You are on page 1of 23

1

วันที่ 30 เดือนเมษายน พ.ศ. 2558

เรื่ อง ขอส่ งรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา


เรี ยน อาจารย์ที่ปรึ กษาสหกิจศึกษา สาขาวิชานโยบายสาธารณะ อาจารย์สุรวุฒ น์ ช่อไม้ทอง

ตามที่ขา้ พเจ้านายซอลีฮีน เจะเลาะนักศึกษาสาขาวิชานโยบายสาธารณะ คณะรัฐศาสตร์


มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ได้ไปปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา ระหว่างวันที่ 12 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 ถึง
วันที่ 30 เดือนเมษายน พ.ศ. 2558 ในตาแหน่งนักศึกษาสหกิจศึกษา ฝ่ ายบริ หารงานบุคคล ณ สานักงาน
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.) และได้รับมอบหมายจากพนักงานที่ปรึ กษา ให้ศึกษาและ
ทารายงานเรื่ อง กรณี ศึกษาระบบการสรรหาและคัดเลือกในโครงการจัดทาระบบสารสนเทศในการ
บริ หารงานบุคคล Case Studies conducted in the recruitment and selection of personnel management
information system.

บัดนี้ การปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษาได้สิ้นสุ ดลงแล้ว ข้าพเจ้าจึงขอส่ งรายงานดังกล่าวมาพร้อมกันนี้


จานวน 1 เล่ม เพื่อขอรับคาปรึ กษาต่อไป

จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณา

ขอแสดงความนับถือ

(นายซอลีฮีน เจะเลาะ)
2

ชื่อโครงงาน กรณี ศึกษาระบบการสรรหาและคัดเลือกในโครงการจัดทาระบบ


สารสนเทศในการบริ หารงานบุคคล
ผู้รายงาน นายซอลีฮีน เจะเลาะ
คณะ รัฐศาสตร์
สาขาวิชา นโยบายสาธารณะ

................................................
(.......................................................................)
อาจารย์ที่ปรึ กษาสหกิจศึกษา

.................................................
(................................................................)
พนักงานที่ปรึ กษา

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ อนุมตั ิให้นบั รายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษาฉบับ


นี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสู ตรรัฐศาสตร์ บณั ฑิต หลักสู ตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2554
สาขาวิชานโยบายสาธารณะ

.............................................
(............................................................)
คณบดีคณะรัฐศาสตร์
3

ชื่อรายงาน กรณี ศึกษาระบบการสรรหาและคัดเลือกในโครงการจัดทาระบบสารสนเทศใน


การบริ หารงานบุคคล
ชื่อนักศึกษา นายซอลีฮีน เจะเลาะ
รหัสนักศึกษา 5420710032
สาขาวิชา นโยบายสาธารณะ
อาจารย์ทปี่ รึกษา สุ รวุฒน์ ช่อไม้ทอง
ปี การศึกษา 2557

บทคัดย่ อ
(Abstract)
สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริมสุ ขภาพ (สสส.)
เป็ นหน่วยงานของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการหรื อรัฐวิสาหกิจ มีนายกรัฐมนตรี เป็ นประธานกองทุน
จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ พ.ศ. 2544 โดยมีหน้าที่ริเริ่ ม ผลักดัน
กระตุน้ สนับสนุน และร่ วมกับหน่วยงานต่างๆ ในสังคม ในการขับเคลื่อนกระบวนการสร้างเสริ ม
สุ ขภาพ เพื่อให้คนไทยมีสุขภาพดีครบ 4 ด้าน กาย จิต ปั ญญา สังคม และร่ วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่
จากการที่ได้สหกิจศึกษาใน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริมสุ ขภาพ (สสส.) ได้รับ
มอบหมายให้เป็ นผูช้ ่วยเจ้าหน้าที่งานสรรหาและคัดเลือกบุคคล (Recruit) และประสานงาน ในฝ่ าย
บริ หารงานบุคคลจากการที่ได้ปฏิบตั ิใน ฝ่ ายบริ หารงานบุคคล ได้มีหน้าที่ในการ จัดทาแบบสรุ ปข้อมูล
ประวัติผสู ้ มัคร การนัดหมายผูส้ มัคร การอานวยความสะดวกแก่ผสู ้ มัครที่มาทาการทดสอบและสอบ
สัมภาษณ์ อีกทั้งยังได้มีโอกาสในการทาการศึกษาในระบบการบริ หารงานบุคคลใน สานักงานกองทุน
สนับสนุนการสร้ างเสริมสุ ขภาพ (สสส.) ที่จะมีการปรับเปลี่ยนระบบโดยมีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า
มาในการช่วยสนับสนุนการบริ หารงานบุคคลให้มีคุณภาพและประสิ ทธิ ภาพให้มากยิง่ ขึ้น จากการ
ปรับเปลี่ยนระบบในการนี้ทาให้มีส่วนเกี่ยวข้องในด้านการ(ร่ าง)แผนการปฏิบตั ิงานด้านการสรรหาและ
คัดเลือกบุคคล เป็ นต้น
การปฏิบตั ิงานดังกล่าวเป็ นการเสริ มสร้างทักษะความรู ้ ซึ่ งทางองค์กรมีความประสงค์ที่จะให้
นักศึกษาที่มาฝึ กงานหรื อสหกิจศึกษาได้เรี ยนรู ้เพื่อนาหลักการที่ได้ศึกษามานามาปรับใช้เพื่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อนักศึกษาที่มาฝึ กงานหรื อสหกิจศึกษา รวมทั้งยังมีผลต่อองค์กรที่จะสามารถนาข้อเสนอแนะ
จากนักศึกษามาปรับใช้เพื่อนามาแก้ไขการดาเนินการของระบบและการทางานต่อไป
4

กิตติกรรมประกาศ
(Acknowledgment)
การที่ขา้ พเจ้าได้มาปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา ณ สานักงานกองทุน การสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.)
ตั้งแต่วนั ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2558 ถึง วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2558 ส่ งผลให้ขา้ พเจ้าได้รับความรู ้และ
ประสบการณ์ต่างๆ ที่มีค่ามากมาย สาหรับรายงานวิชาสหกิจศึกษาฉบับนี้ สาเร็ จลงได้ดว้ ยดีจากความร่ วมมือ
และสนับสนุนจากหลายฝ่ าย ดังนี้

1. คุณนรา เปาอินทร์ ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายบริ หารงานบุคคล


2. คุณศิรินภา สถาพรวจนา ตาแหน่ง นักบริ หารงานบุคคลชานาญการคุณ
3. คุณปริ ญญา ทวีจนั ทร์ ตาแหน่ง นักบริ หารงานบุคคล
4. คุณกิติพฒั น์ ดามาพงษ์ ตาแหน่ง นักบริ หารงานบุคคล
5. คุณวสันต์ เลิศสี มา ตาแหน่ง นักบริ หารงานบุคคล
6. คุณจินตนา มหาโพธิกุล ตาแหน่ง พนักงานช่วยปฏิบตั ิการงานบริ หารงานบุคคล

และบุคคลท่านอื่นๆที่มิได้กล่าวนามทุกท่านที่ได้ให้คาแนะนาช่วยเหลือในการจัดทาโครงงาน
ข้าพเจ้าใคร่ ขอขอบพระคุณผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่มีส่วนร่ วมในการให้ขอ้ มูล เป็ นที่ปรึ กษาในการทา
โครงงานฉบับนี้จนเสร็ จสมบูรณ์ ตลอดจนให้การดูแลและให้ความเข้าใจเกี่ยวกับชีวติ ของการทางานจริ ง
ข้าพเจ้าขอขอบคุณ ไว้ ณ ที่น้ ี

นายซอลีฮีน เจะเลาะ
ผูจ้ ดั ทารายงาน
30/4/58
5

สารบาญ

เรื่อง หน้ า

จดหมายนาส่ ง (1)
หน้าอนุมตั ิรายงาน (2)
บทคัดย่อ (3)
กิตติกรรมประกาศ (5)
สารบาญ (6)
รายการภาพ (7)
บทที่ 1 บทนา 7
บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับงานที่ปฏิบตั ิ 11
บทที่ 3 สรุ ปการจัดทากรณี ศึกษา 17
บทที่ 4 สรุ ปผลการปฏิบตั ิสหกิจศึกษา 18
บทที่ 5 ลักษณะงานที่ได้รับมอบหมายในการสหกิจศึกษา 19
บรรณานุกรม 20
ภาคผนวก 21
6

รายการภาพ

ภาพที่ หน้ า

ภาพที่ 1 ยุทธศาสตร์ไตรพลัง 11
ภาพที่ 2 โครงสร้างการบริ หาร 11
ภาพที่ 3 แผนภาพการดาเนินงานสรรหาและคัดเลือก (ระบบเก่า) 16
ภาพที่ 4 การบันทึกข้อมูลจากใบสมัคร 16
7

บทที่ 1
บทนา
องค์กรจะมีความก้าวหน้าได้น้ นั ทรัพยากรบุคคล ถือเป็ นส่ วนสาคัญขององค์กร ในการขับเคลื่อน
ให้องค์กรได้เดินหน้าต่อไปตามเป้ าหมายที่ได้วางไว้ ฉะนั้นฝ่ ายที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการดาเนินการ
จัดการดังกล่าวนี้คือ ฝ่ ายบริ หารงานบุคคล

วัตถุประสงค์ การปฏิบัติงาน
1) เพื่อเรี ยนรู ้ลกั ษณะการทางานในสภาพแวดล้อมที่เป็ นจริ งในหน่วยงาน
2) เพื่อศึกษาการดาเนินการด้านการบริ หารงานบุคคลขององค์กร
3) เพื่อการพัฒนาทักษะด้านการทางานที่สอดคล้องกับทฤษฎี
4) เพื่อเตรี ยมพร้อมในการทางานในอนาคต
5) เพื่อฝึ กฝนประสบการณ์

1. กล่าวนา

เนื่องจากปั จจุบนั โลกเราได้กา้ วสู่ ยคุ แห่งสารสนเทศ ผูบ้ ริ หารองค์กรเริ่ มตระหนักและให้


ความสาคัญ กับการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในองค์กรมากขึ้น ไม่วา่ จะเป็ นในเรื่ องของ
สารสนเทศทางการตลาด สารสนเทศ ทางการบัญชี และสารสนเทศทางการบริ หารงานบุคลากร เป็ นต้น
ทั้งนี้เพื่อเป็ นแนวทางในการตัดสิ นใจ หรื อ สนับสนุนการปฏิบตั ิงานขององค์กร

ท่ามกลางสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคม ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว การ


ดาเนินการใด ๆขององค์กร จะต้องมีการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ต่างๆ อย่างใกล้ชิด เพื่อให้
องค์กรสามารถปรับตัวให้ทนั ต่อความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอาจเป็ น
สิ่ งที่อยูใ่ กล้ๆ ตัวเราซึ่ งแบ่งได้เป็ น 2 ปั จจัยหลักๆได้แก่

ปัจจัยภายนอก

ไม่วา่ จะเป็ นการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง ด้านเทคโนโลยี ด้านสังคม


และวัฒนธรรม ล้วนแล้วแต่มีผลต่อองค์กรเป็ นอย่างมาก เช่น การขยายตัวของชุมชน การเปลี่ยนแปลง
นโยบายบริ หารประเทศของรัฐบาล การปรับเปลี่ยนนโยบายทางเศรษฐกิจ ตลอดจนการเพิ่มขึ้นของ
8

จานวนประชากร รวมถึงการเข้ามาของวัฒนธรรม ต่างชาติส่งผลให้คนในสังคมหรื อในองค์กรต่างๆ


ต้องปรับตัวตามความเปลี่ยนแปลงนั้นๆ ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะใน องค์กรธุ รกิจ ดังนั้น หากองค์กรใดมี
ระบบสารสนเทศที่ถูกต้อง แม่นยาครบถ้วนและทันต่อเหตุการณ์ ก็จะสามารถ ตัดสิ นใจได้รวดเร็ วและ
ถูกต้องกว่า

ปัจจัยภายใน

นอกจากจะมีปัจจัยต่างๆจากภายนอกองค์กร ที่เข้ามามีอิทธิ พลต่อองค์กรแล้วยังมีปัจจัย


อื่นๆ ภายในองค์กรที่เราต้องคานึงถึงด้วย เช่น ปั จจัยด้านบุคลากร ( Human Resources) ปัจจัยด้าน
สารสนเทศ (Information Technology) ปัจจัยด้านการบริ หารจัดการ ( Management) ปัจจัยด้านบัญชีและ
การเงิน ( Financial/Accounting) ปัจจัยด้านการตลาด ( Marketing/Sales) และปัจจัยด้านการวิจยั และ
พัฒนา (Research & Development) เป็ นต้น ซึ่ งล้วนแต่มีความสาคัญต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศของ
องค์กร เพื่อนามาปรับปรุ งการทางาน โดยเฉพาะในเรื่ อง ของการจัดการทรัพยากรบุคคล ซึ่งองค์กรต้อง
ยอมรับว่าการที่จะดาเนินงานต่างๆให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพนั้น จาเป็ นต้องพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ให้มีประสิ ทธิ ภาพเสี ยก่อน

1.1 วัตถุประสงค์
1. เพื่อเข้าใจในการดาเนินงานในฝ่ ายบริ หารบุคคล
2. เพื่อการนาหลักการด้านวิชาการมาปรับใช้ เพื่อทาการศึกษาระบบ
3. เพื่อศึกษาปั ญหาที่เกิดขึ้นกับการใช้ระบบ
1.1 รายละเอียดสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริมสุ ขภาพ (สสส.)

เป็ นหน่วยงานของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการหรื อรัฐวิสาหกิจ มีนายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน


กองทุน จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ พ.ศ. 2544 โดยมี
หน้าที่ริเริ่ ม ผลักดัน กระตุน้ สนับสนุน และร่ วมกับหน่วยงานต่างๆ ในสังคม ในการขับเคลื่อน
กระบวนการสร้างเสริ มสุ ขภาพเพื่อให้คนไทยมีสุขภาพดีครบ 4 ด้าน กาย จิต ปัญญา สังคม และ
ร่ วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่

วิสัยทัศน์
“ทุกคนบนแผ่นดินไทยมีขีดความสามารถ สังคม สิ่ งแวดล้อม ที่เอื้อต่อสุ ขภาวะ”
9

พันธะกิจ
“จุดประกาย กระตุน้ สาน และเสริ มพลังบุคคลและองค์กรทุกภาคส่ วน ให้มีขีดความสามารถและ
สร้างสรรค์ระบบสังคมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ”

ที่มาของเงินทุน
เงินทุนหลักได้จากเงินบารุ งกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพซึ่ งมาจากภาษีที่รัฐจัดเก็บ
จากผูผ้ ลิตและนาเข้าสุ ราและยาสู บในอัตรา ร้อยละ 2 ของภาษีที่ตอ้ งชาระ

การขับเคลื่อนงานสร้างเสริ มสุ ข
โครงการเชิงรุ ก เพื่อแก้ปัญหาปั จจัยเสี่ ยงหลักทาง
สุ ขภาพ (มากกว่า 90%)
- โครงการเชิงรุ ก เพื่อแก้ปัญหาปั จจัยเสี่ ยงหลักทางสุ ขภาพ (มากกว่า 90%)
- โครงการสร้างสรรค์โอกาสและนวัตกรรม เพื่อเปิ ดโอกาสและให้พ้นื ที่กบั ทุกคนในการสร้าง
นวัตกรรม (ไม่เกิน 10 %)

15 แผนการดาเนินงานสร้ างเสริมสุ ขภาพสู่ สังคมสุ ขภาวะ


- แผนควบคุมยาสู บ
- แผนการควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์และสิ่ งเสพติด
- แผนการจัดการความปลอดภัยทางถนนและภัยพิบตั ิ
- แผนควบคุมปัจจัยเสี่ ยงทางสุ ขภาพ
- แผนสุ ขภาวะประชากรกลุ่มเฉพาะ
- แผนสุ ขภาวะชุมชน
- แผนสุ ขภาวะเด็ก เยาวชนและครอบครัว
- แผนสร้างเสริ มสุ ขภาวะในองค์กร
- แผนส่ งเสริ มกิจกรรมทางกายการออกกาลังกายและกีฬาเพื่อสุ ขภาพ
- แผนสื่ อสารสุ ขภาวะและสื่ อสารการตลาดเพื่อสังคม
- แผนสนับสนุนโครงการเปิ ดรับทัว่ ไปและนวัตกรรม
- แผนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพผ่านระบบบริ การสุ ขภาพ
- แผนพัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนเพื่อการสร้างเสริ มสุ ขภาพ
- แผนอาหารเพื่อสุ ขภาวะ
- แผนสร้างเสริ มความเข้าใจสุ ขภาวะ
10

ยุทธศาสตร์การดาเนินงาน
สสส. ดาเนินงานภายใต้ “ยุทธศาสตร์ไตรพลัง” สอดประสานกันเพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงสู่ สังคมสุ ขภาวะ

ภาพที่ 1 ยุทธศาสตร์ไตรพลัง
- โครงสร้างการบริ หารใน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส)

ภาพที่ 2 โครงสร้างการบริ หาร


11

บทที่ 2
รายละเอียด กรณีศึกษาระบบการสรรหาและคัดเลือกในโครงการจัดทาระบบ
สารสนเทศในการบริหารงานบุคคล
1 . HRIS กับการบริหารทรัพยากรมนุษย์
จุดเริ่ มต้นของความสาเร็ จในการพัฒนา HRIS คือ ความรู้ ความเข้าใจในเรื่ องการบริ หาร ทรัพยากร
มนุษย์ ดังนั้น จะขอนาเสนอในเรื่ องแนวคิดและกิจกรรมการบริ หารทรัพยากรมนุษย์
1.1 วัตถุประสงค์ของการบริ หารทรัพยากรมนุษย์
นักบริ หารทรัพยากรมนุษย์ที่โอนย้ายมาจากสายงานอื่นและเพิ่งมาเริ่ มทางานด้านการบริ หาร
ทรัพยากรมนุษย์อาจจะสับสนระหว่างคาว่า “การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ ( HRM : Human Resource
Management)” กับ “การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HRD : Human Resource Development)”
HRM จะเริ่ มตั้งแต่การที่ HR ใช้กลยุทธ์ต่างๆ ในการหาคนมาสมัครงาน เมื่อได้ผสู้ มัครมา จานวน
หนึ่ง ก็จะดาเนินการคัดเลือกและบรรจุเป็ นพนักงานทดลองงาน หลังจากพนักงานทดลองงาน ผ่านการ
ทดลองงานและได้เป็ นพนักงานประจาแล้ว HR จะดาเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อรักษาและพัฒนา พนักงาน
ประจาให้สามารถปฏิบตั ิงานได้ตามเป้ าหมายอย่างมีความสุ ขในระดับหนึ่ง จนกระทัง่ พนักงานประจาพ้น
สภาพการเป็ นพนักงาน ขณะที่ HRD จะเริ่ มตั้งแต่ HR ร่ วมกับหน่วยงานต่างๆ พิจารณาว่าพนักงานแต่ละคน
ควรได้รับการฝึ กอบรมและพัฒนาในเรื่ องอะไรบ้าง เพื่อที่พนักงานจะ สามารถปฏิบตั ิงานในความ
รับผิดชอบได้ดียงิ่ ขึ้น มีความสามารถเพิ่มขึ้นและมีความก้าวหน้าใน หน้าที่การงาน จึงสรุ ปได้วา่ “การ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หรื อ HRD เป็ นส่ วนหนึ่งของการบริ หาร ทรัพยากรมนุษย์ หรื อ HRM” นัน่ เอง
วัตถุประสงค์หลักของ HRM ก็คือ การเสาะหาคนที่เหมาะสมเข้ามาในองค์การให้พอเพียงกับ ความ
ต้องการ “คนที่เหมาะสม” หมายถึง “คนที่มีความรู้ ความสามารถ และคุณสมบัติตรงตามที่ ระบุไว้ใน Job
Description (J.D.) ของตาแหน่งนั้นๆ รวมทั้งมีทศั นคติและบุคลิกภาพที่สอดคล้องกับ วัฒนธรรมองค์กร
ด้วย” ส่ วนข้อความ “ให้พอเพียงกับความต้องการ” หมายถึง “มีจานวนเท่ากับอัตรา กาลังที่ได้วางแผนหรื อที่
ได้กาหนดไว้ ” การพัฒนาและการรักษา คนที่เหมาะสมให้สามารถสร้างสรรค์ ผลงานตามเป้ าหมายของ
องค์การอย่างมีความสุ ขในระดับที่ท้ งั สองฝ่ ายพึงพอใจ และเมื่อถึงเวลาอัน สมควรคนที่เหมาะสมนี้ก็จะจาก
องค์การไปด้วยความเข้าใจอันดีท้ งั สองฝ่ าย การดาเนินกิจกรรมในจุด นี้เป็ นสิ่ งที่ไม่อาจมองข้ามไปได้เพราะ
พนักงานที่ออกจากองค์การไปด้วยดี จะเป็ นนักประชาสัมพันธ์ ที่น่าเชื่อถือในสายตาผูฟ้ ังที่กาลังฟังเขาเล่า
เรื่ องราวต่างๆ ในขณะที่เขาทางานในองค์การแห่งนี้ และ ในบางโอกาสเขาก็จะกลับมาเป็ นลูกค้าของ
องค์การด้วยเช่นกัน
12

1.2 กิจกรรมการบริ หารทรัพยากรมนุษย์


ฝ่ าย HR ที่สามารถปฏิบตั ิงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ขา้ งต้นได้ ต้องดาเนินกิจกรรมการบริ หาร
ทรัพยากรมนุษย์อย่างมีระบบ โดยเริ่ มจากการวางแผนกาลังคน (Human Resource Planning) การปรับปรุ ง
Job Description (J.D.) และ Job Specification (J.S.) การสรรหาและคัดเลือก บุคลากร การออกแบบ
เครื่ องมือในการคัดเลือกบุคลากร การบรรจุและการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ การทดลองงาน การ
ประเมินผลการปฏิบตั ิงานโดยการใช้ KPIs (Key Performance Indicators) หรื อ Competency หรื อใช้ท้ งั สอง
อย่าง การฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงานในลักษณะต่างๆ การบริ หาร ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่มี
ประสิ ทธิ ภาพเพียงพอที่ทาให้เกิดการขับเคลื่อนไปข้างหน้า และกิจกรรม ต่างๆ ไปจนถึงการปรับปรุ งวิธีการ
ทา Exit Interview
1.3 การวางแผนกาลังคน (Human Resource Planning)
การวางแผนกาลังคนนับเป็ นจุดเริ่ มต้นที่สาคัญเพราะถ้าฝ่ าย HR ไม่ทราบว่าในอนาคตซึ่ ง อาจจะเป็ น
1 ปี หรื อ 2-3 ปี ก็ตาม องค์การต้องใช้พนักงานทั้งหมดเป็ นจานวนเท่าใด เป็ นพนักงาน ประเภทใดบ้าง เช่น
เป็ นพนักงานประจารายวัน ประจารายเดือน พนักงาน Sub Contract นักศึกษาฝึ กงาน ฯลฯ และไม่ทราบว่า
องค์การต้องการคนที่มีความรู้ ความสามารถในเรื่ องอะไรบ้าง รวมทั้งไม่ทราบว่าองค์การต้องการให้คน
เหล่านี้เข้ามาทางานในช่วงใดบ้าง ฝ่ าย HR คงทางานให้ ประสบความสาเร็ จตามเป้ าหมายได้ยากมาก สิ่ งที่
จะตามมาก็คือ หน่วยงานต่างๆ ในองค์การก็จะ ทางานไม่สาเร็ จอันเนื่องมาจากมีพนักงานไม่เพียงพอ หรื อ
มีพนักงานที่มีความสามารถไม่ถึง หรื อ อาจลุกลามไปถึงขั้นที่หวั หน้างานไม่กล้าว่ากล่าวตักเตือนลูกน้อง
เมื่อลูกน้องทาความผิดเพราะเกรงว่าลูกน้องจะลาออก เข้าทานองที่วา่ “มีคนไม่ค่อยดี ยังดีกว่าไม่มี
คนทางานเลย” จนอาจกลายเป็ น ความขัดแย้งระหว่างฝ่ าย HR และหน่วยงานได้ในที่สุด ในทางกลับกัน
ถ้าไม่มีการวางแผนกาลังคน ที่รัดกุมเพียงพอ องค์การอาจต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรใน
กรณี ที่ “องค์การมี บุคลากรเกินความต้องการ ” ดังนั้นจะเห็นได้วา่ การวางแผนกาลังคนที่มีประสิ ทธิ ภาพ
เพียงพอสามารถ ตอบโจทย์ได้ท้ งั 2 กรณี คือ
- กรณี “คนล้นงาน” คือ “งานน้อยกว่าคน” ซึ่ งเป็ นเรื่ องที่กล่าวขานกันมากในช่วงที่ ผ่าน
มาและในเวลาข้างหน้านี้ดว้ ย สาเหตุที่คุน้ หูกนั มากของ “คนล้นงาน” ก็คือ Hamburger Crisis การ
ลดกาลังการผลิต การยุบรวมหน่วยงานเข้าด้วยกัน การยกเลิกโครงการต่างๆ หรื อแม้กระทัง่ การ
Outsource งานที่มีมูลค่าน้อย หรื องานที่ไม่ค่อยถนัดไปให้คนอื่นทาซึ่ งประหยัดกว่า
- กรณี “งานล้นคน” หรื อ “คนน้อยกว่างาน ” สาหรับกรณี น้ ีมกั จะเป็ นเสี ยงบ่นมาจาก
ผูป้ ฏิบตั ิงานมากกว่าฝ่ ายบริ หาร ถ้าพิจารณาหาสาเหตุของ “งานล้นคน” ดูดว้ ยใจ เป็ นกลางไม่เอน
เอียงแล้ว อาจพบว่าที่มีงานมากมายนั้นเกิดจากการที่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน ไม่เข้าใจกระบวนการทางานดี
พอ จึงทางานผิดพลาดบ่อยทาให้ตอ้ งตามมาแก้ไขอยู่ ตลอดเวลา เป็ นที่ยอมรับกันดีวา่ การแก้ไขงาน
ที่ผดิ พลาดเสี ยเวลามากกว่าการเริ่ ม งานใหม่ แถมยังทาให้ผปู้ ฏิบตั ิงานรู้สึกท้อแท้ หมดกาลังใจได้
13

ง่ายๆ แต่ การทางานผิดพลาดไม่ใช่สาเหตุเดียวของ “งานล้นคน ” นะคะ ยังมีสาเหตุอื่นๆ อีก


เช่น งานซ้ าซ้อน มีงาน Manual เยอะ แต่ละงานมี Process ยาว ฯลฯ
นอกจาก 2 เรื่ องข้างต้นนี้แล้ว สิ่ งที่องค์การจะได้จากการวางแผนกาลังคน คือ แผนการฝึ กอบรม
และ พัฒนาพนักงานที่สอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงานและขององค์การในอนาคต และถ้าจะพูด
ถึงเรื่ องเงินๆ ทองๆ แล้ว การวางแผนกาลังคนยังทาให้องค์การสามารถประมาณการค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับ
บุคลากรได้อีกด้วย ไม่วา่ จะเป็ นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าจ้างหรื อเงินเดือน สวัสดิการทั้งที่เป็ น ตัวเงินและที่ไม่
เป็ นตัวเงิน (แต่ก็มีตน้ ทุน) รวมถึงค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมใน การทางานให้พนักงานด้วย
เมื่อฝ่ าย HR รวบรวมและสรุ ปกาลังคนในอนาคตขององค์การโดยแยกเป็ นหน่วยงานต่างๆ
แล้ว สิ่ งที่ตอ้ งทาต่อไปคือ การควบคุมจานวนพนักงานให้เป็ นไปตามแผนอัตรากาลังที่ได้รับอนุมตั ิซ่ ึ ง
จาเป็ นพอสมควรหากไม่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วย ….ตรงนี้จะเป็ นหน้าที่ของ HRIS
จากการที่ได้พดู ถึงในการดาเนินการในการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรนั้นจะต้องมีการ
ทาการศึกษาและทาความเข้าใจในลักษณะงานที่เกิดขึ้นกับ HR ซึ่ งจะเป็ นสิ่ งที่นามาดาเนินการในการใช้
พัฒนาระบบเทคโนโลยีสาสนเทศในการจัดการทรัพยากรบุคคลต่อไปเพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพและ
ประสิ ทธิ ผลขึ้นในการดาเนินงานในฝ่ ายและกับองค์กร
1.4 ระบบสารสนเทศด้านการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร
ครั้งนี้เราจะคุยกันในเรื่ องการออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ใน ส่ วนของ
การสรรหาและการคัดเลือกพนักงานซึ่ งเป็ นสิ่ งที่หลายๆ องค์การกาลังดาเนินการอยูใ่ นขณะนี้ ตามที่ทราบ
กันดีวา่ การสรรหาและการคัดเลือกพนักงานเป็ นจุดเริ่ มต้นของความสาเร็ จขององค์การใน เรื่ องการมี
บุคลากรที่มีศกั ยภาพ สามารถแปลงนโยบายไปสู่ การปฏิบตั ิ หรื อ สามารถคิดวิธีการใหม่ๆ ได้ เมื่อ HR
ต้องการเสนอเรื่ องนี้ หรื อในทางกลับกัน องค์การหรื อผูม้ ีอานาจในการตัดสิ นใจสรุ ปว่าให้ ดาเนินการใน
เรื่ องนี้ได้ บุคลากรในฝ่ าย HR ต้องมาหารื อกันว่าอยากให้ระบบออกมามีหน้าตาแบบ ไหน ต้องการ
สารสนเทศอะไรจากระบบนี้ อะไรคือปั ญหาที่นกั สรรหาและคัดเลือกพนักงานกาลัง เผชิญอยู่

2. รายละเอียด กรณีศึกษาระบบการสรรหาและคัดเลือกในโครงการจัดทาระบบสารสนเทศในการบริหารงาน
บุคคล
2.1 ) จากข้อมูลเบื้องต้นที่ได้กล่าวไป เป็ นองค์ความรู ้โดยรวมที่เกี่ยวข้องกับระบบการทางานในฝ่ าย
บริ หารงานบุคคล ซึ่ งเป็ นลักษณะขององค์รวมทั้งหมด โดยจากการที่ได้เข้ามา สหกิจศึกษาในฝ่ าย
บริ หารงานบุคคลของ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.) นั้นสิ่ งที่กาลังจะเกิดขึ้นใน
ฝ่ ายดังกล่าว นั้นคือ โครงการจัดทาระบบสารสนเทศการบริ หารงานบุคคลขึ้น จากสิ่ งดังกล่าวผูเ้ ขียนรายงาน
จึงได้จดั ทาการศึกษาการเปรี ยบเทียบการทางานของฝ่ ายบริ หารงานบุคคลจากการใช้ระบบการบริ หารงาน
เดิม(ที่กาลังใช้อยู)่ กับระบบที่กาลังจัดทาอยู่ ว่ามีความแตกต่าง หรื อมีขอ้ ดีขอ้ เสี ยในด้านใด มาเป็ น
14

กรณี ศึกษา ทั้งนี้การดาเนินการในการศึกษาดังกล่าวได้ทาการเก็บข้อมูลจากการ สัมภาษณ์ผทู ้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง


ในการใช้ระบบทั้งสองระบบ คือ ผูท้ ี่ดูแลระบบเทคโนโลยีเกี่ยวกับงานบริ หารงานบุคคล (Admin) และผูท้ ี่นา
ระบบดังกล่าวมาใช้ (User)
ในการศึกษาดังกล่าวนี้ผเู ้ ขียนรายงาน มีความสนใจในการศึกษาระบบย่อยในระบบหลักของ HRIS
นั้นคือระบบการสรรหาและคัดเลือกเพราะเนื่องจากเป็ นระบบที่มีความสาคัญที่สุดและเป็ นระบบหลักที่จะ
นาพาองค์กรไปสู่ ความสาเร็ จตามเป้ าหมายที่วางไว้
ในส่ วนของระบบการสรรหาและคัดเลือกซึ่ งเป็ นระบบเก่าและเป็ นระบบที่ทางฝ่ ายบริ หารงาน
บุคคล ของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพใช้อยูใ่ นปั จจุบนั เป็ นระบบลักษณะที่เป็ น
ข้อมูลที่ได้มาจากการสรุ ปและบันทึกโดยเจ้าหน้าที่ในฝ่ ายและจะประมวลผลได้ก็ต่อเมื่อมีการจัดทาตามสู ตร
ต่างๆที่ใช้ในโปรแกรม จากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าทีที่เป็ น Admin และ User นั้นได้มีความเห็นตรงกันใน
ประเด็นนี้คือ ข้อมูลที่ได้อาจมีการคาดเคลื่อนและไม่ถูกต้องซึ่ งส่ งผลต่อการพิจารณาคุณสมบัติของผูท้ ี่สมัคร
เข้ามาเพราะเนื่องจากข้อมูลมีความผิดพลาดจากการบันทึกลงไปในโปรแกรมนั้นเอง จากการดาเนินงานของ
งานสรรหาและคัดเลือก ใน สสส. สามารถอธิ บายตามแผนภาพดังนี้

ฝ่ ายบริหารงานบุคคล
ใบสมัครที่ได้ จากการนามา
นาข้ อมูลจากใบสมัครพิจารณาตาม
จากเว็บไซต์และอีเมลล์/ส่งมา
คุณสมบัติและบันทึกสรุปข้ อมูลลง
ทางไปรษณีย์ โปรแกรม

การพิจารณา นาข้ อมูลส่งไปยัง


คณะกรรมการพิจารณา

ภาพที่ 3 แผนภาพการดาเนินงานสรรหาและคัดเลือก(ระบบเก่า)
15

จากแผนภาพการดาเนินงานในส่ วนงานสรรหาและคัดเลือกในระบบ(เก่า) นั้นค่อนข้างที่จะยัง


ซับซ้อนและต้องใช้เวลาในการดาเนินการอยูม่ ากอาจทาให้งานส่ วนอื่นๆที่รับผิดชอบมีผลกระทบไปด้วย\

ภาพที่ 4 การบันทึกข้อมูลจากใบสมัคร

จากภาพเป็ นรู ปภาพที่แสดงถึงโปรแกรม Microsoft excel ที่มีขอ้ มูลผูส้ มัครที่ผา่ นการคัดเลือกใน


เบื้องต้นซึ่ งมีขอ้ มูลมากมายที่มีความเสี่ ยงต่อการเกิดข้อผิดพลาดในการจัดเก็บและบันทึกของข้อมูล
จากการศึกษาและนาตัวอย่างรู ปภาพที่เป็ นลักษณะการดาเนินงานของฝ่ ายบริ หารงานบุคคล ที่
เกี่ยวข้องกับงานสรรหาและคัดเลือกในระบบเก่านั้นจะเห็นได้วา่ การใช้ระบบดังกล่าวค่อนข้างจะมีความ
สิ้ นเปลืองในด้านทรัพยากรบุคคลและเวลาที่จะใช้ในการดาเนินการ
16

2.2 โครงการจัดทาระบบสารสนเทศการบริ หารงานบุคคล HRIS


การจัดทาระบบ HRIS ขึ้นมาในฝ่ ายบริ หารงานบุคคล สานักงานกองทุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ
(สสส) มีปัจจัยหลายๆด้านที่เป็ นตัวกระตุน้ การจัดทาระบบดังกล่าวขึ้นมา ดังนี้

- ปัจจัยด้านความทันสมัยของระบบสรรหาและคัดเลือกเพื่อใช้ในการบริ หารงานบุคคล
- ปั จจัยด้านการจัดเก็บข้อมูลและการประมวลข้อมูลของระบบสรรหาและคัดเลือกที่อาศัย
เทคโนโลยีดา้ นสารสนเทศที่มีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าเดิม
- ปัจจัยเรื่ องการลดระยะเวลาในการประมวลข้อมูลของระบบสรรหาและคัดเลือก
ฯลฯ
17

บทที่ 3

สรุปการจัดทากรณีศึกษาระบบการสรรหาและคัดเลือกในโครงการจัดทาระบบ
สารสนเทศในการ
ปั จจัยด้านต่างๆที่กล่าวมาทั้งหมดนี้อาจยังไม่ครอบคลุมทั้งระบบของ HRIS ที่จะนามาใช้แต่ก็
สามารถที่จะทาให้เห็นถึงความสาคัญในการจัดทาระบบซึ่ งมีความสาคัญและมีความสัมพันธ์ต่อองค์กรอย่าง
มาก
ในส่ วนการพัฒนาระบบ HRIS ของสรรหาและคัดเลือกนั้น จากข้อมูลการสัมภาษณ์ผทู ้ ี่เป็ น
(Admin) ระบบสารสนเทศของฝ่ ายบริ หารงานบุคคลกับเจ้าหน้าที่ในฝ่ ายที่ใช้ระบบ (User) ดังกล่าว มีขอ้ มูล
ที่ตรงกันนั้นคือ การเพิ่มเติมในส่ วนของการลดระยะเวลาเพื่อให้มีความรวดเร็ วในการประมวลของข้อมูล
และการนาข้อมูลมาใช้เพื่อการพิจารณาต่อไป ซึ่ งความเห็นดังกล่าวนี้มีการเพิ่มเติมด้านการจัดทาระบบสรร
หาและคัดเลือกว่า อาจจะไม่มีการเพิ่มเติมอะไรใหม่เข้าไปมากเพราะระบบเก่าค่อนข้างใช้ดีแต่แค่ตอ้ งปรับ
ให้ระบบมีความเสถียรและครบถ้วนก็จะเป็ นระบบที่สามารถใช้งานในการสรรหาและคัดเลือกได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
ในส่ วนของความคาดหวังที่มีต่อระบบนั้น คือการใช้งานที่มีความสะดวก ปลอดภัย และสามารถ
รองรับการก้าวล้ าต่างๆ ทั้งทางด้านของข้อมูลที่มีความหลากหลายและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยี
สมัยใหม่ เพราะการบริ หารงานบุคคลจะต้องมีความยืดหยุน่ ในด้านการจัดการและการใช้งาน
จากการศึกษากรณี ศึกษาระบบการสรรหาและคัดเลือกในโครงการจัดทาระบบ สารสนเทศในการ
บริ หารงานบุคคล ของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส) นั้นพบว่าโครงการพัฒนา
ระบบดังกล่าวเป็ นผลมาจากการที่ สสส. มีความประสงค์ที่จะพัฒนาระบบงานและการบริ หารงานให้มีความ
เสถียรและมีความทันสมัย รวมทั้งระบบเก่าที่มีการใช้งานอยูใ่ นปั จจุบนั นั้นยังไม่สามารถสร้างประสิ ทธิ ภาพ
และประสิ ทธิ ผลได้ตามเป้ าประสงค์ที่วางไว้ท้ งั นี้ ทางฝ่ ายบริ หารงานบุคคล ของสานักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริ ม (สสส) จึงได้มีการจัดทาระบบ HRIS ขึ้นมา
18

บทที่ 4

สรุปผลการปฏิบัตสิ หกิจศึกษา
สิ่ งที่คาดหวัง
1) นักศึกษาได้นาความรู้และความสามารถที่ได้ศึกษา มาปรับใช้ในกรณี ศึกษาระบบการสรร
หาและคัดเลือกในโครงการจัดทาระบบสารสนเทศในการ (HRIS) โดยผ่านการฝึ กฝน
จากที่ปรึ กษาในรายงานสหกิจศึกษา
2) นักศึกษาได้รับการเรี ยนรู้ในด้านงานบริ หารบุคคล ที่นาระบบสารสนเทศในการบริ หาร
ทรัพยากรบุคคล (HRIS) มาใช้ในองค์กร
3) นักศึกษาได้เรี ยนรู้กระบวนการในการดาเนินงานในองค์กร ตามสภาพความเป็ นจริ ง
ประโยชน์ต่อตนเอง

1) ทาให้ได้นาความรู้ความสามารถมาปรับใช้ในการทางาน
2) ได้เรี ยนรู้ระบบการทางานในองค์กรที่มีประสิ ทธิภาพด้านระบบการทางาน
3) ได้พฒั นาตนเองในด้านการเรี ยนรู ้และการทางานเพื่อเป็ นพื้นฐานในการนาไปใช้ในการ
ทางานจริ ง

ประโยชน์ต่อสถานประกอบการ

1) ได้แบ่งเบาภาระงานบางส่ วนในฝ่ ายที่นกั ศึกษาได้สหกิจศึกษา


2) ได้เรี ยนรู ้วธิ ี การทางานของคนรุ่ นใหม่ที่จะก้าวขึ้นมาเป็ นพลังใหม่ ในด้านการทางาน
ความรู้และความสามารถ
3) ได้ประชาสัมพันธ์องค์กรในด้านการดาเนินงานต่างๆ

ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย

ได้บณั ฑิตที่มีประสิ ทธิ ภาพในตลาดแรงงาน ที่สามารถนาความรู ้และความสามารถจากการสหกิจ


ศึกษามาใช้ในการทางานในอนาคต
19

บทที่ 5

ลักษณะงานที่ได้ รับมอบหมายในการสหกิจศึกษา
จากการสหกิจศึกษาในสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส) นั้นได้เข้าไปสห
กิจในฝ่ ายบริ หารงานบุคคล ลักษณะงานที่ได้รับมอบหมายในการสหกิจคือ การดาเนินงานด้านการสรรหา
และคัดเลือก ซึ่งทาในด้านการรวบรวมใบสมัคร การคัดกรองประวัติผสู้ มัคร การสรุ ปประวัติผสู้ มัครเพื่อ
นาเสนอให้กบั คณะกรรมการในการพิจารณา การนัดผูผ้ า่ นการคัดกรองคุณสมบัติเพื่อการสอบข้อเขียน และ
ทาการนัดวันเวลาในการสอบสัมภาษณ์แก่ผสู ้ มัครที่ผา่ นในขั้นตอนการสอบข้อเขียน
ทั้งนี้ยงั ครอบคลุมไปยังงานที่เกี่ยวข้องในฝ่ ายงานบริ หารงานบุคคล เช่น โครงการพัฒนา
ภาพลักษณ์องค์กร การดาเนินการด้านหนังสื อต่างๆในฝ่ ายและระหว่างฝ่ ายในสานักงาน เป็ นต้น

ปัญหาและข้อเสนอแนะ
ในการทางานต่างๆย่อมมีสิ่งที่เรี ยกว่าปั ญหาเกิดขึ้นได้เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปั ญหาด้านการสร้าง
ความเข้าใจในการดาเนินการขององค์กรที่สหกิจว่าจะต้องมีแนวทางในการทางานอย่างไร ถึงจะมีความ
สมบูรณ์ในการดาเนินงาน รวมทั้งการสร้างความเข้าใจขององค์กรที่อาจจะยังต้องมีการแก้ไขในด้านการให้
การสนับสนุนด้านข้อมูลให้มีความละเอียดมากกว่านี้ ทั้งนี้อาจเกิดจากการที่เจ้าหน้าที่ที่ปรึ กษามีความจากัด
ในด้านของเวลาและภาระงานที่ตอ้ งรับผิดชอบ ส่ วนในด้านของนักศึกษาจะต้องมีการปรับลักษณะการ
ทางานตามที่หน่วยงานประสงค์ และทางคณะและมหาวิทยาลัยจะต้องมีการเตรี ยมความพร้อมของบัณฑิตที่
จะออกไปสหกิจตามหน่วยงานองค์กรต่างๆ เช่น การเตรี ยมความพร้อมด้านความรู ้ในสานักงาน งานบริ การ
และการรับมือกับความกดดันในองค์กรให้มากกว่านี้
20

บรรณานุกรม
ทิพวัลย์ ติรณะประกิจ.2558.HR Magazine Society(ตอนที่1).(ออนไลน์)
http://www.hrsocietymag.com/
ทิพวัลย์ ติรณะประกิจ.2558.HR Magazine Society(ตอนที่2).(ออนไลน์)
http://www.hrsocietymag.com/
สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ(สสส).2558.รู้จกั สสส.(ออนไลน์)
http://www.thaihealth.or.th/
สาเริ ง ยิง่ ถาวรสุ ข.2558. ระบบสารสนเทศในการบริ หารทรัพยากรมนุษย์. (ออนไลน์)
http://www.songkhla.go.th/songkhla52/km/km4000007.pdf. 26 มกราคม 2558
ไม่ปรากฏชื่อผูแ้ ต่ง. 2558. ระบบสารสนเทศในการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ (HRIS). (ออนไลน์)
http://www.pichayasolution.com/jp/published-erp-mrp-hrm-it-article/86-hris.21
มกราคม 2558
21

ภาคผนวก
22

สถานที่สหกิจศึกษา สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริมสุ ขภาพ (สสส)


อาคารศูนย์เรี ยนรู้สุขภาวะ

บรรยากาศการทางานในสานักงานงาน
23

กิจกรรมที่ได้ร่วมดาเนินงานกับทางฝ่ ายบริ หารงานบุคคล “กิจกรรมออกบูธ๊ ประชาสัมพันธ์การรับ


สมัครงาน”

You might also like