You are on page 1of 2

คำถามเรื่ อง เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

นางสาว ณัฏฐณิชา เทพกูล ชั้นม. 5/3 เลขที่ 38

ให้นกั เรี ยนตอบคำถามต่อไปนี้


1. ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ คือ เศรษฐศาสตร์ เป็ นวิชาที่ศึกษาถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ
มนุษย์ เพื่อผลิต บริ โภค กระจาย แลกเปลี่ยนสิ นค้าและบริ การ โดยการจัดสรรทรัพยากร ที่เป็ นปั จจัย
การผลิตอันมีอยูอ่ ย่างจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอย่างไม่จ ำกัด

2. บิดาเศรษฐศาสตร์ คือ นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ อดัม สมิธ (Adam Smith)

3. ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง ทรัพยากรการผลิต(production resources) ซึ่ งหมายถึงสิ่ งต่างๆ


ที่นำมาใช้ผลิตสิ นค้าหรื อบริ การ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น

4. ปั ญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ คือ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เกิดขึ้นจากการที่ทรัพยากรเศรษฐกิจมี


จำกัด เมื่อเทียบกับความต้องการของมนุษย์ที่มีอยูอ่ ย่างไม่จ ำกัด ทำให้ทุกสังคมประสบปั ญหาพื้น
ฐานทางเศรษฐกิจ ซึ่ งจำแนกออกได้เป็ น 3 ปัญหา คือจะเลือกผลิตอะไร (What to produce)ผลิต
อย่างไร (How to produce) ผลิตเพื่อใด (For Whom to produce)

5. อุปสงค์ หมายถึง ปริ มาณสิ นค้าและบริ การชนิดใดชนิดหนึ่งที่มีผตู ้ อ้ งการซื้ อ ณ ระดับราคาต่างๆ


ของสิ นค้าชนิดนั้นภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยสมมุติให้ปัจจัยอื่นๆ ที่ก ำหนดอุปสงค์คงที่
ความต้องการในที่น้ ีตอ้ งมีอ ำนาจซื้ อ(Purchasing power หรื อ Ability to pay)ด้วย ถ้าบุคคลใดบุคคล
หนึ่งมีแต่ความต้องการในตัวสิ นค้าโดยไม่มีเงินที่จะจ่ายซื้ อ เราเรี ยกความต้องการลักษณะนั้นว่า “คว
ามต้องการ (Want)” ไม่ใช่ “อุปสงค์ (Demand)” ดังนั้น องค์ประกอบของอุปสงค์ จะประกอบด้วย
ความต้องการและอำนาจซื้ อ

6. กฎของอุปสงค์ หมายถึง อธิบายถึงพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภคในการตัดสิ นใจซื้ อสิ นค้าเมื่อราคาสิ นค้า


เปลี่ยนแปลงไป กฎของอุปสงค์กล่าวว่า "ปริ มาณสิ นค้าที่ผบู ้ ริ โภคต้องการซื้ อในขณะใดขณะหนึ่งจะ
มีความสัมพันธ์ในทางตรงกันข้ามกับราคาสิ นค้าชนิดนั้น" โดยมีขอ้ สมมติให้ปัจจัยอื่นๆคงที่
7. กฎของอุปทาน หมายถึง จะอธิบายถึงพฤติกรรมของผูผ้ ลิตในการแสวงหากำไรสู งสุ ด กฎของ
อุปทานกล่าวว่า “ปริ มาณสิ นค้าที่ผผู้ ลิตเต็มใจจะนำออกขายในระยะเวลาหนึ่งขึ้นอยูก่ บั ราคาสิ นค้า
นั้นๆ ในทิศทางเดียวกัน” กล่าวคือ เมื่อราคาสิ นค้าสู งขึ้นปริ มาณอุปทานจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากผูผ้ ลิตมี
ความต้องการที่จะเสนอขายมากขึ้น เพราะคาดการณ์วา่ จะได้ก ำไรสู งขึ้น ในทางกลับกัน เมื่อราคา
สิ นค้าลดลงปริ มาณอุปทานจะน้อยลง เนื่องจากคาดการณ์วา่ กำไรที่ได้จะลดลง ลักษณะทัว่ ไปของ
เส้นอุปทานจึงเป็ นเส้นที่มีลกั ษณะที่ลากเฉี ยงขึ้นจากซ้ายไปขวา ภายใต้ขอ้ สมมติวา่ ปั จจัยตัวอื่นๆที่มี
ผลต่ออุปทานมีค่าคงที่

8. ภาวะดุลยภาพ หมายถึง ระดับราคาที่ผซู ้ ้ื อและผูข้ ายเห็นพ้องต้องกัน หรื อระดับราคาที่อุปสงค์เท่ากับ


อุปทาน หรื อเส้นอุปสงค์ตดั กับเส้นอุปทาน

9. ตลาด หมายถึง เป็ นสถานที่ซ่ ึ งผูซ้ ้ื อและผูข้ ายมาติดต่อซื้ อขายสิ นค้าและบริ การกัน

10. ตลาดแบ่งเป็ นกี่ประเภท อะไรบ้าง แบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ตลาดแข่งขันสมบูรณ์


(Perfect Competitive Market) ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfect Competitive Market)

You might also like