You are on page 1of 13

เอกสารประกอบคำบรรยาย

วิชา MBH525 Economic for Business


Development

1
บทที่ 1 ความรู้ทวไปเกี
ั่ ่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
ความต้องการมีไม่จำกัด ทรัพยากรมีจำกัด

จัดสรรทรัพยากรตอบสนองความต้องการอย่างไร
ให้ได้รับความพอใจสูงสุ ด?

ปั ญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ(Basic Economics Problems)


 ผลิตอะไร(What)
 ผลิตอย่างไร(How)
 ผลิตเพื่อใคร (For whom) 2
ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์

• Alfred Marshall
เป็ นวิชาที่วา่ ด้วยการดำรงชีวติ โดยปกติของมนุษย์
และสังคมในการใช้ทรัพยากรเพื่อบรรลุถึงการกินดีอยูด่ ี

• Paul Samuelson
เป็ นวิชาที่ศึกษาวิธีการที่มนุษย์และสังคมตัดสิ น
ใจเลือกใช้ทรัพยากรที่หาได้ยากและสามารถนำมาใช้
ประโยชน์ได้หลายทาง ไปผลิตสิ นค้าและบริ การต่างๆ
ตลอดจนจำแนกแจกจ่ายสิ นค้าและบริ การเหล่านั้นไปยัง
บุคคลต่างๆ ในสังคมทั้งในปั จจุบนั และอนาคต
3
ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์

“ การศึกษาเกี่ยวกับการตัดสิ นใจในการใช้ทรัพยากรที่มีอยูจำ
่ กัด
มาผลิตสิ นค้าและบริ การ
เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีไม่จำกัด
ให้เกิดประสิ ทธิภาพสูงสุ ด และกระจายสิ นค้าและบริ การให้สงั คม
ได้รับความพอใจสูงสุ ด”

สิ นค้าและบริ การ

เศรษฐทรัพย์(Economics goods) สิ นค้าไร้ราคา(Free goods)


• ผลิตจากทรัพยากรที่มีจำกัด • ไม่มีราคา
• มีราคา • มีไม่จำกัด
• เช่น ปัจจัย 4 , สิ นค้าทัว่ ไป • น้ำในแม่น้ำ อากาศ แสงแดด
4
ความเป็ นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์
Adam Smith
• เขียนหนังสื อ “ The Wealth of Nations” เป็ นตำราทางเศรษฐศาสตร์
เล่มแรกของโลก
• เป็ นบิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์
• ให้แบ่งงานกันทำตามความถนัด จะเกิดความชำนาญ รัฐไม่ตอ้ งยุง่
• สนับสนุนแนวคิด “ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี นิยม”
 Alfred Marshall
• ยุคปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ในคริ สต์ศตวรรษที่ 19
• เกิดปั ญหาต่างๆ เช่น การว่างงาน ค่าแรงตกต่ำ สิ นค้าล้นตลาด
• เสนอทฤษฎีการผลิต ทฤษฎีพฤติกรรมผูบ้ ริ โภค กลายเป็ นทฤษฎี
เศรษฐศาสตร์ จุลภาค(Micro Economics) ในปั จจุบนั
5
 John Maynard Keynes
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทัว่ โลก
ได้เสนอนโยบายการเงินและการคลัง
แก้ปัญหาเศรษฐกิจ นำความสัมพันธ์ของตัวแปรสำคัญทางเศรษฐกิจ
เช่น รายได้ประชาชาติ การออม การลงทุน และการว่างงาน
มากล่าวในหนังสื อ “The General Theory of Employment, Interest
and Money” กลายเป็ นทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ มหภาค(Macro Economics)
แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์

• เศรษฐศาสตร์ จุลภาค (Microeonomics)


• เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)
6
 เศรษฐศาสตร์ จุลภาค (Microeconomics)
ศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของแต่ละบุคคล/แต่ละหน่วยเศรษฐกิจ
ในการแสวงหาความพอใจสูงสุ ด
• พฤติกรรมผูบ้ ริ โภค ในการเลือกซื้ อสิ นค้า
• พฤติกรรมผูผ้ ลิตในการกำหนดราคาและปริ มาณการผลิต
 เศรษฐศาสตร์มหภาค(Macroeconomics)
ศึกษาพฤติกรรมของระบบเศรษฐกิจในภาพรวม
เพื่อให้สงั คมได้รับความพอใจสูงสุ ด
• รายได้ประชาชาติ • เงินเฟ้ อ เงินฝื ด
• การออม
• การลงทุน • การเงิน การคลัง 7
เครือ่ งมือในการศึกษา

1. ฟังก์ชนั
Y = f (X)
เช่น
Qx = f (Px ,Py ,y ,T)

2. สมการ
Y = a + bX  
เช่น
C = 10 + 0.5Yd สมการการบริโภค

โดย C = รายจ่ายในการบริโภค
Yd = รายได้สทุ ธิส่วนบุคคล
8
C

C = 10+0.5Yd
Y
X
10
Yd
0

· 3. ความชัน (Slope)
Slope = Y2 - Y1 / X2 - X1
ดังนัน้ Slope = Y/ X = b
9
Y
A

X
0

10
ระเบียบวิธีการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์
หลัก (Principle) ,กฎ (Law) , ทฤษฎี (Theory)           
  1. การศึกษาโดยวิธีอนุมาน (Deductive Method)
วิธหี าผลจากเหตุ

กำหนดสมมุติฐาน สังเกตปรากฏการณ์ทวั่ ไปเพื่อ


โดยสร้างแบบจำลอง พิสูจน์สมมุติฐาน

จริ ง

กฎ ,ทฤษฎี
11
2. การศึกษาโดยวิธีอปุ มาน (Inductive Method)
วิธหี าเหตุจากผล

รวบรวมผลที่เกิดขึ้นเห วิเคราะห์วา่ น่าจะเกิดจาก


มือนๆกัน เหตุอะไรบ้าง
จริ ง

กฎ ,ทฤษฎี

3. การศึกษาโดยวิธีสงั เกตจากประวัติศาสตร์
(Historical Method)

ใช้คาดคะเนอนาคต
12
ข้อสมมุติในการศึกษาเศรษฐศาสตร์
       1. บุคคลทุกคนจะดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างมีเหตุผล
(economics rationality)
2. การสมมุตใิ ห้สงิ่ อื่นๆ คงที่

การนำทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มาใช้
1. เศรษฐศาสตร์พรรณา (Positive Economics)
เช่น อธิบายสาเหตุการเกิดเงินเฟ้ อ
2. เศรษฐศาสตร์นโยบาย (Normative Ecnomics)
เช่น นโยบายการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ

13

You might also like