสนุนต่างๆให้ หากผู้เสนอทรรศนะค้นคว้าหาข้อมูลมาไม่เพียงพอ หรือมี
เหมาะสม ข้อมูลสถิติ และรายละเอียดต่างๆที่จํากัด จะทําให้ทรรศนะนั้นไม่มีค
การเสนอมากเกินไปจะทําให้ฟั่นเฟือง แต่หากเสนอน้อย วามน่าเชื่ อถือ เมื่อมีการโต้แย้ง ข้อเสนอนี้จะตกไปอย่างง่ายดาย
เกินไปก็จะทําให้ขาดความหนักแน่น

การกล่าวอ้างที่มาของข้อมูล และข้อเท็จจริง
จะต้องกล่าวตามความจริงเสมอ
ห้ามกล่าวอ้างเลื่อนลอย หรือบิดเบือนความ
จริง เพราะอาจทําให้หมดความน่าเชื่ อถือ
การชี้ ให้เห็นจุดอ่อนและความผิดพลาดของทรรศนะของฝ่ายตรงกันข้าม
การโตแยงนั้นมุงใหทรรศนะของตนเองไดรับการยอมรับ โดยชี้ใหเห็นจุดเดนของทรรศนะของตนและจุดออนของทรรศนะฝายตรงขาม ซึ่ง
จุดออนของทรรศนะของบุคคลจะอยูที่

ปริมาณและความถูกต้องของข้อมูล “ข้อสรุปทรรศนะนั้นต้องอนุมาน
“นิยามดีต้องรัดกุมและแจ่มแจ้ง” ด้วยวิธน
ี ิรนัยที่สืบเนื่องมาจาก
สมมุติฐานหรือหลักทั่วไปที่เป็นที่
จุดอ่อนของนิยามที่ไม่รดั กุมหรือไม่ ยอมรับเสียก่อน”
แจ่มแจ้งก็คือ วกวน ใช้คําทีเ่ ข้าใจได้ “ทรรศนะใดก็ตามเมื่อตั้งอยู่ บนฐาน
ยาก และ มีความเป็นอคติ หรือเจตนา ข้อมูลผิดพลาด หรือข้อมูลที่มีน้อย
อันสร้าง เกินไป ทรรศนะนั้นก็จะไม่มีความ
ประโยชน์แก่ฝ่ายตนเองเท่านั้น หนักแน่นน่าเชื่อถือ”

ถ้าจับจุดอ่อนของการนิยามได้ก็ต้องชี้ ยกตัวอย่างทรรศนะที่มีจุดอ่อนใน
ให้ชัดเจนว่านิยามของผู้โต้แย้งมีจุด ความถูกต้องของข้อมูล เช่น
อ่อนอย่างไรและควรนิยามอย่างไรจึง ‘เราควรยุบสถานที่อา ่ นหนังสือประจํา
เป็นการมีเหตุผลและตรงต่อความจริง หมู่บ้านเพราะมีผู้ใช้บริการน้อยมาก’

การนิยามคําสําคัญ สมมุติฐานและวิธีการอนุมาน
ผู้ตัดสินใช้ดุลพินิจของตนโดยอาศัยความรู้
ผู้ตัดสินวางตัวเป็นกลาง มักใช้กับการโต้วาที และประสบการณ์ในการช่วยตัดสิน มี
ทรรศนะของตน
ตัวอย่าง: การตัดสินของผู้พิพากษาในคดี
ต่างๆ ตัวอย่าง: การตัดสินใจเลือกพรรคการเมือง
การตัดสินเพื่อลงมติในที่ประชุม

พิจารณาเฉพาะ การวินิจฉัยเพื่อตัดสิ น ว ินิจฉัยโดยใช้


เนื้อหาสาระที่แต่ละ ดุลพินิจของตน

ข้อโต้แย้งกระทําได้
ฝ่ายนํามาโต้แย้งกัน พร้อมกับพิจารณาคํา
ไม่พิจารณา โต้แย้งของทั้งสอง
นอกเหนือไปจากนั้น ฝ่ายโดยละเอียด

อย่างไร
ข้อควรสั งเกตในการโต้แย้ง
1 2 3

การโต้แย้ง ไม่ใช่ การโต้เถียง


บุคคลมีโอกาสพิจารณาแง่มุม กระบวนการโต้แย้งอาจใช้เวลา
ของเรอื่ งต่างๆ กว้างขวาง นานแค่ไหนก็ได้ ทําได้ทงั้ เขียน การโต้แย้งเป็นกระบวนการใช้ความ
คิดและว ิจารณญาณที่อาศัยเหตุผล
รอบคอบขึ้น หร ือพูด ระหว่าง 2 คน หร ือ หลักฐานและประจักษ์พยานเป็น
หลายคน หร ือโต้แย้งในนามของ สําคัญ มีจุดมุ่งหมายที่จะเปลี่ยนสภาพ
อาจมองเห็นทัง้ ผลดีและผลเสีย กลุ่มหร ือสถาบัน ที่ไม่พึงประสงค์ให้พึงประสงค์
มองเห็นสิ่งที่มองข้ามไปหร ือไม่ ส่วนการโต้เถียงจะเน้นการใช้อารมณ์
เคยสนใจมาก่อน หวังเพื่อเอาชนะกันเป็นสําคัญ
ข้อควรระวังในการโต้แย้ง
● ผู้โต้เเย้งควรหลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์ ทําตัวให้เป็นกลางโดยใช้เเหตุผลเเละข้อเท็จจร ิงเป็นหลัก
● ผู้โต้เเย้งควรมีมารยาทในการใช้ภาษาทัง้ ภาษาพูดเเละภาษาท่าทาง
● ผู้โต้เเย้งควรเลือกประเด็นโต้เเย้งที่สร้างสรรค์

ประเด็นโต้เเย้งที่ไม่สร้างสรรค์มีดังนี้
1. ประเด็นโต้เเย้งที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์
2. ประเด็นโต้เเย้งที่ไม่มีทางโต้เเย้งกันได้
3. ประเด็นโต้เเย้งที่เป็นเรอื่ งอ่อนไหว
ขอบคุณค่ะ/ครับ

You might also like