You are on page 1of 40

บทที่ 2

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลยภาพ

เนื้ อหา
1. อุปสงค์
1.1 ความหมายและประเภทของอุปสงค์
1.2 ปจั จัยทีก่ าหนดอุปสงค์
1.3 ฟงั ก์ชนอุ
ั ่ ปสงค์
1.4 กฎของอุปสงค์
1.5 ตารางอุปสงค์
1.6 การเปลีย่ นแปลงปริมาณอุปสงค์
1.7 การเปลีย่ นแปลงเส้นอุปสงค์
1.8 อุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ของตลาด
1.9 อุปสงค์ต่อราคา อุปสงค์ต่อรายได้และอุปสงค์ไขว้
2. อุปทาน
2.1 ความหมายของอุปทาน
2.2 ปจั จัยกาหนดอุปทาน
2.3 ฟงั ก์ชนอุ
ั ่ ปทาน
2.4 กฎของอุปทาน
2.5 ตารางอุปทาน
2.6 การเปลีย่ นแปลงปริมาณอุปทาน
2.7 การเปลีย่ นแปลงเส้นอุปทาน
2.8 อุปทานของหน่วยผลิตและอุปทานของตลาด
3. ภาวะดุลยภาพ
3.1 ดุลยภาพของตลาด
3.2 การเปลีย่ นแปลงภาวะดุลยภาพ

EC 103 17
4. การนาวิธกี ารวิเคราะห์ดุลยภาพไปประยุกต์ใช้กรณีต่าง ๆ
4.1 นโยบายประกันราคาขัน้ ต่า
4.2 นโยบายประกันราคาขัน้ สูง
4.3 การเก็บภาษีและภาระภาษี

สาระสาคัญ
1. อุปสงค์ หมายถึง ความต้องการซือ้ สินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ของ
ผูบ้ ริโภค ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยมีอานาจซือ้ หรือมีความสามารถในการ
ตอบสนองความต้องการนัน้ ๆ
2. อุปสงค์อาจแบ่งออกเป็ นประเภทต่าง ๆ ได้ หลายประเภท เช่น อุปสงค์ท่เี กิดขึน้
จริง อุปสงค์ตามศักยภาพ อุปสงค์ทางตรง อุปสงค์สบื เนื่องอุปสงค์ส่วนบุคคล อุป
สงค์ของหน่วยธุรกิจ อุปสงค์ของตลาด เป็นต้น
3. อุปสงค์ทผ่ี บู้ ริโภคมีต่อสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งจะถูกกาหนดโดยปจั จัยต่าง ๆ คือ
ราคาสินค้าชนิดนัน้ ราคาสินค้าชนิดอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง รสนิยม รายได้ จานวน
ประชากรค่าใช้จา่ ยในการประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
4. การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความต้องการซือ้ สินค้ากับปจั จัยกาหนด
ความต้องการซือ้ อาจเขียนให้อยูใ่ นรูปฟงั ก์ชนั ่ สมการ ตารางหรือเส้นอุปสงค์กไ็ ด้
5. กฎของอุปสงค์กล่าวไว้ว่าราคาและปริมาณความต้องการซือ้ สินค้าจะมี
ความสัมพันธ์กนั ในทิศทางตรงกันข้าม
6. การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุ ปสงค์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความต้อ งการซื้อ
สินค้าอันเนื่องมาจากการเปลีย่ นแปลงราคาสินค้าชนิดนัน้ ๆ โดยปจั จัยอื่นๆ ที่
กาหนดให้คงทีไ่ ม่ได้เปลีย่ นแปลงไปเป็นการเปลีย่ นแปลงบนเส้นอุปสงค์เส้นเดิม
7. การเปลีย่ นแปลงเส้นอุปสงค์ หมายถึง การเปลีย่ นแปลงความต้องการซือ้ สินค้า
โดยที่ราคาสินค้าไม่ได้เปลี่ยนไป แต่ เป็ นการเปลี่ยนแปลงปจั จัยกาหนดความ
ต้องการซือ้ อื่น ๆ นอกเหนือจาก ราคาซึง่ มีผลทาให้เส้นอุปสงค์เปลีย่ นแปลงไปทัง้
เส้น โดยอาจเคลื่อนไปทางขวาหรือทางซ้ายของเส้นเดิม
8. การจาแนกอุปสงค์ตามปจั จัยทีก่ าหนด อาจแบ่งเป็ น 3 ประเภทใหญ่ คือ อุปสงค์
ต่ อ รายได้ หมายถึง ปริม าณสิน ค้ า ที่ม ีผู้ ต้ อ งการซื้อ ณ ระดับ ต่ า ง ๆ กัน
ของรายได้ โดยกาหนดให้ปจั จัยอื่น ๆ คงที่ กรณีสนิ ค้าปกติปริมาณซือ้ จะ

18 EC 103
เปลี่ย นแปลงไปในทิศ ทางเดีย วกัน กับ รายได้ แต่ ถ้า เป็ น สิน ค้า ด้อ ยคุ ณ ภาพ
ปริมาณซื้อ จะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้ามกับรายได้อุปสงค์ต่อ ราคา
หมายถึง ปริมาณความต้องการซือ้ สินค้าในเวลาใดเวลาหนึ่ ง ณ ระดับ ราคาต่าง
ๆ กัน โดยกาหนดให้ปจั จัยอื่น ๆ คงที่ ความสัมพันธ์ของปริมาณซื้อและราคา
สินค้าจะเป็ นไปในทิศทางตรงกันข้ามตามกฎของอุปสงค์ อุปสงค์ไขว้ หมายถึง
ปริมาณสินค้าทีม่ ผี ู้ต้องการซื้อในขณะใดขณะหนึ่ง ณ ระดับต่าง ๆ กันของราคา
สินค้าอีกชนิดหนึ่งทีเ่ กีย่ วข้องกัน โดยกาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ กรณีท่ี สินค้าสอง
ชนิดนี้เป็ นสินค้าที่ใช้ประกอบกันจะมีความสัมพันธ์กนั ในทิศทางตรงกันข้าม แต่
ถ้าเป็นสินค้าทีใ่ ช้ทดแทนกันจะมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน
9. อุปทาน หมายถึง ปริมาณความต้องการเสนอขายสินค้า ณ ระดับราคาใดราคา
หนึ่ง ในเวลาใด เวลาหนึ่ง โดยกาหนดในสิง่ อื่น ๆ คงที่
10. อุปทาน จะถูกกาหนดโดยปจั จัยต่าง ๆ เช่น ราคาสินค้าชนิดนัน้ ราคาปจั จัยการ
ผลิต ต้นทุนการ ผลิต ระดับเทคโนโลยี ตลอดจนสภาวะแวดล้อมทัวไป ่ เป็นต้น
11. กฎของอุปทาน กล่าวว่า ปริมาณความต้องการขายหรือผลิตสินค้า และราคา
สินค้ามีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน
12. การเปลี่ยนแปลงปริม าณอุ ป ทาน หมายถึง สภาวะที่ป ริม าณเสนอขายสิ น ค้า
เปลีย่ นแปลงไปอันเนื่องมาจากราคาสินค้าชนิดนัน้ เปลีย่ นไป โดยปจั จัยกาหนด
อุปทาน ตัวอื่นคงที่ เป็นการเปลีย่ นแปลงภายในเส้นอุปทานเส้นเดิม
13. การเปลี่ย นแปลงเส้น อุ ป ทาน หมายถึง สภาวะที่ค วามต้ อ งการขายสิน ค้า
เปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจากปจั จัยอื่นนอกจากราคาเปลี่ยนแปลง มีผลทาให้
เส้นอุปทานเลื่อนไปทัง้ เส้น อาจเลื่อนไปทางซ้ายหรือทางขวาของเส้นเดิม
14. ดุล ยภาพของตลาด หมายถึง สภาพสมดุล ที่เ กิ ดขึ้น ณ ระดับราคาที่ผู้ซ้อื และ
ผูข้ ายตกลงซือ้ ขายกันแล้วปริมาณเสนอซือ้ เท่ากับปริมาณเสนอขายพอดี
15. เมื่อระดับราคาสินค้าสูงกว่าราคาดุลยภาพ จะเกิดปญั หาสินค้าล้นตลาดหรือเกิด
อุปทานส่ วนเกินถ้าปล่ อยให้กลไกตลาดทางานอย่างเต็มที่ในที่สุ ดผู้ผ ลิต จะลด
ราคาลงจนอุปทานส่วนเกินค่อย ๆ ปรับลดลง ในทีส่ ุดอุปทานส่วนเกินจะหายไป
และเข้าสู่ดุลยภาพอีกครัง้ หนึ่ง ในทานองตรงกัน ข้ามถ้าระดับราคาสินค้าต่ ากว่า
ราคาดุลยภาพ จะเกิดปญั หาสินค้าขาดตลาด หรือ อุปสงค์ส่วนเกิน ถ้าปล่อยให้

EC 103 19
กลไกตลาดทางานเต็มทีใ่ นที่สุดผู้บริโภคบางส่วนจะยอมซื้อสินค้ าในราคาที่แพง
ขึน้ อุปสงค์ส่วนเกินจะค่อย ๆ ลดลง จนเข้าสู่ดุลยภาพอีกครัง้ หนึ่ง
16. ดุลยภาพของตลาดอาจเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าเส้นอุปสงค์ หรือ เส้นอุปทานหรือทัง้
สองเส้นเปลีย่ นแปลงไป
17. เราสามารถนาความรู้ในเรื่องดุ ลยภาพของตลาดไปพิจารณาเรื่องต่างๆ ได้เช่น
นโยบายกาหนดราคาขัน้ ต่า นโยบายกาหนดราคาขัน้ สูง ภาระภาษี เป็นต้น

จุดประสงค์
เมือ่ นักศึกษาอ่านบทที่ 2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถอธิบายประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้
ได้
1. อธิบายความหมายของอุปสงค์ประเภทต่างๆ
2. อธิบายปจั จัยกาหนดอุปสงค์
3. อธิบาย กฎ ของอุปสงค์
4. อธิบายการเปลีย่ นแปลงปริมาณอุปสงค์ และการเปลีย่ นแปลงเส้นอุปสงค์
5. อธิบายความหมายของอุปทานประเภทต่าง ๆ
6. อธิบายปจั จัยกาหนดอุปทาน
7. อธิบายกฎของอุปทาน
8. อธิบายการเปลีย่ นแปลงปริมาณอุปทานและการเปลีย่ นแปลงเส้นอุปทาน
9. อธิบายการทางานของกลไกตลาดเพื่อเข้าสู่ภาวะดุลยภาพ
10. อธิบายนโยบายประกันราคาขัน้ สูง นโยบายประกันราคาขัน้ ต่าและภาระภาษี

ในบทนี้จะได้กล่าวถึงความหมายของอุปสงค์และอุปทานชนิดต่างๆปจั จัยสาคัญที่
เป็ นตัวกาหนดอุปสงค์และอุปทาน กฎของอุปสงค์และอุปทาน การเปลี่ยนแปลงอุป สงค์และ
อุปทาน ดุลยภาพของตลาด ตลอดจนการนาวิธกี ารวิเคราะห์ดุลยภาพไปประยุกต์ใช้ในกรณี
ต่างๆเพื่อเป็นความรูพ้ น้ื ฐานสาหรับการวิเคราะห์ในบทต่อๆไป

20 EC 103
2.1 อุปสงค์ (Demand)
2.1.1 ความหมาย
อุปสงค์ (Demand) หมายถึง ความต้องการซื้อสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง
ของผูบ้ ริโภค ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยมีอานาจซือ้ หรือมีความสามารถในการตอบสนองความ
ต้องการนัน้ ๆ
2.1.2 ประเภท
เราสามารถกล่าวถึงอุปสงค์ประเภทต่าง ๆ ได้ดงั นี้
1) อุปสงค์ที่เกิ ดขึ้นจริ ง (Effective demand) หมายถึง ความต้องการซือ้
สินค้าทีเ่ กิดขึน้ จริง ๆ อันเนื่องจากปจั จัยต่อไปนี้
1. ความเต็มใจทีจ่ ะซือ้ (Willingness to buy)
2. ความสามารถทีจ่ ะซือ้ (Ability topay)
3. สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
2) อุปสงค์ศ กั ยภาพ (Potential demand) หมายถึง ความต้อ งการซื้อ
สินค้าที่เป็ นไปตามศักยภาพหรือความสามารถในการซื้อ คือการที่มอี านาจซือ้ แต่ยงั ไม่ซอ้ื ใน
ขณะนี้
3) อุปสงค์ทางตรง (Direct demand) หมายถึง ความต้องการซือ้ สินค้าขัน้
สุดท้าย (Final product) ของผูบ้ ริโภค เช่น อุปสงค์ในขนม อุปสงค์ทม่ี ตี ่อเสือ้ ผ้าสาเร็จรูป เป็ น
ต้น
4) อุปสงค์สืบเนื่ อง (Derived demand) หมายถึง ความต้องการซือ้ วัตถุดบิ
ไปผลิตสินค้าที่ผู้บริโภคมีความต้องการ เช่น เมื่อผู้บริโภคมีความต้องการซื้อขนม ทาให้
ผู้ผลิตขนมมีความต้องการซื้อไข่ไก่ น้ าตาลทราย เพื่อไปทาขนมขาย ความต้องการ ไข่ไก่
และน้าตาลทรายจึงจัดเป็น อุปสงค์สบื เนื่อง มิใช่อุปสงค์ทางตรงทีผ่ บู้ ริโภคมีต่อขนม
5) อุปสงค์ส่วนบุคคล (Individual demand) เป็ นความต้องการซื้อสินค้า
ชนิดใดชนิดหนึ่งของผูบ้ ริโภคแต่ละคน ณ ระดับราคาใดราคาหนึ่ง เช่นถ้าขณะนัน้ เสือ้ เชิรต์ รา
คาตัว ละ 300 บาท นาย ก.ต้อ งการซื้อ จานวน 2 ตัว นาย ข. ต้อ งการซื้อ 1 ตัว นาย ค.
ต้องการซือ้ 5 ตัว ความต้องการซือ้ เสือ้ เชิรต์ ของนาย ก. หรือนาย ข. หรือนาย ค. เรียกอุป
สงค์ของผูบ้ ริโภคแต่ละรายหรือ อุปสงค์ส่วนบุคคล

EC 103 21
6) อุปสงค์ของตลาด (Market demand) เป็ นความต้องการซือ้ สินค้าชนิด
ใดชนิดหนึ่งของผูบ้ ริโภคในตลาดรวมกัน ณ ระดับราคาใดราคาหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เสื้อเชิร์
ตตัวละ 300 บาท ถ้าทัง้ ตลาดมีผซู้ อ้ื เพียง 3 ราย คือ นาย ก. นาย ข. และนาย ค. ดังนัน้ อุป
สงค์ของตลาดเสือ้ เชิรต์ ในขณะนัน้ คือ 2+1+5=8 ตัว
7) อุปสงค์ที่มีต่อหน่ วยธุรกิ จ (Firm demand) เป็ นความต้องการซือ้ สินค้า
ในตลาดที่ผลิตโดยบริษทั ใดบริษทั หนึ่ง ตัวอย่างเช่น อุปสงค์ของเสื้อเชิร์ตในตลาดจานวน
800 ตัว เป็ นอุปสงค์ทม่ี ตี ่อเสือ้ ของบริษทั A จานวน 200 ตัว บริษทั B จานวน 500 ตัวและ
บริษทั C จานวน 100 ตัว เป็นต้น
2.1.3 ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์
อุปสงค์ท่ผี ู้บริโภคมีต่อสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง จะถูกกาหนดโดยปจั จัยต่ างๆ
ได้แก่
1. ราคาสินค้าชนิดนัน้
2. ราคาสินค้าชนิดอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง
3. รสนิยม
4. รายได้
5. จานวนประชากร
6. การโฆษณาประชาสัมพันธ์
7. อื่น ๆ

2.1.4 ฟังก์ชนอุ
ั ่ ปสงค์ (Demand function)
หมายถึง สมการทีแ่ สดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความต้องการซือ้ สินค้า
และบริการ กับปจั จัยต่าง ๆ ทีก่ าหนดความต้องการซือ้
อุปสงค์ทม่ี ตี ่อสินค้าA = f (ราคาสินค้า A, ราคาสินค้าB, รสนิยม, รายได้,
จานวนประชากร, ค่าใช้จา่ ยในการโฆษณาประชาสัมพันธ์)
DA = f (PA , PB, T , Y , Pop , Ad )
ปจั จัยทีก่ าหนดความต้องการซือ้ สินค้าAในทีน่ ้คี อื ราคาสินค้า A ราคา สินค้า
B รสนิยม รายได้ จานวนประชากร และค่าใช้จา่ ยในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ การนาปจั จัย
ทีเ่ กี่ยวข้องเหล่านี้ทุกตัวมาพิจารณาพร้อม ๆ กันนัน้ การศึกษาจะต้องเป็ นไปในรูปของการ

22 EC 103
วิเคราะห์ทุกส่วน (General analysis) ซึ่งเป็ นเรื่องทีค่ ่อนข้างยุ่งยากมากสาหรับการศึกษาใน
ระดับนี้ โดยทัวไปในขั
่ น้ นี้จะเป็ นการวิเคราะห์เฉพาะส่ วน (Partial analysis) เท่านัน้ เช่น
การศึก ษาความสัม พัน ธ์ ข องความต้ อ งการซื้อ สิน ค้ า กับ ป จั จัย ใดป จั จัย หนึ่ ง ทีล ะตัว โดย
กาหนดให้ปจั จัยอื่น ๆ คงที่ ในกรณีทเ่ี ป็ นความสัมพันธ์ของปริมาณความต้องการซือ้ กับราคา
สินค้าชนิดนัน้ เรียก อุปสงค์ต่อราคา ถ้าเป็ นความสัมพันธ์ของปริมาณความต้องการซื้อกับ
รายได้ เรียก อุปสงค์ต่อรายได้ ถ้าเป็ นความสัมพันธ์ของปริมาณความต้องการซื้อกับราคา
สินค้าชนิดอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง เรียก อุปสงค์ไขว้
ฟงั ก์ชนอุ
ั ่ ปสงค์ต่อราคา DA = f(PA)
ฟงั ก์ชนอุ
ั ่ ปสงค์ต่อรายได้ DA = f(Y)
ฟงั ก์ชนอุ
ั ่ ปสงค์ไขว้ DA = f(PB)
2.1.5 กฎของอุปสงค์ (Law of demand)
กฏของอุปสงค์ หมายถึงกฏที่ว่าด้วยระบบความสัมพันธ์ระหว่ างราคาสินค้า
กับปริมาณความต้องการซือ้ สินค้านัน้ ซึ่งกฏนี้กล่าวไว้ว่า “ราคาและปริมาณความต้องการซื้อ
สินค้าจะมีความสัมพันธ์ก ันในทิศ ทางตรงกันข้าม” คือ เมื่อ ราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณความ
ต้องการซื้อจะลดต่ าลง และในทางตรงกันข้าม เมื่อราคาสินค้าลดลง ปริมาณความต้องการ
ซือ้ สินค้าจะเพิม่ สูงขึน้ ทัง้ นี้เพราะเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไปจะก่อให้เกิ ดผลสองประการ
คือ ผลทางรายได้ (Income effect) กล่าวคือเมื่อราคาสินค้าสูงขึน้ แม้ว่ารายได้ทเ่ี ป็ นตัวเงินไม่
เปลีย่ นแปลงไป แต่รายได้ทแ่ี ท้จริงลดลง ทาให้ผบู้ ริโภคซือ้ สินค้าน้อยลง หรือเมื่อราคาสินค้า
ลดลงย่อมมีผลให้รายได้ทแ่ี ท้จริงสูงขึน้ ผูบ้ ริโภคจะซือ้ สินค้ามากขึน้ ผลอีกประการก็คอื ผล
จากการทดแทนกัน กล่าวคือ เมือ่ ราคาสินค้าชนิดนัน้ สูงขึน้ จะทาให้ผบู้ ริโภคหันไปซือ้ สินค้า
อื่นทีร่ าคาไม่สูงมากนักแต่สามารถใช้ทดแทนกันได้ ทาให้ปริมาณการซือ้ สินค้าชนิดนัน้ ลดลง
ในทานองตรงกันข้ามเมือ่ ราคาสินค้าลดลง ผูท้ เ่ี คยใช้สนิ ค้าอื่นทีส่ ามารถทดแทนกันได้ จะหัน
มาซือ้ สินค้าทีร่ าคาลดลง ทาให้ปริมาณการซือ้ สูงขึน้
2.1.6 ตารางอุปสงค์ (Demand schedule)
ตารางอุปสงค์ คือ ตารางทีแ่ สดงความสัมพันธ์ระหว่างราคากับปริมาณความ
ต้องการซือ้ สินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ในเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยกาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ ดังแสดง
ในตาราง 2.1 เมือ่ สินค้ามีราคาชิน้ ละ 10 บาท ความต้องการซือ้ หรืออุปสงค์ทม่ี ตี ่อสินค้าจะ

EC 103 23
เท่ากับ 40 ชิน้ แต่เมื่อราคาสินค้าสูงขึน้ เป็ นชิน้ ละ 20 30 และ 40 บาท จะมีผลทาให้
ความต้องการซือ้ สินค้าลดลงเป็น 30 ชิน้ 20 ชิน้ และ 10 ชิน้ ตามลาดับซึง่ เป็ นไปตามกฏของ
อุปสงค์

ตาราง 2.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคาและความต้ องการซื้อ

ราคา ความต้องการซื้อ
10 40
20 30
30 20
40 10

2.1.7 เส้นอุปสงค์ (Demand eurve)


เส้นอุปสงค์ หมายถึง เส้นทีแ่ สดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างราคาสินค้า
กับปริมาณความต้องซือ้ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยกาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ จากตาราง 2.1
ข้างต้น เราสามารถนามาเขียนเส้นอุปสงค์ได้ดงั รูป 2.1 จะเห็นได้ว่าอุปสงค์มลี กั ษณะเป็ นเส้น
ทอดลงจากซ้ายไปขวาแสดงให้เห็นว่าราคาสินค้ากับปริมาณความต้องการซือ้ มีความสัมพันธ์
ในทิศทางตรงกันข้าม ซึง่ เป็นไปตามกฎของอุปสงค์
P

P1 A

P2 B

D
0 Q
Q1 Q2
รูป 2.1 เส้ นอุปสงค์

24 EC 103
2.1.8 การเปลี่ยนแปลงปริ มาณอุปสงค์ (Change in quantity demand)
การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อหรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุป
สงค์ หมายถึง การเปลีย่ นแปลงความต้องการซือ้ อันเนื่องมาจากการเปลีย่ นแปลงราคาสินค้า
นัน้ ๆ เป็นการเปลีย่ นแปลงบนเส้นอุปสงค์เส้นเดียวกัน ดังจะเห็นในรูป 2.2 เดิมอุปสงค์ของ
สินค้าอยู่ท่จี ุด A คือ ณ ระดับราคา O P1 ความต้องการซื้อสินค้าจะเท่ากับ OQ1 แต่เมื่อ
ราคาสินค้าลดลงเป็ น OP2 ความต้องการซื้อสินค้าจะเพิม่ ขึน้ เป็ น OQ2 ทาให้อุปสงค์เปลีย่ น
จากจุด A มาเป็ นจุด B ซึ่งเป็ นการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้ออันเนื่องมาจาก
ราคาสินค้าเปลีย่ นแปลงไป โดยทีป่ จั จัยอื่น ๆ ที่เรากาหนดให้คงทีม่ ไิ ด้เปลีย่ นแปลงไป เป็ น
การเปลีย่ นแปลงบนเส้นอุปสงค์เส้นเดิม

A
P1
B
P2
D

0 Q1 Q2 Q
รูป 2.2 การเปลี่ยนแปลงปริ มาณอุปสงค์

2.1.9 การเปลี่ยน แปลงเส้นอุปสงค์ (Change in demand)


การเปลีย่ นแปลงเส้นอุปสงค์ หมายถึง การเปลีย่ นแปลงความต้องการซื้อ
สินค้าโดยทีร่ าคาสินค้ามิได้เปลีย่ นไป แต่เป็ นการเปลีย่ นแปลงปจั จัยกาหนดความต้องการซื้อ
อื่น ๆ นอกเหนือจากราคาตัวใดตัวหนึ่งหรือหลายตัวที่เคยกาหนดให้คงที่ มีผลทาให้เส้นอุป
สงค์เปลีย่ นไปทัง้ เส้นโดยอาจเคลื่อนไปทางขวามือหรือทางซ้ายมือของอุปสงค์เส้นเดิมแล้วแต่
กรณี

EC 103 25
P

D2
D1

P1 A A1
B B1
P2

0 Q
QA QB QA1 QB1

รูป 2.3 การเปลีย่ นแปลงของเส้นอุปสงค์

จากรูป 2.3 จะเห็นได้ว่า ณ ระดับราคา OP1บนเส้นอุปสงค์เส้นเดิมคือ D1


ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าจะเท่ากับ OQA เมื่อปจั จัยอื่น ๆ ที่เคยกาหนดให้คงที่ เกิด
เปลีย่ นแปลงไป เช่นรายได้สูงขึน้ หรือ ค่าใช้จ่ายในการโฆษณาประชาสัมพันธ์สนิ ค้าชนิดนี้
เพิม่ ขึน้ หรือราคาสินค้าที่ใช้ประกอบกันลดลง หรือมีการเปลี่ยนแปลงปจั จัยเหล่านี้ไปพร้อม ๆ
กัน มีผลทาให้ปริมาณความต้องการซือ้ สินค้าชนิดนี้สูงขึน้ จาก OQA มาเป็ น OQA1 คือเปลีย่ น
จากจุด A มาเป็นจุด A1 ทัง้ ๆทีร่ าคาสินค้าชนิดนี้มไิ ด้เปลีย่ นแปลงจาก O P1 เลย ในทานอง
เดียวกัน ณระดับราคา O P 2 เมื่อ ปจั จัย บางตัว หรือ หลายตัว ที่เ ราเคยก าหนดให้ค งที่เ กิด
เปลี่ยนแปลงไป ทาให้ปริมาณความต้องการซือ้ สินค้าเปลี่ยนแปลงไปจาก OQB เป็ น OQB1
คือเปลี่ยนจากจุด B มาเป็ นจุด B1 บนเส้นอุปสงค์เส้นใหม่คอื D2 จึงเห็นได้ว่าเส้นอุปสงค์
เปลีย่ นแปลงไปทัง้ เส้น (จาก D1เป็น D2) เป็ นการเปลีย่ นแปลงเนื่องจากปจั จัยทีเ่ คยกาหนดให้
คงทีเ่ กิดเปลีย่ นแปลงไป แม้ว่าราคาสินค้าจะไม่เปลีย่ นแปลงก็ตาม

26 EC 103
2.1.10 ปัจจัยที่ทาให้เส้นอุปสงค์เปลี่ยนแปลง
จากที่ได้กล่าวมาแล้วว่าเส้นอุ ปสงค์จะเปลี่ยนแปลง เมื่อปจั จัยอื่น ๆ ที่ไม่ใช่
ราคาซึ่งเคยก าหนดให้ค งที่เ กิดเปลี่ยนแปลงไป เช่ น ราคาสิ น ค้าอื่นที่เ กี่ยวข้อ ง รายได้
รสนิยม จานวนประชากร ค่าใช้จ่ายในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ฯลฯ เราสามารถอธิบาย
ลักษณะการเปลีย่ นแปลงได้ดงั นี้
1) ราคาสิ นค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง เมือ่ ราคาสินค้าชนิดอื่นทีเ่ กี่ยวข้องกับสินค้าที่
เรากาลังพิจารณาอยูเ่ กิดเปลีย่ นแปลงไป ย่อมมีผลทาให้ปริมาณความต้องการซือ้ สินค้าชนิดที่
ก าลัง พิจารณาอยู่น้ี เ ปลี่ยนแปลงไปด้ว ย แม้ว่ าราคาของสิน ค้าชนิ ดที่ก าลังพิจ ารณามิไ ด้
เปลีย่ นแปลงไป อุปสงค์ของสินค้าจะเปลีย่ นไปในทางเพิม่ ขึน้ หรือลดลงขึน้ อยู่กบั ลักษณะของ
สินค้าทีเ่ กีย่ วข้องนัน้ ว่าเป็นสินค้าทีส่ ามารถใช้ทดแทนกันได้หรือเป็นสินค้าทีใ่ ช้ประกอบกัน
(1) สิ นค้ าทดแทนกัน (Substitution goods) ถ้ากาหนดให้สงิ่ อื่นๆ
คงที่ เมือ่ ราคาสินค้าชนิดหนึ่งเปลีย่ นแปลงไป ย่อมมีผลให้ความต้องการซือ้ สินค้าทีส่ ามารถใช้
ทดแทนกันได้เปลีย่ นแปลงไปด้วย เช่น เมือ่ ราคาเนื้อไก่ (PB )สูงขึน้ จาก กฏของอุปสงค์ย่อม
ทาให้ความต้องการซือ้ เนื้อไก่ (QB)ลดลง แต่เนื่องจากเนื้อไก่และเนื้อหมูสามารถใช้ทดแทนกัน
ได้ ดังนัน้ เมื่ออุปสงค์ในเนื้อไก่ลดลงย่อมมีผลทาให้ปริมาณความต้องการซื้อเนื้อหมู (QA)
เพิม่ ขึ้นเส้นอุปสงค์ของเนื้อหมูเลื่อนไปทางขวา ในทานองตรงกันข้ามเมื่อราคาเนื้อไก่ (PB )
ลดลง ย่อมมีผลทาให้ความต้องการซื้อเนื้อหมู (QA) ลดลงด้วยทาให้เส้นอุปสงค์ของเนื้อหมู
เลื่อนไปทางซ้าย

PB QB QA
PB QB QA

(2) สิ น ค้ า ที่ ต้อ งใช้ ป ระกอบกัน (Complementary goods) เมื่อ


กาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ ถ้าราคาสินค้าทีใ่ ช้ประกอบกันชนิดหนึ่งสูงขึน้ ย่อมมีผลทาให้ความ
ต้องการซื้อสินค้าที่ใช้ประกอบกันอีกชนิดหนึ่งลดลงไปด้วยเช่น เมื่อราคาไม้เทนนิส (PB )
สูงขึ้น ตามกฏของอุปสงค์ทาให้ความต้องการซื้อไม้เทนนิส (QB) ลดลงซึ่งมีผลต่อไปยังลูก
เทนนิส ซึ่งเป็ นสินค้าทีใ่ ช้ประกอบกับไม้เทนนิส มีปริมาณความต้องการซือ้ (QA)ลดลงตามไป
ด้วย เส้นอุปสงค์ของลูกเทนนิสเลื่อนไปทางซ้าย ในทางตรงกันข้าม ถ้าราคาไม้เทนนิส (PB )

EC 103 27
ลดต่าลง ย่อมมีผลให้ปริมาณความต้องการซือ้ ลูกเทนนิส (QA) เพิม่ สูงขึน้ ด้วยเส้นอุปสงค์ของ
ลูกเทนนิสจึงเลื่อนไปทางขวา
PB QB QA
PB QB QA

2) รายได้ เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงไปและกาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ ย่อมมี


ผลท าให้ปริม าณความต้อ งการซื้อ สิน ค้า เปลี่ย นแปลงไปด้ว ย แต่ ก ารเปลี่ย นแปลงความ
ต้องการซือ้ สินค้าจะเป็ นไปในทิศทางใดนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ลักษณะของสินค้านัน้ ๆ
(1) สิ นค้ าปกติ (Normal goods) เมื่อรายได้สูงขึน้ ความต้องการซื้อ
สินค้าย่อมสูงตามไปด้วย (เส้นอุปสงค์เลื่อนไปทางขวา) ในทานองตรงกันข้าม เมื่อรายได้ลดลง
ความต้องการซือ้ สินค้าย่อมลดลงตามไปด้วย (เส้นอุปสงค์เลื่อนไปทางซ้าย)

Y QA
Y QA

(2) สิ นค้ าด้ อยคุณ ภาพ (Inferior goods) เป็ นสินค้าที่ผู้บริโภคจะ


บริโ ภคเฉพาะเมื่อ มีรายได้ต่ า เมื่อ ใดที่มรี ายได้สูงขึ้นก็จะหัน ไปบริโภคสิน ค้า ชนิ ดอื่นที่ม ี
คุณภาพดีกว่าแทน ดังนัน้ ในกรณีน้ีรายได้จะมีความสัมพันธ์ในทางตรงกันข้ามกับปริมาณ
ความต้องการซือ้ สินค้า นัน่ คือเมื่อรายได้สูงขึน้ ความต้องการซือ้ น้อยลง (เส้นอุปสงค์เลื่อนไป
ทางซ้าย) และเมือ่ รายได้ต่าลงความต้องการซือ้ จะสูงขึน้ (เส้นอุปสงค์เลื่อนไปทางขวา)

Y QA
Y QA

28 EC 103
3) รสนิ ยม การเปลี่ย นแปลงรสนิ ย มย่อ มมีผ ลกระทบต่ อ ปริม าณความ
ต้องการซือ้ สินค้า ถ้ากาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ เมือ่ ประชาชนมีรสนิยมในการบริโภคสินค้าชนิด
ใดชนิ ด หนึ่ ง ย่อ มท าให้ป ริม าณความต้ อ งการสิน ค้า ชนิ ด นี้ สูง ขึ้น (เส้น อุ ป สงค์เ ลื่อ นไป
ทางขวา) แม้ว่าราคาสินค้าชนิดนัน้ มิได้เปลีย่ นแปลงไปเลย ในทานองตรงกันข้าม เมื่อผูบ้ ริโภค
มีรสนิยมในการบริโภคสินค้าชนิดนัน้ น้อยลงย่อมมีผลให้ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าชนิด
นัน้ ลดลงด้วย (เส้นอุปสงค์เลื่อนไปทางซ้าย)

T QA

T QA

4) จานวนประชากร เมื่อประชากรมีจานวนที่เปลี่ยนแปลงไปย่อมมีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าด้วย กล่าวคือ ถ้ากาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่
เมื่อจานวนประชากรเพิม่ ขึน้ ความต้องการซือ้ สินค้าย่อมเพิม่ สูงตามไปด้วย (เส้นอุปสงค์เลื่อน
ไปทางขวา) ในทางตรงกันข้ามเมื่อ จานวนประชากรลดต่ าลงย่อมมีผลให้ความต้องการซื้อ
สินค้าลดต่าลงไปด้วย (เส้นอุปสงค์เลื่อนไปทางซ้าย)

Pop QA
Pop QA

5) ค่ า ใช้ จ่ า ยในการโฆษณา เมื่อ ผู้ผ ลิต หรือ ผู้ข ายมีก ารใช้จ่า ยเพื่อ การ
โฆษณาประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภค รูจ้ กั สินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งมากขึ้น ย่อมมีผลให้ปริมาณ
ความต้องการซือ้ สินค้าชนิดนัน้ ๆ เพิม่ สูงขึน้ (เส้นอุปสงค์เลื่อนไปทางขวา) ในทางตรงกันข้าม
ถ้าผู้ขายลดค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ลง ย่อมมีผลให้ความต้องการซื้อสินค้าชนิดนัน้ ๆ ลดต่ าลง
ด้วย (เส้นอุปสงค์เลื่อนไปทางซ้าย)

Ad QA
Ad QA

EC 103 29
2.1.11 อุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ตลาด (Individual Demand and
Market Demand)
อุปสงค์ส่วนบุคคล หมายถึง ความต้องการซือ้ สินค้าหรือบริการชนิด
ใดชนิดหนึ่งของผูบ้ ริโภคคนใดคนหนึ่ง ณ ระดับราคาใดราคาหนึ่ง ในเวลาใดเวลาหนึ่ง ส่วน
อุปสงค์ของตลาด หมายถึง ความต้องการซื้อสินค้าของผู้บริโภคทุกคนรวมกัน ณ ระดับ
ราคาใดราคาหนึ่ง ในเวลาใดเวลาหนึ่ง ถ้าสมมติว่าในตลาดมีผบู้ ริโภคเพียง 2 คน คือ นาย
ก. และนาย ข. เราสามารถหาอุ ปสงค์ข องตลาดได้โดยการรวมปริม าณการบริโภคของ
ผูบ้ ริโภคทุกคนรวมกัน ณ ระดับราคาต่าง ๆ กัน ดังแสดงในตาราง 2.2

ตาราง 2.2 อุปสงค์ ส่วนบุคคล และอุปสงค์ ตลาด


อุปสงค์ของ
ราคา อุปสงค์ของนาย ก. อุปสงค์ของนาย ข.
ตลาด
10 0 2 2
9 1 3 4
8 2 4 6
7 3 5 8
6 4 6 10
5 5 7 12

2.1.12 อุปสงค์ต่อรายได้และอุปสงค์ไขว้
อุปสงค์ท่ไี ด้กล่าวมาข้างต้น เรียกได้ว่าเป็ นอุ ปสงค์ต่อ ราคา (Price
demand) ซึง่ เป็ นปริมาณสินค้าที่ผบู้ ริโภคต้องการซือ้ ในเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคา ต่าง
ๆ กัน โดยกาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ ความสัมพันธ์ของปริมาณซือ้ และราคาจะเป็ นไปในทิศทาง
ตรงกันข้ามตามกฏของอุปสงค์ นอกจากอุปสงค์ต่อราคาแล้ว เรายังสามารถศึกษาอุปสงค์ต่อ
รายได้ และอุปสงค์ไขว้หรืออุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่นได้ดงั นี้
1) อุปสงค์ต่อรายได้ (Income demand)
อุปสงค์ต่อรายได้ หมายถึงปริมาณสินค้าที่มผี ู้ต้องการซื้อ ณ ระดับ
ต่าง ๆ กันของรายได้ โดยกาหนดให้สงิ่ อื่นๆ คงที่ เราอาจเขียนความสัมพันธ์ในรูปฟงั ก์ชนั ่
อุปสงค์ต่อรายได้ ดังนี้

30 EC 103
QA = f (Y)
QA = ปริมาณความต้องการซือ้ สินค้า A
Y = รายได้
ความสัมพันธ์ของปริมาณความต้องการซือ้ สินค้ากับรายได้จะมีลกั ษณะ
อย่างไร จะขึน้ อยูก่ บั ชนิดของสินค้านัน้ ๆ
(1) สิ นค้าปกติ (Normal goods) ในกรณีทส่ี นิ ค้าทีเ่ รากาลังพิจารณา
เป็ นสินค้าปกติ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความต้องการซือ้ สินค้าและรายได้จะเป็ นไปใน
ทิศทางเดียวกัน ถ้ากาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ กล่าวคือ เมื่อรายได้สูงขึน้ ความต้องการซือ้ จะ
เพิม่ สูงขึน้ ด้วย ในทางตรงกันข้าม เมื่อรายได้ต่ าลง ปริมาณความต้องการซื้อก็จะลดต่ าลง
ด้วย เส้นอุปสงค์จะมีลกั ษณะเป็ นเส้นทีล่ าดขึน้ จากซ้ายไปทางขวามีค่าความชันเป็ นบวก ดัง
จะเห็นจากรูป 2.4 เมื่อรายได้อยู่ท่ี OY1 ความต้องการซือ้ เท่ากับ OQ1 เมื่อรายได้สูงขึน้ เป็ น
OY2 ความต้องการซือ้ สินค้าชนิดนี้จะเพิม่ ขึน้ เป็น OQ2

รายได้
D

Y2

Y1

O Q1 Q2
ปริมาณสินค้า

รูป 2.4 เส้นอุปสงค์ต่อรายได้กรณี สินค้าปกติ

(2) สิ นค้าด้อยคุณภาพ (Inferior goods) ในกรณีท่ี สินค้าทีเ่ รา


กาลังพิจารณาเป็นสินค้าด้อยคุณภาพ ซึง่ ผูบ้ ริโภคจะบริโภคเฉพาะเมื่อมีรายได้ต่ าเท่านัน้ เมื่อ
มีรายได้สงู ขึน้ ก็จะไปบริโภคสินค้าทีม่ คี ุณภาพทีส่ ูงขึน้ แทน เส้นอุปสงค์จงึ มีลกั ษณะเป็ นเส้นที่
ลาดลงจากซ้ายไปขวามีค่าความชันเป็ นลบ ดังแสดงในรูป 2.5 จะเห็นได้ว่าเมื่อรายได้อยู่
ณ ระดับ OY1 ผูบ้ ริโภคจะซือ้ สินค้าด้อยคุณภาพจานวน OQ1 หน่ วย ต่อมาเมื่อรายได้สูงขึน้

EC 103 31
เป็น OY2 ผูบ้ ริโภคจะหันไปบริโภคสินค้าอื่น จึงทาให้ความต้องการซือ้ สินค้าชนิดนี้ลดลงเหลือ
OQ2 ความสัมพันธ์ระหว่างสินค้าด้อยคุณภาพกับรายได้จะเป็นไปในทิศทางตรงกันข้าม

รายได้

Y2

Y1
D
O ปริมาณสินค้า
Q2 Q1

รูป 2.5 เส้นอุปสงค์ต่อรายได้กรณี สินค้าด้อยคุณภาพ

2) อุปสงค์ไขว้ (Cross demand)


อุปสงค์ไขว้ หรืออุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น หมายถึงปริมาณสินค้าทีม่ ี
ผูต้ ้องการซือ้ ในขณะใดขณะหนึ่ง ณ ระดับต่างๆ กัน ของราคาสินค้าอีกชนิดหนึ่งทีเ่ กี่ยว ข้อง
กัน โดยกาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ เราอาจเขียนความสัมพันธ์ดงั กล่าวให้อยู่ในรูปฟงั ก์ชนอุ
ั ่ ปสงค์
ไขว้ ได้ดงั นี้
QA = f (PB)
QA = ปริมาณความต้องการซือ้ สินค้า A
PB = ราคาสินค้าอีกชนิดหนึ่งทีเ่ กีย่ วข้องกันในทีน่ ้ี
คือสินค้า B
ลักษณะความสัมพันธ์ของปริมาณความต้องการซื้อสินค้ากับราคาสินค้า
ชนิดอื่นขึน้ อยู่กบั ลักษณะความสัมพันธ์ของสินค้าทีเ่ รากาลังพิจารณาอยู่กบั สินค้าทีเ่ กี่ยวข้อง
นัน้ ๆ
(1) สิ นค้าที่ ใช้ ประกอบกัน (Complementary goods) ตัวอย่างของ
สินค้าที่ใช้ประกอบกันเช่น กาแฟกับน้ าตาล กล้องถ่ายรูปกับฟิ ล์ม ไม้เทนนิสกับ ลูก
เทนนิส เป็นต้น ความสัมพันธ์ของปริมาณความต้องการซือ้ สินค้ากับราคาสินค้าชนิดอื่นซึง่ เป็ น

32 EC 103
สินค้าทีใ่ ช้ประกอบกันจะเป็นไปได้ในทิศทางตรงกันข้ามกัน กล่าวคือ เมื่อราคาไม้เทนนิสสูงขึน้
ความต้องการซือ้ ไม้เทนนิสจะลดลงทาให้ความต้องการซือ้ ลูกเทนนิสลดลงไปด้วย เส้นอุปสงค์
ไขว้จะมีลกั ษณะเป็ นเส้นทีล่ าดลงมาจากซ้ายไปขวา มีค่าความชันเป็ นลบ ดังจะเห็นได้จาก
รูป 2.6 คือเมื่อราคาสินค้า B สูงขึน้ จาก PB1 เป็ น PB2 ความต้องการซื้อสินค้า A จะลดลง
จาก QA1 เป็น QA2

PB

PB2
PB1
DA
O QA
QA2 QA1

รูป 2.6 อุปสงค์ไขว้ของสิ นค้าทีใ่ ช้ ประกอบกัน

(2) สิ นค้าที่ใช้ทดแทนกัน (Substitution goods) ตัวอย่างของสินค้า


ทีใ่ ช้ทดแทนกัน เช่น น้ามันถัวเหลื่ องกับน้ามันเมล็ดทานตะวัน สบู่เหลวกับสบู่ก้อน เป็ นต้น
ความสัมพันธ์ของปริมาณความต้องการซือ้ กับราคาสินค้าทีเ่ กี่ยวข้องกันในลักษณะของการใช้
ทดแทนกัน จะเป็ นไปในทิศ ทางเดียวกัน กล่ า วคือ เมื่อ ราคาสินค้า B ลดต่ าลง ความ
ต้องการซือ้ สินค้า B จะเพิม่ สูงขึน้ ส่วนหนึ่งของปริมาณสินค้า B ที่เพิม่ ขึน้ นี้เป็ นผลมาจาก
การทีผ่ บู้ ริโภคหันมาใช้สนิ ค้า B ทดแทนสินค้า A ทีเ่ คยใช้เนื่องจาก A ไม่เปลีย่ นแปลงราคา
แต่ B มีราคาลดลงจึงทาให้ปริมาณความต้องการซือ้ สินค้า A ลดลง ดังจะเห็นได้จากรูป 2.7
เมื่อราคา B ลดต่ าลง จาก OPB1 มาเป็ น OPB2ทาให้ปริมาณความต้องการบริโภคสินค้า A
ลดลงจาก OQA1 มาเป็น OQA2

EC 103 33
PB DA
PB1
PB2

QA2 QA1 QA

รูป 2.7 อุปสงค์ไขว้ของสิ นค้าทีใ่ ช้ทดแทนกัน

2.2 อุปทาน (Supply)

2.2.1 ความหมาย
อุปทานหมายถึง ปริมาณ ความต้องการเสนอขายสินค้า ณ ระดับราคาใด
ราคาหนึ่ง ในเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยกาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่
2.2.2 ปัจจัยกาหนดอุปทาน
อุปทานหรือปริมาณการเสนอขายของผู้ขายหรือผู้ผลิต จะถูกกาหนด
โดยปจั จัยต่าง ๆ ดังนี้
1. ราคาสินค้าชนิดนัน้ (PA)
2. ราคาปจั จัยการผลิต (PB)
3. ต้นทุนการผลิต (C)
4. เทคโนโลยี (T)
5. ปจั จัยอื่น ๆ เช่น ธรรมชาติ (W)
2.2.3 ฟังก์ชนอุั ่ ปทาน (Supply function)
ฟงั ก์ชนอุ
ั ่ ปทาน แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของความต้องการเสนอ
ขายสินค้าและบริการกับปจั จัยทีก่ าหนดปริมาณความต้องการเสนอขาย เราสามารถเขียนใน
รูปแบบทางคณิตศาสตร์ได้ ดังนี้
SA = f ( PA , PB , C , T , W )

34 EC 103
ถ้าก าหนดให้ปจั จัยต่ าง ๆ ที่เ ป็ นตัว ก าหนดปริมาณเสนอขายคงที่
ทัง้ หมดยกเว้นราคาของสินค้า A เราจะได้สมการใหม่ คือ
SA = f ( PA )
จากสมการแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างราคาสินค้ากับปริมาณ
เสนอขายโดยกาหนดให้ปจั จัยอื่น ๆ คงที่
2.2.4 กฎของอุปทาน (Law of Supply)
กฏของอุปทานเป็ นกฏที่ว่าด้วยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างราคาสินค้า
กับปริมาณการเสนอขายสินค้า กฏนี้จะกล่าวว่า ปริมาณความต้องการขายสินค้าและราคา
สินค้ามีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ เมื่อกาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ ถ้าราคา
สินค้าสูงขึ้น ปริมาณการเสนอขายจะเพิ่มขึ้น และในทางตรงกันข้าม เมื่อ ราคาสินค้าลดลง
ปริมาณการเสนอขายก็จะลดลงไปด้วย
2.2.5 ตารางอุปทาน (Supply Schedule)
ตารางอุ ป ทาน เป็ น ตารางที่แสดงความสัมพันธ์ของราคาสิน ค้า และ
ปริมาณความต้องการเสนอขายสินค้า เมื่อกาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ ตารางอุปทานนี้จะบอกให้
เราทราบว่า ณ ระดับราคาต่าง ๆ กันในขณะใดขณะหนึ่ง ปริมาณความต้องการเสนอขาย
สินค้าจะเป็ นอย่างไร ดังแสดงให้เห็นในตาราง 2.3 เมื่อราคาสินค้าสูงขึน้ จากชิน้ ละ 2 บาท
เป็ น 4, 6, 8 และ 10 บาท จะทาให้ปริมาณความต้องการเสนอขายสินค้านัน้ เพิม่ สูงขึน้ จาก
20 ชิน้ เป็น 25, 30, 35, และ 40 ชิน้ ตามลาดับ โดยกาหนดให้ปจั จัยอื่น ๆ คงที่ ซึง่
เป็นไปตามกฏของอุปทาน

ตาราง 2.3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคาสิ นค้าและปริ มาณความ


ต้องการเสนอขายสิ นค้า

ราคา ปริ มาณเสนอขาย


2 20
4 25
6 30
8 35
10 40

EC 103 35
2.2.6 เส้นอุปทาน (Supply Curve)
เส้นอุปทาน หมายถึง เส้นทีแ่ สดงความสัมพันธ์ระหว่างราคาสินค้าและ
ปริมาณความต้องการขาย ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยกาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ จากตาราง 2.3
ข้างต้น เราสามารถนามาเขียนเส้นอุปทานได้ดงั รูป 2.8 จะเห็นได้ว่าเส้นอุปทานมีลกั ษณะเป็ น
เส้นทอดขึ้นจากซ้ายไปขวา แสดงให้เห็นว่าราคาสินค้าและปริมาณความต้องการเสนอขาย
สินค้ามีความสัมพันธ์กนั ในทิศทางเดียวกัน คือเมื่อราคาสินค้า A สูงขึน้ ความต้องการเสนอ
ขายสินค้า A สูงขึน้ ด้วย ซึง่ เป็นไปตามกฏของอุปทาน

PA
SA
P2

P1

0 QA
Q1 Q2

รูป 2.8 เส้นอุปทานของสิ นค้า A

2.2.7. การเปลี่ยนแปลงปริ มาณอุปทาน (Change in quantity supply)


การเปลี่ย นแปลงปริม าณเสนอขายหรือ การเปลี่ย นแปลงปริม าณ
อุปทาน หมายถึง สภาวะที่ปริมาณการเสนอขายสินค้าเปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจากราคา
สินค้านัน้ เปลีย่ นไป โดยทีป่ จั จัยกาหนดอุปทานอื่น ๆ คงที่ เป็ นการเปลีย่ นแปลงภายในเส้น
อุปทานเส้นเดียวกัน ดังจะเห็นในรูป 2.9 เดิมราคาสินค้าอยู่ท่ี OP1 ปริมาณการผลิตหรือ
การขายอยู่ท่ี OQ1 คือ อยู่ท่จี ุด A บนเส้นอุ ปทาน ต่อ มาเมื่อ ราคาสินค้าสูงขึ้นเป็ น OP 2
ปริมาณเสนอขายจะเพิม่ สูงขึน้ เป็ น OQ2 คือเปลี่ยนจากจุด A มาอยู่ท่จี ุด B บนเส้นอุปทาน

36 EC 103
เส้นเดิม เป็นการเปลีย่ นแปลงปริมาณการเสนอขายอันเนื่องมาจากราคาสินค้าเปลีย่ นไป โดย
ทีป่ จั จัยกาหนดอื่น ๆ คงที่
P S
P2 B
P1
A

O Q1 Q2 Q

รูป 2.9 การเปลีย่ นแปลงปริ มาณการเสนอขาย

2.2.8 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน (Change in Supply)


การเปลี่ย นแปลงเส้น อุ ป ทานหมายถึง สภาวะที่อุ ป ทานของสิน ค้า
เปลีย่ นแปลงไป อันเนื่องมาจากปจั จัยอื่น นอกจากราคาเปลีย่ นแปลงไป มีผลทาให้เส้นอุปทาน
เคลื่อนไปทัง้ เส้น จากรูป 2.10 จะเห็นได้ว่า ณ ระดับราคา OP1 บนเส้นอุปทานเส้นเดิม S1
ปริมาณเสนอขายเท่ากับ OQ1เมื่อปจั จัยอื่น ๆ ที่เคยกาหนดให้คงที่ เกิดเปลี่ยนแปลงไป
เช่น ค้นพบเทคโนโลยีการผลิตใหม่ท่ใี ช้ต้นทุนต่ าทาให้ปริมาณการเสนอขายเพิม่ ขึ้น จาก
OQ1 เป็น OQ2ทัง้ ๆ ทีร่ าคาสินค้าไม่เปลีย่ นจากราคาเดิมคือ OP1 เลย ในทานองเดียวกัน ณ
ระดับราคา OP2 ความต้องการเสนอขายก็จะเพิม่ ขึน้ จาก OQ3 เป็ น OQ4 จุดผลิตเปลีย่ นจาก
จุด A มาเป็ นจุด A1 ณ ระดับราคา OP1 และเปลีย่ นจากจุด B มาเป็ นจุด B1 ณ ระดับราคา
OP2 ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีการเปลีย่ นแปลงปริมาณการเสนอขายทุกระดับราคาอันเนื่องมาจาก
ปจั จัยก าหนดอื่น ๆ เปลี่ยนแปลงไป ทาให้เ ส้นอุ ปทานเปลี่ยนจาก เส้น S 1 มาเป็ น S 2
นับเป็นการเปลีย่ นเส้นอุปทานไปทัง้ เส้น

EC 103 37
P
S1 S2
P2 B B1
P1 A
A1

O Q1 Q2 Q4 Q
Q3

รูป 2.10 การเปลีย่ นแปลงเส้นอุปทาน

2.2.9 ปัจจัยที่ทาให้อปุ ทานเปลี่ยนแปลงไปทัง้ เส้น


จากทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วว่าเส้นอุปทานจะเปลีย่ นแปลงไปเมื่อปจั จัยอื่นๆ ทีไ่ ม่ใช่
ราคาซึ่งเคยกาหนดให้คงที่ เกิดเปลี่ยนแปลงไป เช่น เทคโนโลยีการผลิต ราคาปจั จัยการ
ผลิต ต้นทุนการผลิต สภาพดินฟ้าอากาศ ฯลฯ หากเราจะพิจารณาปจั จัยทีละชนิด โดย
กาหนดให้ปจั จัยอื่น ๆ คงที่ เราสามารถทาได้ดงั นี้

1) เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ถ้า มีก ารค้น พบเทคโนโลยีก ารผลิต แบบใหม่ ท่ี


สามารถให้ผลผลิตได้มากขึน้ จากการใช้ทรัพยากรเท่าเดิม ก็จะทาให้ อุปทานของสินค้านัน้
เพิม่ ขึน้ (เส้นอุปทานเลื่อนไปทางขวา) ในทางตรงกันข้ามถ้าเทคโนโลยีลา้ หลังก็จะทาให้อุปทาน
ลดต่าลง (เส้นอุปทานเลื่อนไปทางซ้าย)

T S
T S

2) ราคาปั จจัยการผลิ ต ราคาปจั จัยการผลิตที่สูงขึ้นย่อมมีผลทาให้ปริมาณ


การเสนอขายลดลง (เส้นอุปทานเลื่อนไปทางซ้าย)ในทางตรงกันข้าม ถ้าราคาปจั จัยการผลิต
ลดลง ปริมาณการเสนอขายก็จะเพิม่ สูงขึน้ (เส้นอุปทานเลื่อนไปทางขวา)

38 EC 103
PF S
PF S

3) ต้นทุนการผลิ ต หากมีเหตุการณ์ใดๆ ทีท่ าให้ต้นทุนการผลิตเปลีย่ นแปลง


ไป ย่ อ มท าให้อุ ป ทานของสิน ค้า ชนิ ด นั น้ เปลี่ย นแปลงไปในทิศ ทางตรงกัน ข้า มกับ การ
เปลี่ยนแปลงของต้นทุนนัน้ ๆ เช่น ต้นทุนสูงขึ้น ทาให้ความต้องการผลิตสินค้าลดลง (เส้น
อุทานเลื่อนไปทางซ้าย)

C S
C S

4) สภาพดิ นฟ้ าอากาศ หากปี ใดสภาพดินฟ้าอากาศเอื้ออานวยก็จะมีผลให้


อุปทานโดยเฉพาะสินค้าเกษตรมีมาก (เส้นอุปทานเลื่อนไปทางขวา)แต่ถ้าสภาพดินฟ้าอากาศ
ไม่เอือ้ อานวย เกิดอุทกภัย วาตภัย หรือภัยธรรมชาติต่าง ๆ ย่อมมีผลให้อุปทานของสินค้า
เกษตรน้อยลง (เส้นอุปทานเลื่อนไปทางซ้าย)

W S
W S

2.2.10 อุปทานของหน่ วยผลิ ตและอุปทานของตลาด


อุ ปทานของหน่ ว ยผลิต หมายถึง ปริมาณต่ าง ๆของสินค้าที่ห น่ ว ยผลิต
หน่ วยใดหน่ วยหนึ่ง ผลิตขึน้ มาหรือเสนอขาย ณ ระดับราคาสินค้าในขณะใดขณะหนึ่ง โดย
กาหนดให้สงิ่ อื่น ๆ คงที่ และเมื่อรวมปริมาณการเสนอขายของหน่ วยผลิตทุกหน่ วย ณ แต่
ละระดับราคาก็จะได้อุปทานของตลาด ดังแสดงในตาราง 2.4

EC 103 39
ตาราง 2.4 อุปทานของหน่ วยผลิ ตและอุปทานของตลาด
อุปทานของ
ราคา อุปทานของ ก. อุปทานของ ข. อุปทานของ ค.
ตลาด
2 10 0 5 15
3 15 10 20 45
4 20 20 30 70
5 25 30 40 95
6 30 40 50 120

2.3 ภาวะดุลยภาพ (Equilibrium)

จากทีก่ ล่าวในตอนต้นจะเห็นได้ว่า ปริมาณความต้องการซื้อสินค้ามีความสัมพันธ์ใน


ทิศทางตรงกันข้ามกับราคาสินค้า ขณะที่ปริมาณความต้องการขายสินค้า มีความสัมพันธ์ใน
ทิศทางเดียวกันกับราคาสินค้า นันคื
่ อ ผูซ้ อ้ื ยินดีจะซือ้ สินค้าในจานวนทีม่ ากขึน้ ถ้าราคาสินค้า
ต่ าลงและจะซือ้ สินค้าน้อยลงถ้าราคาสินค้าสูงขึน้ ในขณะเดียวกันผู้ขายยินดีเสนอขายสินค้า
ในจานวนทีน่ ้อยลงถ้าราคาสินค้าต่ าลง และเสนอขายสินค้าในจานวนทีม่ ากขึน้ ถ้าราคาสินค้า
สูง ขึ้น ดัง นั น้ ณ ระดับ ราคาใดราคาหนึ่ ง ปริม าณเสนอซื้อ และปริม าณเสนอขายไม่
จาเป็นต้องเท่ากัน จะมีราคาสินค้าเพียงราคาเดียวและปริมาณสินค้าเพียงปริมาณเดียวเท่านัน้
ทีจ่ ะทาให้ปริมาณเสนอซือ้ และ ปริมาณเสนอขายเท่ ากันพอดี เราเรียกระดับราคาและปริมาณ
ดังกล่าวว่า ราคาดุลยภาพ (Equilibrium price) และปริมาณดุลยภาพ (Equilibrium quantity)
และเรียกสภาวะนัน้ ว่าภาวะดุลยภาพ
2.3.1 ดุลยภาพของตลาด (Market equilibrium)
ดุลยภาพของตลาด หมายถึงสภาพสมดุลที่เกิดขึน้ ณ ระดับราคาทีผ่ ู้ซอ้ื และ
ผูข้ ายตกลงซือ้ ขายแล้ว ปริมาณเสนอซือ้ เท่ากับปริมาณเสนอขายพอดี

40 EC 103
P D S

PE E
S D
O QE Q

รูป 2.11 ดุลยภาพของตลาด


ถ้าให้ DD คือเส้นอุปสงค์ของตลาดสินค้าชนิดหนึ่งซึง่ เป็ นสินค้าปกติ เป็ นเส้น
ที่ลาดลงจากซ้ายไปขวา มีค่าความชันเป็ นลบ SS คือเส้นอุปทานของตลาดสินค้าชนิด
เดียวกันนี้ เป็นเส้นทีล่ าดขึน้ จากซ้ายไปขวา เส้นอุปสงค์และอุปทานของตลาดตัดกันที่ จุด E
จุด E นี้เรียกว่าจุดดุลยภาพ OPE คือราคาดุลยภาพ ซึง่ เป็ นระดับราคาทีป่ ริมาณเสนอซือ้
ทัง้ หมดในตลาดเท่ากับปริมาณเสนอขายทัง้ หมดในตลาด OQE คือปริมาณดุลยภาพ เป็ น
ปริมาณสินค้า ณ ระดับ ทีป่ ริมาณเสนอซือ้ ทัง้ หมดในตลาดเท่ากับปริมาณเสนอขายพอดี
2.3.2 อุปทานส่วนเกิ น (Excess supply) หรืออุปสงค์ส่วนขาด (Demand-
shortage)
ในบางกรณีท่รี ะดับราคาอยู่สูง กว่ าราคาดุ ล ยภาพ จะเกิด ปญั หาปริมาณ
เสนอซือ้ และปริมาณเสนอขายที่ไม่เท่ากัน ตัวอย่างเช่นจากรูป 2.12เส้นอุปสงค์และอุปทาน
ตัดกันที่จุด E ราคาดุลยภาพคือ OPE ปริมาณดุลยภาพคือ OQE ณ ระดับราคา OP1
ปริมาณเสนอซือ้ คือ P1A ปริมาณเสนอขายคือ P1B ความต้องการขายมีมากกว่าความต้องการ
ซือ้ เท่ากับ AB ดังนัน้ AB คือปริมาณสินค้าทีเ่ หลือขายหรือทีเ่ รียกว่าอุปทานส่วนเกินหรืออุป
สงค์ส่วนขาด

EC 103 41
P S
P1 A B
PE E

D
O QE Q

รูป 2.12 อุปทานส่วนเกิ น

ถ้าปล่อยให้กลไกราคาทางานอย่างเต็มที่ เมื่อเกิดอุปทานส่วนเกินหรืออุป
สงค์ส่ ว นขาด จะทาให้ผู้ผ ลิต บางรายยอมลดราคาสินค้าลง เมื่อ ราคาสินค้าลดลงก็ทาให้
ผู้บริโภคบางคนยอมซื้อสินค้าเพิม่ ขึ้น อุปทานส่วนเกินก็จะค่อย ๆ ปรับลดลง จนในที่สุ ด
อุปทานส่วนเกินจะหายไป ปริมาณเสนอขายเท่ากับปริมาณเสนอซือ้ หรืออยู่ในภาวะดุลยภาพ
พอดี
2.3.3 อุปสงค์ส่วนเกิ น (Excess demand) หรืออุปทานส่วนขาด (Supply-
shortage)
ในกรณีท่รี ะดับราคาอยู่ต่ ากว่ าราคาดุล ยภาพ ทาให้ปริมาณเสนอซื้อ และ
ปริมาณเสนอขายทีไ่ ม่เท่ากัน ดังเช่น ตัวอย่างในรูป 2.13 เส้นอุปสงค์และอุปทานตัดกันทีจ่ ุด
E ราคาดุลยภาพคือ OPE ปริมาณดุลยภาพคือ OQE ณ ระดับ OP2 ปริมาณเสนอซือ้ คือ
P2F ปริมาณเสนอขายคือ P2C ความต้องการซือ้ มีมากกว่าความต้องการขายเท่ากับ CF
ดังนัน้ CF คือ อุปสงค์ส่วนเกินหรืออุปทานส่วนขาด

42 EC 103
P
S

PE E
P2
C F
D
O QE Q

รูป 2.13 อุปสงค์ส่วนเกิ น

ถ้าปล่อยให้กลไกราคาทางานอย่างเต็มที่ จะมีการปรับตัวโดยอัตโนมัติ คือ


เมื่อเกิดภาวะอุปสงค์ส่วนเกินหรือขาดแคลนสินค้า ผู้บริโภคบางรายก็จะยอมซื้อในราคาที่
สูงขึ้น เมื่อราคาสูงขึ้นผู้ขายบางรายจะยอมขายสินค้ามากขึ้นทาให้อุปสงค์ส่วนเกินค่อย ๆ
ปรับตัวลดลงจนหมดไป ปริมาณเสนอขายจะเท่ากับปริมาณเสนอซือ้ พอดี คือจะปรับตัวจน
เข้าสู่ภาวะดุลยภาพพอดี
2.3.4 การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ
จากทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วว่าภาวะดุลยภาพจะเกิดขึน้ ณ ระดับทีป่ ริมาณเสนอซือ้
เท่ากับปริมาณเสนอขายพอดี หรือเกิดขึน้ เมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานพอดี ดังนัน้ ภาวะดุลยภาพ
จึงอาจเปลีย่ นแปลงได้ เมือ่ เกิดการเปลีย่ นแปลงในเส้นอุปสงค์หรืออุปทาน หรือทัง้ สองเส้น
1) การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพอันเนื่ องมาจากการเปลี่ยนแปลงเส้น
อุปสงค์
จากรูป 2.14 เดิม SS คือเส้นอุปทานของสินค้า DD คือเส้นอุปสงค์ของ
สินค้า เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานตัดกันทีจ่ ุด E ราคาดุลยภาพคือ OPE ปริมาณดุลยภาพคือ
OQE

EC 103 43
P S
D1
D E1
PE1
PE D2 E
E2 D1
PE2
S D
D2
QE2 QE Q
QE1
รูป 2.14 การเปลีย่ นแปลงของดุลยภาพอันเนื อ่ งมาจากการเปลีย่ นแปลงเส้นอุปสงค์

ถ้ามีปจั จัยที่กาหนดอุปสงค์เปลีย่ นแปลงไป เช่น ระดับรายได้สูงขึน้ ทาให้เส้น


อุปสงค์เปลีย่ นแปลงจากเส้น DD มาเป็ นเส้น D1 D1 จุดดุลยภาพจะเปลีย่ นจากจุด E มาเป็ น
จุด E1 ทาให้ปริมาณดุลยภาพเปลีย่ นจาก OQE มาเป็ น OQE1 และราคาดุลยภาพเปลีย่ นจาก
OPE มาเป็น OPE1
การเปลีย่ นแปลงของเส้นอุปสงค์ นอกจากจะเลื่อนสูงขึน้ ไปทางขวามือดังทีไ่ ด้
กล่าวมาแล้วในกรณีทร่ี ายได้สูงขึน้ เส้นอุปสงค์อาจเลื่อนต่ าลงมาทางซ้ายมือได้หากมีปจั จัยที่
กาหนดอุปสงค์บางตัวเปลี่ยนแปลงไป เช่น ค่ าใช้จ่ายในการโฆษณาลดลง รายได้ลดลง
หรือรสนิยมลดลง ย่อมมีผลทาให้เส้นอุปสงค์ลดลงจากเส้น DD มาเป็ น D2 D2จุดดุลยภาพจะ
เปลีย่ นเป็นจุด E2 ราคาและปริมาณดุลยภาพเปลีย่ นเป็นจุด OPE2 และ OQE2 ตามลาดับ
2) การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพอันเนื่ องมาจากการเปลี่ยนแปลงเส้น
อุปทาน
จากรูป 2.15 เดิม SS คือเส้นอุปทานของสินค้า DD คือเส้นอุปสงค์ของ
สินค้า เส้นอุปทานและอุปสงค์ตดั กันทีจ่ ดุ E ราคาดุลยภาพคือ OPE ปริมาณดุลยภาพคือ OQE

44 EC 103
P S2
S
D
PE2
E2 S1
PE E
PE1 S2 E1
S
S1 D

O QE2 QE QE1 Q

รูป 2.15 การเปลีย่ นแปลงภาวะดุลยภาพอันเนื อ่ งมาจากการเปลีย่ นแปลงเส้นอุปทาน

หากมีป จั จัย บางตัว ที่ ก าหนดอุ ป ทานเปลี่ย นแปลงไปเช่ น มีก ารค้ น พบ


เทคโนโลยีใหม่ทท่ี าให้สามารถผลิตสินค้าได้คุณภาพดีขน้ึ มีผลให้เส้น อุปทานเปลีย่ นจากเส้น
SS มาเป็ นเส้น S1 S1 จุดดุลยภาพจะเปลีย่ นจากจุด E มาเป็ นจุด E1 ราคาและปริมาณดุลย
ภาพเปลีย่ นจาก OPE และ OQE มาเป็น OPE1 และ OQE1 ตามลาดับ
นอกจากนี้บางครัง้ เส้นอุปทานอาจเลื่อนไปทางซ้ายมือทัง้ เส้นได้ เช่น กรณี
เกิดภัยธรรมชาติ ทาให้ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรลดลงมีผลทาให้เส้นอุปทานเลื่อนจาก
เส้น SS เป็น S2 S2 จุดดุลยภาพเปลีย่ นจากจุด E มาเป็น E2 ราคาดุลยภาพ และปริมาณดุลย
ภาพเปลีย่ นจาก OPE และ OQE มาเป็น OPE2 และ OQE2 ตามลาดับ
3) การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงเส้ นอุปสงค์
และเส้ นอุปทาน
บางครัง้ เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานอาจเปลีย่ นแปลงไปพร้อม ๆ กันทาให้
ภาวะดุลยภาพเปลีย่ นแปลงไปด้วย ดังจะเห็นได้จากรูป 2.16

EC 103 45
P
D
D1 S
S1
PE E

PE1 E1
S D
S1 D1
O QE QE1 Q

รูป 2.16 การเปลีย่ นแปลงภาวะดุลยภาพอันเนื อ่ งมาจากการเปลีย่ นแปลงเส้นอุปสงค์


และเส้นอุปทาน

เดิมเส้นอุปสงค์ DD ตัดกับเส้นอุปทาน SS ที่จุด E ราคาและปริมาณดุลย-


ภาพจะอยู่ท่ี OPE และ OQE ต่อมามีปจั จัยบางชนิดเปลีย่ นแปลงไป ทาให้เส้นอุปสงค์และ
อุปทานเปลีย่ นแปลงจากเส้นเดิมมาเป็ นเส้น D1 D1 และ S1 S1 ตามลาดับ จุดดุลยภาพจะ
เปลีย่ นจากจุด E มาเป็ นจุด E1 ปริมาณและราคาดุลยภาพจะเปลีย่ นจาก OQE และ OPE มา
เป็น OQE1 และ OPE1 ตามลาดับ

2.4 การนาวิ ธีการวิ เคราะห์ดลุ ยภาพไปประยุกต์ใช้ในกรณี ต่าง ๆ

การศึก ษาเรื่อ งดุ ล ยภาพที่ไ ด้ก ล่ า วไปในข้า งต้ น แล้ว นั น้ สามารถน ามา
ประยุกต์ใช้วเิ คราะห์นโยบายต่าง ๆ ของรัฐบาลทีไ่ ด้เข้าแทรกแซงการทางานของกลไกราคา
โดยมีวตั ถุประสงค์ท่จี ะช่วยเหลือบุคคลกลุ่มต่าง ๆ เช่น เกษตรกร แรงงาน ผู้บริโภค ฯลฯ
เป็ นต้น นโยบายที่รฐั บาลใช้แทรกแซงกลไกราคาตลาดได้แก่ นโยบายการกาหนดราคาขัน้

46 EC 103
ต่า เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มผูใ้ ช้แรงงานซึง่ ไม่มอี านาจต่อรองในเรื่องราคาสินค้า
เกษตรและค่าจ้างแรงงาน นโยบายการกาหนดราคาขัน้ สูงเพื่อป้องกันมิให้ผบู้ ริโภคเดือดร้อน
จากการซือ้ สินค้าทีจ่ าเป็นในราคาทีส่ งู และนโยบายการเก็บภาษีสนิ ค้าเพื่อพิจารณาภาระภาษี
ว่ามีผลต่อผูข้ ายหรือผูซ้ อ้ื มากน้อยเพียงไร

2.4.1 นโยบายการกาหนดราคาขัน้ ตา่ (Minimum price policy)


นโยบายการกาหนดราคาขัน้ ต่ า เป็ นนโยบายทีม่ ุ่งช่วยผูผ้ ลิตให้สามารถขาย
สินค้าได้สูงขึน้ มักใช้อยู่ทงั ้ ในตลาดสินค้าโดยเฉพาะอย่างยิง่ สินค้าเกษตร และตลาดปจั จัย
การผลิตเช่น ตลาดแรงงาน เนื่องจากตลาดเหล่านี้ ผู้ผลิตหรือเจ้าของปจั จัยการผลิตไม่ม ี
อิทธิพลในการกาหนดราคา และมีปจั จัยบางอย่างทีท่ าให้ต้องยอมขายสินค้าในราคาทีค่ ่อนข้าง
ต่าจากความไม่สมบูรณ์ของตลาดดังกล่าว หากปล่อยให้ก ลไกตลาดทางานโดยเสรีแล้ว จะมี
ผลให้ราคาดุลยภาพอยูใ่ นระดับทีค่ ่อนข้างต่ า ก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมในสังคม รัฐบาลจึง
ต้องเข้ามาแทรกแซงกลไกตลาดโดยการกาหนดราคาขัน้ ต่า
1) การประกันราคาขัน้ ตา่
สินค้าเกษตรโดยทัวไปจะมี
่ ราคาโดยเปรียบเทียบต่ ากว่าราคาสินค้าชนิด
อื่นทีเ่ กษตรกรต้องซือ้ หามาบริโภคและเพื่อการผลิต ทัง้ นี้เนื่องจากตัวสินค้าเกษตรมีลกั ษณะ
เป็ นสินค้าที่เน่ าเสียง่าย น้ าหนักมากมีขนาดใหญ่กนิ พืน้ ที่ ในด้านการผลิตก็ต้องพึง่ ธรรมชาติ
ไม่สามารถเปลี่ยน แปลงปริมาณการผลิตได้รวดเร็ว ตัวเกษตรกรก็มหี นี้สนิ มาก ไม่อาจรอ
เวลาการขายสินค้าจนกว่าราคาจะสูงได้ ทาให้อานาจต่อรองมีน้อย สินค้าจึงขายได้ราคาต่ า
ยิง่ ปีใดทีม่ อี ุปทานออกมามาก หรือ อุปสงค์ลดลงอย่างกระทันหัน ปริมาณสินค้าจะออกมาล้น
ตลาดเกิดอุปทานส่วนเกิน ทาให้ราคาสินค้าลดต่ าลงมากจนเกิดความเดือดร้อน รัฐบาลจึง
ต้องเข้าแทรกแซงโดยการประกันราคาขัน้ ต่า
จากรูป 2.17 ถ้าเราปล่อยให้กลไกราคาดาเนินไปเองระดับราคาสินค้าที่
เกษตรกรขายได้จะเท่ากับ OPE ในปริมาณ OQE ถ้ารัฐบาลเห็นว่าระดับราคา OQE เป็ นราคาที่
ต่ าเกินไปจนเกษตรกรเดือดร้อน รัฐบาลจะประกาศราคาประกันให้เท่ากับ OP1 ณ ระดับราคา
ประกันนี้จะมีผู้เสนอซื้อเพียง OQ1 ขณะที่มผี ู้เสนอขายเป็ นจานวนถึง OQ2 เกิดอุปทาน
ส่วนเกินหรือสินค้าเหลือขายจานวน Q1 Q2
เมื่อ มีอุ ปทานส่ วนเกินเกิด ขึ้นรัฐบาลต้อ งมีมาตรการที่จะรองรับปญั หา
ดังกล่าวซึง่ วิธกี ารทีจ่ ะขจัดอุปทานส่วนเกินสามารถทาได้โดยการลดอุปทานให้ต่ าลง หรือเพิม่

EC 103 47
อุปสงค์ให้สงู ขึน้ หรือใช้ทงั ้ สองมาตรการควบคู่กนั ไป สาหรับมาตรการในการลดอุปทานอาจ
ทาได้ในระยะยาวโดยการจากัดพืน้ ทีเ่ พาะปลูกพืชทีม่ อี ุปทานส่วนเกินของเกษตรกรให้น้อยลง
และส่งเสริมการผลิตพืชผลประเภท อื่น ๆ แทน แต่ในระยะสัน้ การลดอุปทานไม่อาจทาได้
เนื่อ งจากสินค้าเกษตรต้อ งใช้เ วลาผลิต ที่ยาวนาน ผลผลิต กาลังออกสู่ต ลาดจึงไม่อ าจลด
อุปทานได้ ดังนัน้ รัฐบาลจึงต้องใช้วธิ กี ารเพิม่ อุปสงค์ให้สูงขึ้น โดยการช่วยหาตลาดทัง้ ใน
ประเทศและต่ า งประเทศ หรือ รัฐ บาลรับ ซื้อ ผลผลิต ส่ ว นเกิน เสีย เอง โดยการน าเงิน
งบประมาณส่วนหนึ่งไปรับซือ้ อุปทานส่วนเกินทัง้ หมด คือ จานวน Q1 Q2 ในราคา OP1 หรือ
อาจให้เงินอุดหนุ นต่อหน่ วย คือถ้าจะขายสินค้าหมดจานวน OQ2 ผู้ซ้อื จะยอมซื้อในราคา
หน่ วยละ OP2 แต่รฐั บาลตัง้ ราคาประกันไว้หน่ วยละ OP1 ดังนัน้ รัฐบาลจะต้องช่วยอุดหนุ น
ให้แก่เกษตรกรอีกหน่วยละ P2 P1 การดาเนินนโยบายนี้ ส่วนหนึ่งเพื่อแก้ไขความไม่เท่าเทียม
กันในสังคมนันเอง

2) การกาหนดอัตราค่ าจ้ างขั้นต่า
นโยบายการกาหนดอัตราค่าจ้างขัน้ ต่ า เป็ นนโยบายทีใ่ ช้กนั โดยทัวไปเพื
่ ่อ
ช่ว ยเหลือ แรงงานที่มอี านาจต่ อ รองค่ อ นข้างต่ า ประเทศไทยจะก าหนดค่ าจ้า งขัน้ ต่ าโดย
คณะกรรมการทีป่ ระกอบไปด้วย ตัวแทนนายจ้าง ตัวแทนลูกจ้าง นักวิชาการ และรัฐบาล
P
S

P1 E1

PE E
D1
P2

O Q1 QE Q2 Q

รูป 2.17 การประกันราคาสินค้ าเกษตร

48 EC 103
จากรูป 2.18 เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานของแรงงานตัดกันทีจ่ ุดดุลยภาพ
คือจุด E ค่าจ้างและปริมาณการจ้าง ณ จุดดุลยภาพคือ OW1 และ O L1 ถ้ารัฐบาลเห็นว่า
อัตราค่าจ้างทีเ่ กิดขึน้ โดยกลไกตลาดนี้เป็ นอัตราทีต่ ่ าเกินไปสาหรับภาวะค่าครองชีพในปจั จุบนั
รัฐ บาลโดยคณะกรรมการก าหนดอัต ราค่ า จ้า ง ก าหนดให้ค่ า จ้า งขัน้ ต่ า อยู่ท่ีร ะดับ OW2
ณ ระดับค่าจ้าง OW2 นายจ้างต้องการจ้างแรงงานจานวน OL2 ขณะที่มแี รงงานต้องการ
ทางานถึง OL3 ทาให้เกิดการว่างงานขึน้ จานวน L2L3 ดังนัน้ หลังจากการกาหนดอัตราค่าจ้าง
ขัน้ ต่ าแล้ว รัฐบาลจะต้องมีมาตรการแก้ไขปญั หาการว่างงานทีจ่ ะเกิดขึน้ อาจโดยการหางาน
ทัง้ ในประเทศและต่ า งประเทศไว้ร องรับ คือ พยายามเพิ่มอุ ปสงค์ข องแรงงาน ให้เ ท่ ากับ
อุปทานของแรงงาน ณ ระดับค่าจ้างขัน้ ต่ าพอดี หรือพยายามจัดการฝึ กอบรมแรงงานให้ม ี
ความรู้ ความชานาญมากขึ้น เพื่อเปลี่ยนสถานภาพไปเป็ นแรงงานอีกระดับหนึ่ง ทาให้
อุปทานของแรงงานในระดับนี้ลดลงเส้นอุปทานเคลื่อนไปตัดกับเส้นอุปสงค์ทอ่ี ตั ราค่าจ้างขัน้ ต่ า
ทาให้สามารถแก้ไขปญั หาการว่างงานได้

อัตราค่ าจ้ าง
S1

S
W2
W1 E

D
1
D

จานวนแรงงาน
O L2 L1 L3
รูป 2.18 การกาหนดค่าจ้างขัน้ ต ่า

EC 103 49
2.4.2 นโยบายกาหนดราคาขัน้ สูง (Maximum price policy)
นโยบายก าหนดราคาขัน้ สูงมัก ใช้ใ นกรณีของสินค้า ที่ผู้บ ริโภคทุ กระดับ
รายได้จาเป็นต้องซือ้ เช่น นมผงสาหรับทารก น้าตาลทราย น้ามันเบนซิน ฯลฯ เป็นต้น
จากรูป 2.19 เส้นอุปสงค์และอุปทานของสินค้าตัดกันทีจ่ ุด E ราคาและ
ปริมาณดุลยภาพคือ OP และ OQ ถ้ารัฐบาลเห็นว่าราคาดุลยภาพดังกล่าวเป็ นราคาที่
ค่อนข้างสูงมากสาหรับผูบ้ ริโภคทัวไป
่ รัฐบาลอาจประกาศกาหนดราคาขัน้ สูงทีร่ ะดับ OP1 ณ
ระดับราคาขัน้ สูง OP1 จะมีผูเ้ สนอซือ้ จานวน OQ2 ขณะทีม่ ผี เู้ สนอขายเพียง OQ1ทาให้เกิด
อุปสงค์ส่วนเกินขึน้ จานวน Q1Q2 ผลทีต่ ามมาคือ
ราคา

P E S1

P1
D

O ปริ มาณ
Q1 Q Q2

รูป 2.19 การกาหนดราคาขัน้ สูง

(1) จะเกิดการขายในลักษณะใครมาก่อนได้ก่อน ทาให้มคี วิ รอซือ้ แถวยาว


เกิดการสูญเสียด้านเวลา ซึง่ ถ้าคิดเป็ นตัวเงินแล้ว ราคาสินค้าทีซ่ อ้ื ขายอาจสูงกว่าราคาขัน้ สูงที่
รัฐบาลกาหนดก็ได้
(2) อาจเกิดการลดลงในคุณภาพหรือลดการให้บริการ เช่น การกาหนดราคา
ขัน้ สูงน้ ามันเบนซิน สถาบันบริการน้ ามัน อาจเปิดขายเฉพาะช่วงเช้าหรือลดบริการด้านอื่น ๆ
เป็นต้น

50 EC 103
(3) เกิดการลักลอบขายสินค้าหลังร้าน ระหว่างผูข้ ายกับผูซ้ อ้ื ทีม่ กี าลังทรัพย์
ค่อนข้างสูง นันคื
่ อเกิดตลาดมืด (Black Market) โดยราคาซือ้ ขายจะสูงกว่าราคาขัน้ สูงทีร่ ฐั บาล
กาหนด
ดัง นั ้น เพื่อ ให้ น โยบายการก าหนดราคาขัน้ สู ง สามารถด าเนิ น ต่ อ ไปได้
รัฐบาลจึงมักใช้นโยบายอื่นควบคู่กนั ไป เช่น นาเข้าสินค้า ประเภทนี้เพื่อเพิม่ อุปทานสินค้า
ทาให้อุปสงค์ส่วนเกินหมดไป หรือ นโยบายการปนั ส่วนเพื่อกระจายสินค้าทีม่ อี ยู่น้อยให้กบั
่ ง โดยวิธแี จกคูปอง ซึ่งเป็ นวิธกี ารแก้ปญั หาระยะสัน้ ในระยะยาวแล้ว
ผู้บริโภคอย่างทัวถึ
จะต้องพยายามเพิม่ อุปทานในประเทศให้มากขึน้

2.4.3 การเก็บภาษี สินค้า


การวิเคราะห์เรื่องดุลยภาพสามารถนามาประยุกต์ใช้อธิบายภาระภาษี ต่าง
ๆ ได้ในทีน่ ้จี ะขอยกตัวอย่างเฉพาะกรณีการเก็บภาษีต่อหน่วยเท่านัน้
1) กรณี เก็บภาษี ต่อหน่ วยจากผูข้ าย
จากรูป 2.20 ก่อนการเก็บภาษี จุดดุลยภาพจะอยู่ทจ่ี ุด E ราคาดุลย
ภาพและปริมาณดุลยภาพคือ OP และ OQ เมื่อมีการเก็บภาษีต่อหน่ วยจากผูข้ ายจะมีผลให้
เส้นอุปทานเลื่อนจากเส้น SS มาเป็ นเส้น S1 S1 ทัง้ นี้เพราะผูข้ ายยินดีจะขายสินค้าแต่ละ
หน่ วยก็ต่อเมื่อราคาขายสูงขึน้ กว่าเดิมเท่ากับภาษีต่อหน่ วยที่สูงขึน้ ดังนัน้ ช่วงห่างของเส้น
อุปทานเส้นเดิมกับเส้นใหม่ในแนวตัง้ จะเท่ากับภาษีต่อหน่ วย เมื่อเส้นอุปทานเปลีย่ นไป จุด
ดุลยภาพใหม่กค็ อื จุด E1 ปริมาณและราคาดุลยภาพคือ OP1 และ OQ1 ณ ปริมาณการ
ผลิต OQ1 จานวนภาษีต่อหน่ วยทีร่ ฐั บาลเรียกเก็บจากผูข้ าย คือ AE1 ระดับราคาสินค้าที่
สูงขึน้ จากเดิม คือ BE1 ดังนัน้ จากจานวนภาษีทงั ้ หมด AE1 ต่อหน่ วย ภาระภาษีส่วนหนึ่งจะ
ตกแก่ผซู้ อ้ื ในรูปของราคาทีส่ งู ขึน้ กว่าเดิม คือ BE1 ส่วนทีเ่ หลือคือ AB เป็นภาระทีต่ กอยู่กบั
ผูข้ าย

EC 103 51
ราคา S1

P1 E1 S

P B E
S1 A
D
S
O ปริ มาณ
Q1 Q

รูป 2.20 ผลของการเก็บภาษี ต่อหน่ วยจากผูข้ าย

2) กรณี เก็บภาษี ต่อหน่ วยจากผูซ้ ื้อ


จากรูป 2.21 ก่อนการเก็บภาษี จุดดุลยภาพจะอยู่ทจ่ี ุด E ปริมาณดุลย
ภาพคือ OQ ราคาดุลยภาพคือ OP เมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีต่อหน่ วยจากผูซ้ อ้ื ทาให้เส้น
อุปสงค์เลื่อนระดับต่ าลงมาจากเส้น DD มาเป็ นเส้น D1D1 โดยมีช่วงห่างตามแนวตัง้ เท่ากับ
ภาษีต่อหน่วยที่ รัฐบาลเรียกเก็บจากผูซ้ อ้ื ทัง้ นี้เพราะเมือ่ ผูซ้ อ้ื ต้องเสียภาษีต่อหน่ วยในการซือ้
ผู้ซ้อื จะคงปริมาณซื้อ ในจานวนเท่าเดิม ณ แต่ละระดับราคา เมื่อระดับราคาสินค้าลดต่ าลง
เท่ากับภาษีต่อหน่ วยที่ต้องจ่าย การเลื่อนลงของเส้นอุปสงค์จะทาให้ราคาและปริมาณดุลย
ภาพลดลงเป็ น OP1และ OQ1 ส่วนของราคาทีล่ ดลง AE1 คือภาระภาษีทผ่ี ขู้ ายต้องรับภาระ
และส่วนทีเ่ หลือ AB คือภาระภาษีทต่ี กเป็นของผูซ้ อ้ื

52 EC 103
P
D

D1 B S
P A E
P1 E1

D
D1
O Q1 Q Q

รูป 2.21 ผลของการเก็บภาษี ต่อหน่ วยจากผูซ้ ้ ือ

EC 103 53
คาถามท้ายบท
จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องที่สดุ เพียงคาตอบเดียว
1. ปจั จัยกาหนดอุปสงค์ คือข้อใด
1. ราคาปจั จัยการผลิต
2. ราคาสินค้าชนิดนัน้
3. ระดับเทคโนโลยีการผลิต
4. ต้นทุนการผลิต
5. สภาพแวดล้อมทัวไป ่
2. ปจั จัยกาหนดอุปทาน คือข้อใด
1. ราคาสินค้าทีเ่ กีย่ วข้อง
2. ราคาสินค้าชนิดนัน้
3. รายได้
4. ค่านิยม
5. ค่าใช้จา่ ยในการโฆษณา
3. เมือ่ รายได้ของนายแดงสูงขึน้ เขาบริโภคสินค้า A มากขึน้ A เป็นสินค้าประเภทใด
1. สินค้าฟุ่มเฟือย
2. สินค้าจาเป็น
3. สินค้าปกติ
4. สินค้าด้อยคุณภาพ
5. สินค้าทีใ่ ช้ทดแทนกัน
4. เมือ่ ราคาสินค้าอยู่ ในระดับทีส่ งู กว่าราคาดุลยภาพจะเกิดเหตุการณ์ใดขึน้
1. ผูบ้ ริโภคมีความพอใจลดลง
2. สินค้าขาดตลาด
3. สินค้าล้นตลาด
4. ภาวะดุลยภาพ
5. อุปสงค์ส่วนเกิน

54 EC 103
5. กรณีทร่ี าคาสินค้า X สูงขึน้ แล้วมีผลทาให้ความต้องการซื้อสินค้า Y ลดลง ท่านคิดว่าสินค้า
X และ Y
มีความสัมพันธ์กนั อย่างไร
1. สินค้าปกติ
2. สินค้าด้อยคุณภาพ
3. สินค้าทีใ่ ช้ประกอบกัน
4. สินค้าทีใ่ ช้ทดแทนกัน
5. ไม่มคี วามสัมพันธ์กนั เลย

EC 103 55
เฉลยคาถามท้ ายบท
ลักษณะคาถามคาตอบในบทที่ 2

คาถามที่ 1. ปจั จัยกาหนดอุปสงค์ คือข้อใด


แนวตอบที่ 1. ข้อ 2 ปจั จัยกาหนดอุ ปสงค์ คือ ราคาสินค้าชนิ ดนัน้ คาตอบในข้ออื่น ๆ
ต่างเป็ นปจั จัยกาหนดอุปทานทัง้ สิน้

คาถามที่ 2. ปจั จัยกาหนดอุปทาน คือข้อใด


แนวตอบที่ 2. ข้อ 2 ปจั จัยกาหนดอุปทาน คือ ราคาสินค้าชนิดนัน้ คาตอบในข้อ 1 – 5
เป็ นปจั จัยกาหนดอุปสงค์

คาถามที่ 3. เมือ่ รายได้ของนายแดงสูงขึน้ เขาบริโภคสินค้า A มากขึน้ A เป็นสินค้า


ประเภทใด
แนวตอบที่ 3. ข้อ 3 สินค้าปกติเนื่องจากปริมาณความต้องการซื้อสินค้าปกติจะสัมพันธ์
กับ รายได้ใ นทิศ ทางเดียวกัน กล่ าวคื อ เมื่อ รายได้สูง ขึ้น ความต้อ งการ
บริโภคสินค้าปกติจะมากขึน้ ด้วย

คาถามที่ 4. เมือ่ ราคาสินค้าอยู่ ในระดับทีส่ งู กว่าราคาดุลยภาพจะเกิดเหตุการณ์ใดขึน้


แนวตอบที่ 4. ข้อ 3 สินค้าล้นตลาด เนื่องจาก ณระดับราคาที่สูงขึ้นความต้องการขาย
สินค้ามีมากขึ้น ตามกฎของอุปทาน และความต้องการซื้อสินค้ามีน้อยลง
ตามกฎของอุปสงค์จงึ มีผลให้เกิดสินค้าล้นตลาด

คาถามที่ 5. กรณีทร่ี าคมสินค้า X สูงขึน้ แล้วมีผลทาให้ความต้องการซือ้ สินค้า Y ลดลง


ท่านคิดว่าสินค้า X และ Y มีความสัมพันธ์กนั อย่างไร
แนวตอบที่ 5. ข้อ 3 สินค้าที่ใ ช้ประกอบกัน เนื่อ งจากเมื่อ ราคาสินค้า X สูงขึ้น ความ
ต้องการซือ้ สินค้า X จะลดลงตามกฎของอุปสงค์ และโจทย์กล่าวสินค้า Y
ลดลงด้วย จึงเห็นได้ว่าสินค้า X และสินค้า Y ลดลงทัง้ คู่ เนื่องจากราคา
สินค้า X สูงขึน้ สินค้า X และ Y จึงเป็นสินค้าทีใ่ ช้ประกอบกัน

56 EC 103

You might also like