You are on page 1of 13

การศึกษานโยบายของรัฐเรื่องการจัดสิ่งอำนวย

ความสะดวกสำหรับคนพิการ
A STUDY OF GOVERNMENT POLICY ON
THE FACILITIES FOR PERSON WITH
DISABILITIES
(เว้น 1 บรรทัด)

ชื่อผู้เขียน สตรีรัตน์ แก้วสุข


หน่วยงานที่สังกัด วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ
โทรศัพท์ 0946414765
อีเมล 631101208@tsu.ac.th
(เว้น 1 บรรทัด)

บทคัดย่อ (F18 หนา)


การศึกษานโยบายของรัฐเรื่องการจัดสิ่งอำนวยความสะดวก
สาหรับคนพิการ เป็ นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยศึกษาจากเอกสารที่
เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
นโยบายของรัฐเรื่องการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกสาหรับคนพิการ
ตลอดจน ศึก ษาปั ญหา อุป สรรค และมาตรการการจัด สิ่ง อำนวย
ความสะดวกสาหรับคนพิการ เพื่อเสนอแนะแนว ทางการปรับปรุง
นโยบายการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกสาหรับคนพิการ
จากการศึก ษานโยบายของรัฐ เรื่อ งการจัด สิ่ง อำนวยความ
สะดวกสาหรับคนพิก าร ได้มีก ารกำหนดตัวชีว้ ัด นโยบายที่ช ัด เจน
ประกอบด้วย เป้ าหมายเชิงพื้นที่ (หน่วยงานภาครัฐ ) ขอบเขตด้าน
ระยะเวลา เนื้อหาสาระของนโยบายเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำ
ไปปฏิบัติ
ผู้วิจัยขอเสนอข้อเสนอแนะในการศึกษานโยบายของรัฐเรื่อง
การ จัดสิ่งอานวยความสะดวกสำหรับคนพิการ ดังนี ้
1. เชิงนโยบายต้องมีการเชื่อมหรือบูรณาการประเด็นการจัด
สิ่งอำนวยความสะดวกให้เป็ นเรื่องสำหรับทุกคน ทัง้ กลุ่มผู้
สูงอายุเด็กสตรีมีครรภ์
2. รัฐบาลต้องให้ความสำคัญในการสนับสนุนงบประมาณ
3. ปรับ ปรุง กฎหมายที่เ กี่ย วข้อ งกับ การจัด สิ่ง อำนวยความ
สะดวกสาหรับคนพิการให้มี สภาพบังคับพร้อมทัง้ กำหนด
บทลงโทษในกรณีที่ไม่ปฏิบัติตาม
(เว้น 1 บรรทัด)

คำสำคัญ นโยบายของรัฐ,สิ่งอำนวยความสะดวก,คนพิการ
(เว้น 1 บรรทัด)

Author Satreerat kaewsuk


Managemant for Development College Thaksin University
Telephone number 0946414765
E-mail 631101208@tsu.ac.th

Abstract (F18 หนา)


The study of government policy on the facilities
for person with disabilities is a qualitative work by
studying the relevant documents and in-depth
interviews. The purpose of the study is to study of
government policy on the facilities for person with
disabilities and the problems and obstacles, including
measures for management of facilities for person with
disabilities in order to propose improvement approaches
for the policy on the facilities for person with disabilities.
From studying the government's policy to provide
facilities for people with disabilities, clear policy
indicators have been established, including spatial goals.
(government agencies) time scope, content of the policy
for the agencies involved in the implementation.
The researcher would like to suggest a suggestion
for studying the government's policy on Provide
facilities for people with disabilities as follows:
1. Policy-wise, there must be a link or integration of
the issue of providing facilities to be a matter for
all. both the elderly, children, pregnant women
2. The government must focus on supporting the
budget.
3. Improve the laws relating to the provision of
facilities for persons with disabilities to be
compulsory conditions and imposes penalties in
case of non-compliance.
(เว้น 1 บรรทัด)

Keyword Government policy, Facilities, Disabled


บทนำ
ความเป็ นมาและความสำคัญ
รัฐธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจัก รไทย พ.ศ. 2550 หมวด 5 ว่า
ด้วยแนวนโยบายพื้นฐาน ของรัฐ มาตรา 54 ได้กาหนดให้คนพิการ
มีสิทธิเข้าถึง และใช้ประโยชน์จากสวัสดิการสิ่งอำนวยความ สะดวก
อันเป็ นสาธารณะและความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ และพระ
ราชบัญ ญัติส ่ง เสริมและ พัฒ นาคุณ ภาพชีวิต คนพิก าร พ.ศ. 2550
และที่แ ก้ไ ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 มาตรา 20 กำหนดให้
คนพิการมีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากสิ่งอำนวยความสะดวก
อันเป็ นสาธารณะ ตลอดจนสวัสดิการและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ
และจากการที่กฎหมายทัง้ 2 ฉบับข้างต้นกำหนดให้ คนพิการได้รับ
การคุ้มครองสิทธิแ ละสวัส ดิก ารที่จะได้รับ บริก ารสิ่ง อำนวยความ
สะดวกสำหรับการ ดำรงชีวิต และส่งเสริมการเข้าไปมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมทางสังคม จึงทำให้มีหลักประกันว่าคนพิการจะ ได้รับสิทธิ
และสวัสดิการสิ่งอำนวยความสะดวกซึ่งกลุ่มคนพิการถือว่าเป็ นกลุ่ม
ผู้ด ้อยโอกาสในสัง คมที่ ควรจะได้รับ ความช่ว ยเหลือ สนับ สนุน ให้
สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในการดำรงชีวิตประจำวันมาก ที่สุดเท่า
ที่จะเป็ นไปได้ที่สุด เพราะนอกจากจะเป็ นการลดภาระค่าใช้จ่ายใน
การดูแลคนพิการแล้วยัง เป็ นการกระตุ้นให้ภาคสังคมมีเจตคติที่ดี
ต่อคนพิการและความพิการ เกิดการตระหนักรู้ถึงสิทธิ โอกาส และ
ศัก ยภาพเปิ ดโอกาสให้ค นพิก ารอยู่ร ่ว มกับ ทุก คนในสัง คมอย่า ง
เป็ นสุขร่วมกัน ในฐานะที่เ ป็ น พลเมือ งส่วนหนึ่ง ของสังคมอย่า งมี
์ รีความเป็ นมนุษย์
คุณค่าสมศักดิศ
ดังนัน
้ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาว่า นโยบายของรัฐเรื่อง
การจัดสิ่งอานวยความสะดวก สาหรับคนพิการ มีปัญหา อุปสรรค
หรือไม่ อย่างไร รวมทัง้ เสนอแนะแนวทางเพื่อให้มีการผลักดัน ให้มี
การจัดสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการอย่างเป็ นรูปธรรม

วัตถุประสงค์
1. เพื่อ ศึก ษานโยบายของรัฐ เรื่อ งการจัด สิ่ง อำนวยความ
สะดวกสาหรับคนพิการ
2. เพื่อศึกษาปั ญหา อุปสรรค มาตรการและกลไกสนับสนุน
การจัดสิ่งอำนวยความ สะดวก สำหรับคนพิการ
3. เพื่อ เสนอแนะแนวทางการปรับ ปรุง นโยบายการจัด สิ่ง
อำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการ

ขอบเขตของเรื่อง
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา
ในการศึกษานโยบายของรัฐเรื่องการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกสา
หรับ คนพิก าร นัน
้ จะมุ่งศึก ษาด้า นเนื้อ หาสาระของนโยบายที่ม ี
ผลกระทบต่อความสำเร็จในการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับ
คนพิการโดยศึกษาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการจัด
สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับ คนพิการทัง้ นี ้ การศึกษานีเ้ ป็ นการ
ศึก ษาเชิง คุณ ภาพ (Qualitative Research) โดยการศึก ษาจาก
เอกสาร ที่เ กี่ย วข้อ ง (Documentary Research) และจากการ
สัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview)
1. ขอบเขตด้านพื้นที่และเวลา
ในการศึกษานโยบายของรัฐเรื่องการจัด สิ่ง อำนวยความสะดวก
สำหรับ คนพิก าร จะศึก ษาด้า นเนื้อ หาสาระของนโยบายโดย
พิจารณาจากการมีวัตถุประสงค์ ตลอดจนการมีมาตรการต่าง ๆ
สนับ สนุน และศึก ษาหน่ว ยงานที่เ กี่ย วข้อ งในการจัด สิ่ง อำนวย
ความสะดวกสำหรับคนพิการ
2. ขอบเขตด้านประชากรที่ศึกษา
ก ล ุ่ม เ ป้ า ห ม า ย ใ น ก า ร ส ัม ภ า ษ ณ ์แ บ บ เ จ า ะ ล ึก (In-depth
Interview) คือ ภาครัฐ ได้แ ก่ห น่วยงานหลัก ที่เ กี่ยวข้อ งกับ การ
ดำเนินนโยบายการจัดสิ่งอำนวย ความสะดวกสำหรับคนพิการ

คำจำกัดความหรือนิยามต่างๆ

เนื้อเรื่อง (การลำดับเนื้อหาที่จะแสดงในบทความวิชาการ)

บทสรุป

เอกสารอ้างอิง
องค์ประกอบของบทความวิชาการ

(ส่วนที่ 1) ประกอบด้วย
ชื่อบทความ ใช้ภาษาที่เป็ นทางการ ชื่อเรื่องชัดเจนตรงไปตรงมา
และครอบคลุมประเด็นของเรื่อง
ชื่อเจ้าของบทความ ต้องใช้ช่ อ
ื จริง ไม่ใช้นามแฝง และไม่ต้องใส่
คำนำหน้านาม
(ส่วนที่ 2) ประกอบด้วย
บทคัดย่อ (Abstract) บทคัดย่อในบทความวิชาการ เป็ นการสรุป
ประเด็นเนื้อหาที่เป็ นแก่นสำคัญ เน้นประเด็นสำคัญของงานที่
ต้องการนำเสนอจริงๆ ควรเขียนให้สน
ั ้ กระชับ มีความยาวไม่เกิน
10 ถึง 15 บรรทัด โดยบทคัดย่อมักจะประกอบด้วยเนื้อหาสามส่วน
คือ เกริ่นนำ สิ่งที่ทำ สรุปผลสำคัญที่ได้ ซึ่งอ่านแล้วต้องเห็นภาพ
รวมทัง้ หมดของงาน
คำสำคัญ (Keyword) เป็ นศัพท์เฉพาะทางที่เห็นแล้วเข้าใจได้ทันที
ว่างานชิน
้ นีเ้ กี่ยวกับอะไร จำนวนไม่เกิน 3 - 5 คำ

(ส่วนที่ 3) บทนำ (Introduction) ส่วนนำจะเป็ นส่วนที่ผู้เขียน


จูงใจให้ผู้อ่านเกิดความสนใจในเรื่องนัน
้ ๆ ซึ่งสามารถใช้วิธีการและ
เทคนิคต่างๆ ตามแต่ผู้เขียนจะเห็นสมควร เช่น อาจใช้ภาษาที่
กระตุ้น จูงใจ ผู้เขียนอาจหรือยกปั ญหาที่กำลังเป็ นที่สนใจขณะนัน

ขึน
้ มาอภิปราย หรืออาจจะกล่าวถึงประโยชน์ที่ผู้อ่านจะได้รับจาก
การอ่าน นอกจากจะเป็ นส่วนที่ใช้จูงใจผู้อ่านแล้ว ส่วนนำเป็ นส่วนที่
ผู้เขียนสามารถกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการเขียนบทความนัน
้ หรือ
ให้คำชีแ
้ จงที่มาของการเขียนบทความนัน
้ ๆ รวมทัง้ ขอบเขตของ
บทความนัน
้ เพื่อช่วยให้ผู้อ่านไม่คาดหวังเกินขอบเขตที่กำหนด
ประกอบด้วย
(1) หลักการและเหตุผล (rationale) หรือความเป็ นมา
หรือภูมิหลัง (Background) หรือความสำคัญของเรื่องที่เขียน
(justification) หัวข้อนีจ
้ ะทำให้ผู้อ่านได้ทราบเป็ นพื้นฐานไว้ก่อน
ว่าเรื่องที่เลือกมาเขียนมีความสำคัญหรือมีความเป็ นมาอย่างไร
เหตุผลใดผู้เขียนจึงเลือกเรื่องดังกล่าวขึน
้ มาเขียน ในการเขียนบทนำ
ในย่อหน้าแรกซึ่งถือว่าเป็ นการเปิ ดตัว บทความทางวิชาการ และ
เป็ นย่อหน้าที่ดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน
(2) วัตถุประสงค์ เป็ นการเขียนว่าในการเขียนบทความใน
ครัง้ นีต
้ ้องการให้ผู้อ่านได้ทราบเรื่องอะไรบ้าง โดยจำนวน
วัตถุประสงค์แต่ละข้อไม่ควรมีมากเกินไปและวัตถุประสงค์แต่ละ
หัวข้อจะต้องสอดคล้องกับเรื่องหรือเนื้อหาของบทความ
(3) ขอบเขตของเรื่อง ที่ผเู้ ขียนต้องการจะบอกกล่าวให้ผู้
อ่านทราบและเข้าใจตรงกัน เพื่อเป็ นกรอบในการอ่าน โดยการ
เขียนขอบเขตนัน
้ อาจขึน
้ อยู่กับปั จจัยในการเขียน ได้แก่ ความยาว
ของงานที่เขียน หากมีความยาวไม่มากก็ควรกำหนดขอบเขตการ
เขียนให้แคบลงไม่เช่นนัน
้ ผู้เขียนจะไม่สามารถนำเสนอเรื่องได้ครบ
ถ้วนสมบูรณ์ และระยะเวลาที่ต้องรวบรวมข้อมูล การกำหนดเรื่องที่
จะเขียนที่ลึกซึง้ สลับซับซ้อน หรือเป็ นเรื่องเชิงเทคนิคอาจจะยาก
ต่อการรวบรวมข้อมูลและเรียบเรียงเนื้อเรื่อง ดังนัน
้ หากมีเวลาน้อย
ก็ควรพิจารณาเขียนเรื่องที่มีขอบเขตไม่กว้างหรือสลับซับซ้อนมาก
นัก
(4) คำจำกัดความหรือนิยามต่างๆ ที่ผู้เขียนเห็นว่าควรระบุ
ไว้เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อผู้อ่านในกรณีที่คำเหล่านัน
้ ผูเ้ ขียนใช้ใน
ความหมายที่แตกต่างจากความหมายทั่วไปหรือเป็ นคำที่ผู้อ่านอาจ
จะไม่เข้าใจ ความหมายถือเป็ นการทำความเข้าใจและการสื่อความ
หมายให้ผู้เขียนบทความและผู้อ่านบทความเข้าใจตรงกัน รวมทัง้
เป็ นการขยายความหมายให้สามารถตรวจสอบหรือสังเกตได้ด้วย

(ส่วนที่ 4) เนื้อเรื่อง (Body) การเขียนส่วนเนื้อเรื่องจะต้องใช้ทงั ้


ศาสตร์และศิลป์ ประกอบกัน กล่าวคือ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์
(sciences) นัน
้ คือหลักวิชาการที่ผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงในการเขียน
ได้แก่ กรอบแนวความคิด (conceptual framework) ที่ผู้เขียนใช้
ในการเขียนจะต้องแสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของเหตุที่นำไปสู่ผล
(causal relationship) การอ้างอิงข้อมูลต่างๆ ในส่วนศิลป์ (art)
ได้แก่ ศิลป์ ในการใช้ภาษาเพื่อนำเสนอเรื่องที่เขียน การลำดับความ
การบรรยาย วิธีการอ้างอิง สถิติและข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ในการ
ประกอบเรื่องที่เขียน เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจและประทับใจ
มากที่สุด ในส่วนเนื้อหาสาระผู้เขียนควรคำนึงถึงประเด็นสำคัญๆ
ดังต่อไปนี ้
(1) การจัดลำดับเนื้อหาสาระ ผู้เขียนควรมีการวางแผนจัด
โครงสร้างของเนื้อหาสาระที่จะนำเสนอ และจัดลำดับเนื้อหาสาระ
ให้เหมาะสมตามธรรมชาติของเนื้อหาสาระนัน
้ การนำเสนอเนื้อหา
สาระควรมีความต่อเนื่องกัน เพื่อช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจสาระนัน
้ ได้โดย
ง่าย
(2) การเรียบเรียงเนื้อหา ในส่วนนีต
้ ้องอาศัยความสามารถ
ของผู้เขียนในหลายด้านนอกเหนือจากความเข้าใจในเนื้อหาสาระ
เช่น ด้านภาษา ด้านสไตล์การเขียน ด้านวิธีการนำเสนอ การนำ
เสนอเนื้อหาสาระให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่ายได้อย่างรวดเร็วนัน
้ จำเป็ น
ต้องใช้เทคนิคต่างๆ ในการนำเสนอเข้าช่วย เช่น การใช้ส่ อ
ื ประเภท
ภาพ แผนภูมิ ตาราง กราฟ เป็ นต้น
(3) การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ ต้องเป็ นไปอย่างมีหลัก
การ ทฤษฎี หรือมีหลักฐานอ้างอิงอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ มี
ความเป็ นเหตุเป็ นผลที่น่าเชื่อถือ มีการอ้างอิงข้อมูลที่เชื่อถือได้ เพื่อ
นำไปสู่ข้อสรุปด้วยทรรศนะของกลุ่มและมุมมองของผู้เขียน โดยมี
การเรียบเรียงเรื่องราวต่อเนื่องกันตามลำดับอย่างชัดเจนเพื่อให้ผู้
อ่านหรือ ผู้อ่านสามารถนำเรื่องนัน
้ ๆ ไปปรับใช้ในการปฏิบัติหน้าที่
ได้อีกทางหนึ่ง
(4) การใช้ภาษา การเขียนบทความทางวิชาการ จะต้องใช้
คำในภาษาไทยหากคำไทยนัน
้ ยังไม่เป็ นที่เผยแพร่หลาย ควรใส่คำ
ภาษาต่างประเทศไว้ในวงเล็บ ในกรณีที่ไม่สามารถหาคำไทยได้ จะ
เป็ นต้องทับศัพท์ก็ควรเขียนคำนัน
้ ให้ถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ของ
ราชบัณฑิตยสถาน ไม่ควรเขียนภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
ปะปนกัน เพราะจะทำให้งานเขียนนัน
้ มีลักษณะของความเป็ น
ทางการ (formal) ลดลง ผู้เขียนบทความทางวิชาการจำเป็ นต้อง
พิถพ
ี ิถันในเรื่องการเขียนตัวสะกดการันต์ต่างๆ ให้ถก
ู ต้องตาม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน และควรตรวจทานงานของตน
ไม่ให้ผิดพลาด เพราะงานนัน
้ จะเป็ น แหล่งอ้างอิงทางวิชาการต่อไป
(5) วิธีการนำเสนอ การนำเสนอเนื้อหาสาระให้ผู้อ่านเข้าใจ
ได้ง่ายและรวดเร็วนัน
้ จำเป็ นต้องใช้เทคนิคต่างๆ ในการนำเสนอ
เข้าช่วย เช่น การใช้ส่ อ
ื ประเภทภาพ แผนภูมิ ตาราง กราฟ เป็ นต้น
ผู้เขียนควรมีการนำเสนอสื่อต่างๆ อย่างเหมาะสม และถูกต้องตาม
หลักวิชาการ

(ส่วนที่ 5) ส่วนสรุป (Conclusions) บทความทางวิชาการที่ดี


ควรมีการสรุปประเด็นสำคัญๆ ของบทความนัน
้ ๆ ซึ่งอาจทำใน
ลักษณะที่เป็ นการย่อ คือ การเลือกเก็บประเด็นสำคัญๆ ของบท
ความนัน
้ ๆ มาเขียนรวมกันไว้อย่างสัน
้ ๆ ท้ายบท หรือ อาจใช้วิธีการ
บอกผลลัพธ์ว่าสิ่งที่กล่าวมามีความสำคัญอย่างไร สามารถนำไปใช้
อะไรได้บ้าง หรือจะทำให้เกิดอะไรต่อไป หรืออาจใช้ วิธีการตัง้
คำถามหรือให้ประเด็นทิง้ ท้ายกระตุ้นให้ผู้อ่านไปสืบเสาะแสวงหา
ความรู้ หรือคิดค้นพัฒนาเรื่องนัน
้ ต่อไป งานเขียนที่ดีควรมีการสรุป
ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งเสมอ

(ส่วนที่ 6) ประกอบด้วย
การพิมพ์เอกสารอ้างอิงท้ายบทความ (References)
1) เอกสารอ้างอิงทุกลำดับจะต้องมีการอ้างอิงหรือกล่าวถึง
ในบทความ
2) ต้องพิมพ์เรียงลำดับการอ้างอิงตามหมายเลขที่กำหนด
ไว้ที่ได้อ้างอิงถึงในบทความ โดยไม่ต้องแยกภาษาและประเภทของ
เอกสารอ้างอิง
3) หมายเลขลำดับการอ้างอิงให้พิมพ์ชิดขอบกระดาษด้าน
ซ้าย ถ้ารายละเอียดของเอกสารอ้างอิงมีความยาว
มากกว่าหนึ่งบรรทัดให้พิมพ์ต่อบรรทัดถัดไปโดยย่อหน้า
(โดยเว้นระยะ 7 ช่วงตัวอักษรหรือเริ่มพิมพ์ช่วง
ตัวอักษรที่ 8 การจัดพิมพ์เอกสารอ้างอิงท้ายบทความจะ
แตกต่างกันตามชนิดของเอกสารที่นํามาอ้างอิง
ให้จัดพิมพ์ตามข้อแนะนําดังนี ้
- ถ้าเป็ นรูปแบบการอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีให้เป็ นระบบ Vancouver
- ถ้าเป็ นรูปแบบการอ้างอิงทางสังคมศาสตร์ให้เป็ น
ระบบ American Psychological Association

ประวัติผู้เขียนและผู้ร่วมเขียน ประกอบด้วย ชื่อ-สกุล ,ประวัติ


ทางการศึกษา, การทำงาน, ผลงานทางวิชาการที่ยอมรับ, ตำแหน่ง
หน้าที่, การทำงานปั จจุบัน
ลักษณะของบทความที่มีคุณภาพ (พร้อมภัค บึงบัว และคณะ,
2561)
1. ถูกต้องตามเกณฑ์มาตรฐานทางวิชาการ
2. ได้รับการยอมรับเผยแพร่ นำเสนอหรือตีพิมพ์
3. มีนักวิจัยนำไปใช้อ้างอิงและใช้ประโยชน์

ลักษณะของบทความตามหลัก 7C
1. ความถูกต้อง (Correctness)
2. ความมีเหตุผลมั่นคง (Cogency)
3. ความกระจ่างแจ้ง (Clarity)
4. ความสมบูรณ์(Completeness)
5. ความกะทัดรัด (Concise)
6. ความสม่ำเสมอ (Consistency)
7. ความเชื่อมโยง (Concatenation)

You might also like