You are on page 1of 13

ใช้ภาษาในการ

โต้แย้ง
โครงสร้างของการโต้แย้งเป็นอย่างไร
การโต้แย้งเป็นการแสดงทรรศนะที่แตกต่างกัน
ดังนั้นโครงสร้างของการโต้แย้งจึงประกอบด้วย
ข้อสรุปและเหตุผลที่เจ้าของทรรศนะแต่ละฝ่ายจะ
หามาประกอบทรรศนะของตน และคัดค้านของอีก
ฝ่ายหนึ่ งข้อสนับสนุนและข้อสรุปจะสั้นยาวเพียงใด
อยู่ที่ดุลพินิจของผู้โต้แย้ง
การโต้แย้งนี้ จะต้องมีประเด็นในการ
โต้แย้ง และในกระบวนการโต้แย้ง อาจมีข้อโต้แย้ง
จํานวนมากต่อเนื่ องสัมพันธ์กัน
เนื่ องจากหัวข้อและเนื้ อหาของการโต้แย้งไม่มี
ขอบเขตจํากัด จึงควรกําหนดให้ชัดเจนว่าจะโต้แย้ง
กันในหัวข้อใด จะพิจารณากันในประเด็นอะไรบ้าง
หัวข้อและเนื้ อหาของ เนื้ อหาโต้แย้งก็ต้องคล้อยตามหัวข้อโต้แย้งกันให้
ตรงประเด็นไม่ออกนอกเรื่อง
การโต้แย้งเกี่ยวข้องกัน
ในการโต้แย้งนั้นผู้ริเริ่มการโต้แย้งควรเสนอ
อย่างไร? สิ่งที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างใดอย่างหนึ่ ง
ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยก็พยายามหาเหตุผล หลักฐาน
ต่างๆ มาคัดค้าน เพื่อชี้ไห้เห็นว่าข้อเสนอนั้นไม่
เหมาะสม ไม่มีประโยชน์
กระบวนการโต้แย้งมีอะไรบ้าง

กระบวนการโต้แย้งแบ่งได้เป็น 4 ขั้น คือ

1. การตั้งประเด็นในการโต้แย้ง

2. การนิ ยามคําหรือกลุ่มคําสําคัญูที่อยู่ในประเด็นของการโต้แย้ง

3. การค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะของตน

4. การชี้ให้เห็นจุดอ่อนและความผิดพลาดของทรรศนะของฝ่ายตรงกันข้าม
1.1 การตั้งประเด็นใน
การโต้แย้ง
? ประเด็ นการโต้แย้ง หมายถึง คําถามที่ก่อให้เกิดการโต้แย้งกันมี
ทั้งประเด็นหลักประเด็นรอง

?
การตั้งประเด็นในการโต้แย้งจะต้องรู้ว่ากําลังโต้แย้งเกี่ยวกับ
ทรรศนะประเทศใด เพื่อจะได้ไม้โต้แย้งออกนอกประเด็น ดังนี้

1) การโต้แย้งเกี่ยวกับนโยบายหรือข้อเสนอเพื่อให้เปลี่ยนแปลง
สภาพเดิม การโต้แย้งประเภทนี้ เริ่มจากมีผู้เสนอทรรศนะของ
ตน เพื่อให้บุคคลอื่นพิจารณายอมรับ ผู้เสนอทรรศนะก็จะ
หาเหตุผลมาสนับสนุนข้อเสนอของตน ชี้ให้เห็นว่าหลักการ
เดิมนั้นมีจุดอ่อนจําเป็นต้องเปลี่ยนแปลง แล้วเสนอหลักการ
ใหม่ที่จะแก้ไขจุดอ่อนนั้นได้ และชี้ให้เห็นผลดีที่ได้รับจาก
หลักการใหม่
2) การโต้แย้งเกี่ยวกับข้อเท็จจริง

การโต้แย้งเกี่ยวกับข้อเท็จจริง มีประเด็นสําคัญ คือ

ประเด็นที่ 1 ข้อเท็จจริงที่อ้างถึง มีหรือเป็นเช่นนั้นจริงหรือ


ไม่ อยู่ที่ไหน
ประเด็นที่ 2 การตรวจสอบสิ่งทีอ้างถึงนั้นทําได้หรือไม่ด้วย
วิธีใด
3) การโต้แย้งเกี่ยวกับคุณค่า
การโต้แย้งประเภทนี้ จะมีความรู้สึกส่วนตัวแทรกอยู่ด้วย
การนิ ยามคําหรือกลุ่มคําสําคัญ หมายถึง การ
2.1 การนิ ยามคําหรือ กําหนดความหมายของคําหรือกลุ่มคําสําคัญที่ใช้
ในการโต้แย้งให้ชัดเจน เข้าใจตรงกัน ไม่ให้
กลุ่มคําสําคัญูที่อยู่ใน สับสน
ประเด็น การนิ ยามคําหรือกลุ่มคําสําคัญทําได้หลายวิธี เช่น
ของการโต้แย้ง อาศัยพจนานุกรมหรือสารานกรม คําอธิบายของผู้
รู้ การเปรียบเทียบด้วยวิธีการยกตัวอย่าง
3.1 การค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะของตน

ทรรศนะนั้นจะน่ าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับข้อสนับสนุน ซึ่งมาจากหลักฐาน สถิติ


ข้อเท็จจริงต่างๆ ทีก
่ ารเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะจึงมีข้อควรคํานึ ง คือ การเรียบเรียงข้อ
สนับสนุนจะต้องทําใหัผู้ฟังเข้าใจทรรศนะของเราชัดเจน และดึงดูดความสนใจของผู้ฟัง ในการ
เรียบเรียงจะต้องมีอารัมภบทที่นําสนใจชวนให้ติดตามการแสดงทรรศนะนั้น เสนอสาระสําคัญของ
ทรรศนะได้เป็นลําดับขั้นตอน ชี้ให้เห็นประเด็นชัดเจนแสดงข้อสนับสนุนจนที่หนักแน่ นมีการอ้าง
ที่มาของข้อมูลตามความเป็นจริง ทั้งควรมีการสรุปสาระสําคัญของทรรศนะที่เสนอให้กะทัดรัด
ชัดเจน
4.1 การชี้ให้เห็นจุดอ่อนและความผิดพลาดของทรรศนะของฝายตรงกันข้าม

การโต้แย้งจะต้องชี้ให้เห็นจุดอ่อนของฝ่ายตรงข้าม คือ
1. จุดอ่อนในการนิ ยามคําสําคัญ(นิ ยามที่ดีจะต้องชัดเจน และรัดกุม)
2. จุดอ่อนในด้านปริมาณและความถูกต้องของข้อมูล (ผู้โต้แย้งจะต้อง ชี้ไห้
เห็นว่าทรรศนะนั้นมีข้อมูลน้อยเกินไป มีหรือมีข้อมูลที่ผิดพลาด จะทําให้
ทรรศนะนั้นไม่น่าเชื่อถือ)
3. จุดอ่อนในด้านสมมติฐานและวิธีการอนุมาน (ถ้าให้เห็นว่าสมมติฐาน มี
จุดอ่อนไม่ควรค่าแก่การยอมรับ วิธีการอนุมานผิดพลาดก็จะทําให้ทรรศนะ
นั้นมีน้ํ าหนักน้อย ไม่น่าเชื่อถือ)
การวินิจฉัยเพื่อตัดสินข้อโต้แย้งกระทําอย่างไร

1.พิจารณาเฉพาะเนื้ อหาสาระที่แต่ละฝ่ายได้นํามาโต้แย้ง ไม่


พิจารณานอกเหนื อไปจากนั้น

2.วินิจฉัยโดยใช้ดุลพินิจของตน พร้อมกับพิจารณาคํา
โต้แย้งของทั้งสองฝ่ายโดยละเอียด การพิจารณาด้วยวิธีนี้
แท้จริงก็เป็นสิ่งที่บุคคลทั่วๆไปกระทําอยู่แล้วเป็นปกติ
ข้อควรระวังในการโต้แย้งที่สําคัญมีอะไรบ้าง

๑. หลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์ พยายามทําใจให้เป็นกลาง เคารพใน


เหตุผลของกันและกัน โต้แย้งให้เป็นไปในทางสร้างสรรค์

๒. มีมารยาทในการโต้แย้ง ควรใช้ภาษาที่สุภาพ เหมาะสมกับบุคคล


สถานที่ และเนื้ อหา แสดงความอ่อนน้อมและมีสัมมาคารวะ

๓. เลือกประเด็นในการโต้แย้งเพื่อให้เกิดประโยชน์ในทาง
สร้างสรรค์ หลีกเลี่ยงประเด็นที่ไม่มี
การนิ ยามคําและกลุ่มคํา >การกําหนดความหมายของคําและ
กลุ่มคํานั้นให้รัดกุมและแจ่มชัดลงไปว่าผู้นิยามมุ่งประสงค์ที่
จะให้ขอบเขต ความหมายของคําและกลุ่มคํานั้นๆ ครอบคลุม
การนิ ยามคําและกลุ่มคํา หรือบ่งชี้ถึงอะไรบ้างเพื่อจะได้ไม่โต้แย้งกันไปคนละทิศคนละ
สําคัญที่อยู่ในประเด็น ทางกัน

ของการโต้แย้ง

You might also like