You are on page 1of 5

LOGO

บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด
บทที 3 ในการถ่ายทอดหรือแลกเปลียนสิงที ได้รบั ร ้ ู
การจําแนกประเภทการพูด ระหว่ างกัน และกัน นันมี ห ลากหลายประเภท ซึ ง
แต่ละประเภทก็มีความแตกต่างกันออกไป
การพูดในงานส่งเสริมการเกษตรก็สามารถ
จํา แนกประเภทได้จ ากวัต ถุ ประสงค์ของการพู ด
วิธีการพูด และโอกาสของการพูด

บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด ประเภทที 1 : แบ่งตามวัตถ ุประสงค์

ประเภทที 1 : แบ่งตามวัตถ ุประสงค์ 1 เพือส่งสารหรือเพือให้ความร ้ ู


ภัคพร ทองมีส ุข และไพรัตน์ อน ุพันธ์ (2552) และวรวตุ
ภักดี บรุ ุษ (2552) กล่าวว่ า ในการพู ดทุกครัง ผูพ ้ ู ดจะต้องตัง เป็นการพูดอธิ บาย ชีแจงแสดงเหต ุผล ผูพ้ ดู มีจดุ มุ่งหมายจะให้ผฟ
้ ู ั งได้ร บั
ทราบและเข้าใจเรืองราวต่างๆ ทีเป็นประโยชน์กบั ผูฟ ้ ัง
จุ ด ประสงค์ ใ ห้ชั ด เจนว่ า จะพู ด เรื องนันๆ เพื ออะไร สํ า หรั บ
จุดมุ่งหมายโดยทัวไปของการพูดมี 3 ประการ ดังนี มีความรใ้ ู นเรืองทีจะพูดเป็นอย่างดี
รจ้ ู กั วางโครงเรืองตามลําดับขันตอน
ใช้ภาษาทีเข้าใจง่าย
ตอบข้อซักถามของผูฟ
้ ั งได้

1
ประเภทที 1 : แบ่งตามวัตถ ุประสงค์ ประเภทที 1 : แบ่งตามวัตถ ุประสงค์

2 เพือโน้มน้าวใจ 3 เพือจรรโลงใจ
เป็นการพูดเชิงชักชวนโน้มน้าว จูงใจ ปล ุกเร้า ให้ผฟ
้ ู ั งเชือถื อคล้อยตาม หรือ เป็นการพูดชีแจงให้เห็ นถึ งคณ
ุ งามความดี ความงาม ค ุณค่าอันน่านิ ยม แสดง
ปฏิบตั ิตาม ให้เห็นถึงความน่าชืนชมของความคิด การกระทํา วัตถ ุหรือเรืองราวนันๆ
ผูพ
้ ดู ต้องใส่อารมณ์
ต้อ งการให้ผฟ
้ ู ั งเกิ ดความร ส้ ู ึกสบายใจ ฟั งแล้วเพลิด เพลิน ไม่น่ า
ใส่ความรส้ ู ึกจริงใจลงไปในคําพูด
เบือหน่าย และได้สาระไปด้วย
ต้อ งการให้ผ ้ฟ
ู ั งเชื อ มี ค วามคิ ด คล้อ ยตาม
ปฏิ บัติตาม หรือ เปลียนทัศ นคติ ตามเป้าหมาย
ของผูพ ้ ดู

บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด


ประเภทที 2 : แบ่งตามวิธีการพูด 1 การพูดแบบไม่มีการเตรียมตัว
1 การพูดแบบไม่มีการเตรียมตัว
มีไหวพริบ มีความร ้ ู
หมายถึ ง การพูด ที ผูพ
้ ดู ไม่ ร ต้ ู ัว ล่ว งหน้า มาก่ อ น มัก เกิ ด ขึ นได้
เสมอในชีวิตประจําวัน เป็นการพูดโดยกะทันหัน ไม่มีเวลาในการเตรียมตัว
เตรียมใจ และเตรียมเนือหาสาระในการพูด มีประสบการณ์
ความไม่ พ ร้อ มนี อาจส่ง ผลกระทบให้ก ารพูด ไม่มีป ระสิ ท ธิ ผ ล มีการฝึกฝนในการแก้ปัญหา
เท่าทีควร ถือว่าอันตรายทีส ุด (ประสบการณ์นอ้ ย)
เฉพาะหน้า

2
บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด

2 การพูดแบบอ่านจากต้นฉบับ 3 การพูดแบบท่องจํา
หมายถึ ง การพูดโดยการอ่านท ุกตัวอักษรจากเอกสารทีได้เตรียมไว้ หมายถึ ง การพูดที ท่องจํ าเนื อความให้ได้มากที สดุ เพือหวังว่าเมือ
ให้ เหมาะกับการพูดทีเป็นทางการหรือการประชมุ ทีต้องใช้ถอ้ ยคํา ตัวเลขที ถึ งเวลาพูด จะพูดได้อ ย่างคล่องแคล่ว ครบถ้วนทกุ เนื อหา ท่อ งจําถ้อ ยคํ าที
แน่นอน โดยมีเวลาจํากัด (รักษาเวลาโดยเคร่งครัด) เขียนไว้เป็นต้นฉบับ (Manuscript) พูดแบบนีมีค ุณค่าน้อย
ต้องฝึกซ้อมเป็นอย่างดี
ผูพ
้ ดู ไม่นิยมใช้เนื องจากจะทํ าให้เกิดความกังวลใจและเคร่งเครียด
ต้องมีสมาธิเพือป้องกันการอ่านผิด ในการท่อ งจํ า และหากเกิ ด การผิด พลาด ผูพ ้ ดู จะเกิดความประหม่า หรือ
ต้องอ่านให้เหมือนว่ากําลังพูดอยู่ บางครังผูฟ้ ั งจะรส้ ู ึกว่าเป็นการท่อง เพราะนําเสียงจะราบเรียบ (Monotonous)
ช่วยให้ผพ
้ ู ดู พูดได้อย่างถูกต้อง ไม่มีขอ้ ผิดพลาด

บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด


ใช้เวลาเตรียมพร้อมและ พูดจากความเข้าใจ
4 การพูดจากต้นร่างหรือการพูดแบบมีบนั ทึก ฝึกซ้อมหนักมากพอ ภ ูมิความร ้ ู จาก
ลําดับความคิดไว้อย่างดี ความรส้ ู ึกจริงของผูพ้ ดู
หมายถึ ง การพูดที มีการเตรีย มล่วงหน้า โดยมีก ารวางโครงเรือง ต้องเตรียมตังแต่การ
กําหนดหัวข้อ เรือง เตรีย มเนื อหาสาระและข้อ มูลต่างๆ ไว้ครบถ้วน แล้วทํ า ขึนต้นและการลงท้ายไว้
การบันทึกเป็นหัวข้อไว้ยอ่ ๆ นิยมจดลงบนกระดาษแข็งแผ่นเล็กๆ เพือเตื อน อย่างเหมาะเจาะ
ความจํา
ผูฟ
้ ั งจะได้เห็นความมีชีวิตชีวา
การขยายความจากหัว ข้อที ร่า งไว้ให้
เหมาะสมกับเวลาและความสนใจของ ความกระตือรือร้น และความ
ผูฟ
้ ัง มันใจของผูพ ้ ดู ซึงช่วยสร้าง
ความศรัทธาและประทับใจ

3
บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด
การพูดแบบนีเป็นทีนิยมใช้กนั มากทีส ุด เพราะมีขอ้ ดีหลายประการ คือ
เป็นตัวของตนเอง
5 การพูดแบบไม่เตรียมตัวล่วงหน้า (ฉับพลัน)
พรังพร ู เป็นธรรมชาติ หมายถึ ง การพูดทีผูพ
้ ดู ไม่ได้รต้ ู วั ล่วงหน้ามาก่อนว่าจะพูดอะไร และ
ไม่อยู่ในฐานะทีจะปฏิเสธได้ ส่วนใหญ่ จะเป็นผูใ้ หญ่ หรือผูม้ ากประสบการณ์
เร้าใจ จริงใจ
เช่น การกล่าวอวยพรค่บู ่าวสาว การกล่าวอวยพรวันเกิด หรือเมือได้รบั เชิญ
แสดงภูมิความรต้ ู นเอง ให้แสดงความคิดเห็น

ยืดหยน่ ุ ให้เหมาะสมกับเวลาได้ ผูพ


้ ดู ต้องมีปฏิภาณไหวพริบ มีประสบการณ์
ตอบปัญหาผูฟ
้ ั งและแก้ปัญหา มีความรค้ ู วามชํานาญ จึงจะสามารถพูดได้
คล่องแคล่วและเป็นทีประทับใจ
เฉพาะหน้าได้

บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด


ประเภทที 3 : แบ่งตามโอกาส 2 การพูดทีไม่เป็นทางการ
1 การพูดทีเป็นทางการ หมายถึ ง การพูด ระหว่ า งบ คุ คลตังแต่ 2 คนขึ นไป แต่ ค่ อ นข้า ง
จํา กัด จํ านวน คื อ ไม่ค วรเกิน 4-5 คน ส่วนใหญ่ เป็นการพูดแบบตัวต่อ ตัว
หมายถึ ง การพูดทีมีแบบแผน และส่วนใหญ่ พดู ในทีชมุ ชน มีผฟ
ู้ ั ง การสือสารแบบนีไม่มีการจํ ากัดเวลา ไม่จํากัดสถานที ขึนอยู่กบั ความพอใจ
เป็นจํานวนมาก ดังนันผูพ
้ ดู จะต้องมีการเตรียมความพร้อมท ุกด้าน ของผูพ ้ ดู และผูฟ
้ ั ง ใช้ในชีวิตประจําวัน เนือหาไม่แน่นอน ไม่มีขอบเขต

การเตรียม กําหนด ฝึกพูดเพือสร้าง การเตรียม


หัวเรือง วัตถ ุประสงค์หลัก ความมันใจ ในเรืองอืนๆ

4
บทที 3 : การจําแนกประเภทของการพูด

สร ุป
ก า ร พูด ใ น แ ต่ ล ะ ร ูป แ บ บ ต่ า ง ต้ อ ง อ า ศั ย
ประสบการณ์และการฝึกฝน ความถึงความสนใจใฝ่รข้ ู องผู้
พูด เนื องจากการพูด บางประเภทจํ า เป็ นต้อ งอาศั ย ภู มิ
ความรู้เ ดิ ม ที มี อ ยู่ใ นช่ ว งเวลา โดยการพู ด ทั วไปมั ก จะ
ประกอบด้ว ย การเกริ นนํ า เนื อหา และสรุป เรียงเนื อหา
ตามลํา ดับ ก่ อ นหลัง ให้ต่ อ เนื อง และอยู่ใ นเวลาที กํา หนด
เพือบรรล ุวัตถ ุประสงค์ทีตังไว้

You might also like