You are on page 1of 20

แผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔

1
แผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๔ ประเด็นยุทธศาสตร์ ๙๙ กลยุทธ์ มีโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯ จานวน ๓๘๓๗ โครงการ วงเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น ๑๔๓,๖๔๑,๐๒๒
220,591,710 บาท
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ด้านการดาเนินคดีและ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการป้องกันปัญหาการค้ามนุษย์ ๔ กลยุทธ์ ประเด็ น ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๓ ด้ า นการช่ ว ยเหลื อ และ
บังคับใช้กฎหมาย ๓ กลยุทธ์ - กลยุทธ์ที่ ๔ การป้องกันและปราบปรามการทุจริต/คอรัปชั่นของ คุ้มครองผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ ๑ กลยุทธ์
- กลยุทธ์ที่ ๑ การพัฒนากฎหมายและระเบียบ เจ้ า หน้ า ที่ รั ฐ ที่ เ ข้ า ไปมี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ การค้ า มนุ ษ ย์ จ านวน - ก ล ยุ ท ธ์ ที่ ๘ ก า รพั ฒ น า ก ล ไ ก แ ล ะ เ พิ่ ม
ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การด าเนิ น คดี ค้ า มนุ ษ ย์ จ านวน ๑ โครงการ ประสิทธิภาพการคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้า
๒ โครงการ - กลยุ ท ธ์ ที่ ๕ การบริ ห ารจั ด การแรงงานกลุ่ ม เปราะบางให้ มี มนุษย์ และกลุ่มเสี่ยงอย่างเป็นระบบ จานวน ๗ โครงการ
- กลยุ ทธ์ที่ ๒ การบริ หารจั ดการคดีค้า มนุษ ย์ ประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน
จานวน ๕ โครงการ จานวน ๕ โครงการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ ด้านการบริหารจัดการระบบ
- กลยุ ท ธ์ ที่ ๓ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถของ - กลยุทธ์ที่ ๖ การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึง ฐานข้อมูลการค้ามนุษย์ ๑ กลยุทธ์
เ จ้ าห น้ า ที่ ใ นก า ร บั ง คั บ ใช้ ก ฎ ห ม าย อ ย่ า ง มี ปัญหาการค้ามนุษย์แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จานวน ๓ โครงการ - กลยุทธ์ที่ ๙ พัฒนาระบบฐานข้อมูลการค้ามนุษย์
ประสิ ท ธิ ภ าพและทั น ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงของ - กลยุ ทธ์ที่ ๗ บูรณาการความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ทั้งใน ให้มีประสิทธิภาพและครอบคลุมมากยิ่งขึ้นโดยบูรณาการ
สภาพแวดล้อมและบริบทต่าง ๆ จานวน ๖ โครงการ ประเทศและระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ จานวน ๗ โครงการ ระบบฐานข้อมูลในทุกมิติ จานวน ๑ โครงการ

จุดเน้นของแผนปฏิบัติการฯ

๑. การแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะ และการป้องกันผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินการเพื่อปราบปรามอาชญากรรมทางอินเตอร์เน็ตที่


เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชน และการป้องกันปัญหาการค้ามนุษย์ด้านแรงงานและการคุ้มครองแรงงานต่างด้าว
๒. การยกระดับการแก้ ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทยให้ได้รับการยอมรับจากสากลโดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดระดับของประเทศไทยในรายงานการค้ ามนุษย์ของประเทศ
สหรัฐอเมริกา (TIP REPORT) ในประเด็นที่สาคัญ
- การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจงานด้านการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ให้เป็นกลไกสาคัญในการป้องกันและปราบปร ามการค้ามนุษย์ในประเทศไทย
โดยเฉพาะการคัดแยกผู้เสียหายฯ
- การคุ้มครองผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ โดยยึดหลักความต้องการของผู้เสียหายเป็นศูนย์กลาง
๓. ประเทศไทยสามารถป้องกันและปราบปรามปัญหาการค้ามนุษย์อย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคัญกับการป้องกันกลุ่มเปราะบางไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของขบวนการค้ามนุษย์

2
สรุปผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ
ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไตรมาสที่ 1 - ๔

 นาเสนอสรุปผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและ
แก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยแบ่ง
ออกเป็น ๓ ส่วน ดังนี้
1. สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม และแบ่งตามประเด็นยุทธศาสตร์
2. ผลการดาเนินงานสาคัญ
3. ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

3
สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม
ภายใต้แผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 220,591,710 บาท
 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ รวมทั้งสิ้น ๑35,027,184 บาท
 คิดเป็นร้อยละ 61.21

4
สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ด้านการดาเนินคดีและบังคับใช้กฎหมาย

 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 48,421,000 บาท


 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 14,707,269 บาท
 คิดเป็นร้อยละ 30.37
ผลการดาเนินงานที่สาคัญ คือ
1. ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย (ร่าง) พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่...) พ.ศ. ... เพื่อให้สามารถนาเงิน
จากการกระทาผิ ดฐานค้า มนุ ษย์ ม าชดใช้ เป็ น ค่ าสิ น ไหมทดแทนให้ กับ ผู้ เสีย หายจากการค้ า มนุ ษย์ (ปปง.) โดยเมื่ อ วั น ที่
24 สิ ง หาคม 2564 คณะรั ฐ มนตรี ไ ด้มี ม ติรั บ ทราบสรุ ป ผลการประชุ ม คณะกรรมการประสานงานสภาผู้ แ ทนราษฎร
เมื่อวันจันทร์ที่ 23 สิงหาคม 2564 โดยให้เสนอ (ร่าง) พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินฉบับดังกล่าว
ต่อสภาผู้แทนราษฎรเพื่อบรรจุระเบียบวาระเป็นเรื่องด่วนต่อไป (ปปง.)
๒. การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลคดีค้ามนุษย์และการถอดบทเรียนคดีค้ามนุษย์ (อส.)
๓. พั ฒ นาโปรแกรมตรวจพิ สู จ น์ ข้อ มู ล โทรศั พ ท์ (Cellebrite License) ไว้ ใช้ ในการปฏิบั ติงานป้ อ งกัน และปราบปรามการ
ค้ามนุษย์ ที่กระทาผิดต่อเด็ก สตรี ครอบครัว และภาคประมง รวมทั้งใช้ในการรวบรวมพยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ใน
คดีค้ามนุษย์ (สตช.)
5
ผลการดาเนินงานที่สาคัญ (ต่อ)
4. แต่งตั้งชุดปฏิบัติการต่อต้านการค้ามนุษย์ และภาคประมงในประเทศไทย สานักงานตารวจแห่งชาติ (Thailand Anti Trafficking In
Persons Task Force : TATIP) และที่ทาการชุดปฏิบัติการปราบปรามการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กทางอินเทอร์เน็ต สานักงานตารวจ
แห่งชาติ (Thailand Internet Crimes Against Children Task Force : TICAC) (สตช.) โดยจับกุมได้รวมทั้งสิ้น 55 คดี แบ่งเป็น
คดีค้ามนุษย์ 10 คดี ล่วงละเมิดทางเพศเด็ก 9 คดี ครอบครองสื่อลามกเด็ก 25 คดี ความผิดอื่นๆ 3 คดี รอแจ้งฯ 8 คดี และจับกุม
ผู้ต้องหาได้ 57 คน แบ่งเป็นเพศชาย 50 คน เพศหญิง 7 คน และไฟล์สื่อลามกเด็กมากกว่า 150,000 ไฟล์ (สตช.)
๕. คณะทางานต่อต้านการค้ามนุษย์ในประเทศไทย (TATIP) มีการดาเนินคดีการค้ามนุษย์ 103 คดี ในปี 2564 ส่งผลให้มีการดาเนินคดี
กับผู้กระทาความผิด 162 ราย และมีผู้เสียหายในคดี ทั้งหมด 134 คน (สตช.)
๖. การสืบสวนปราบปรามเพื่อดาเนินการกับทรัพย์สินของผู้กระทาความผิดมูลฐานการค้ามนุษย์ จานวน 36 เรื่อง (1) ยึด/อายัด จานวน
2 เรื่อง มีมูลค่าทรัพย์สินจากการยึด/อายัด จานวน 4,926,275.05 บาท (2) ยุติ/ไม่ดาเนินการ จานวน ๓4 เรื่อง (ปปง.)
๗. พัฒนาทักษะพนักงานอัยการในการนาสืบพยานหลักฐานรูปแบบดิจิทัลในคดีค้ามนุษย์ (อส.)
๘. จัดสัมมนาสืบสวน สอบสวน คดีค้ามนุษย์ของสานักงานตารวจแห่งชาติ ระดับรองผู้กากับ และสารวัตร จานวน ๑๐๐ คน และสัมมนา
เชิงปฏิบัติการผู้เชี่ยวชาญงานการสืบสวนสอบสวนคดีค้ามนุษย์ของสานักงานตารวจแห่งชาติ ระดับผู้กากับการ จานวน ๑๐๐ คน
เพื่ อ เสริ ม สร้ างความรู้ค วามเข้ าใจ และทั ก ษะในการสื บ สวนสอบสวนคดี ค้ า มนุ ษ ย์ ใ ห้ กั บ ข้ าราชการต ารวจ และเพื่ อ แลกเปลี่ ย น
ประสบการณ์ และแก้ไขข้อบกพร่องในการสืบสวนสอบสวนคดีค้ามนุษย์ (สตช.)
๙. จัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่เพื่อใช้งานระบบวิเคราะห์พยานหลักฐานทางดิจิทัลในคดีละเมิดทางเพศต่อเด็กทางอินเตอร์เน็ต เพื่อใช้สาหรับคดี
ละเมิดทางเพศต่อเด็กทางอินเตอร์เน็ต เพื่อพัฒนาระบบที่เข้ามาช่วยบริหารจัดการพยานหลักฐานทางดิจิทัล จานวน 10 คน หลักสูตร
3 วัน เพื่อให้มีความรู้ความสามารถในการใช้งานระบบ (สตช.)
10. ประชุมทวิภาคีด้านความร่วมมือระหว่างประเทศในการสืบสวนสอบสวนคดีค้ามนุษย์ กับ สานักงานตารวจแห่งชาติแห่งสหพันธรัฐ
มาเลเซีย และโครงการอาเซียน - ออสเตรเลียเพื่อต่อต้านการค้ามนุษย์ (โครงการ ASEAN - ACT) (สตช.)
6
สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการป้องกันปัญหาการค้ามนุษย์

 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 162,848,050 บาท


 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ รวมทั้งสิ้น ๑16,844,467 บาท
 คิดเป็นร้อยละ 90.17
ผลการดาเนินงานที่สาคัญ คือ
๑. การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว มี จานวนแรงงานต่างด้าวที่ยื่นขอและได้รับอนุญาตทางาน จานวน 401,708 คน และจานวน
730,606 ครั้ง พร้อมกับการตรวจสอบการทางานของคนต่างด้าวและสถานประกอบการ เพื่อประโยชน์ในการติดตามและตรวจสอบการ
ทางานของคนต่างด้าวให้เป็นไปตามมาตรฐานการควบคุมการทางานของแรงงานต่างด้าว จานวน 369,991 คน สถานประกอบการ จานวน
42,273 แห่ง (กรมการจัดหางาน)
๒. จัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันการบังคับใช้แรงงานและการค้ามนุษย์ด้านแรงงานกลุ่มเสี่ยง ในพื้นที่ 76 จังหวัดทั่วประเทศ (สป.รง.)
๓. ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และประชาสัมพันธ์การต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน และการใช้แรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวร้าย ให้แก่
แรงงานที่เป็นกลุ่มเสี่ยง จานวน 684,929 คน สถานประกอบกิจการได้รับการพัฒนาศักยภาพตามแนวปฏิบัติการใช้แรงงานที่ดี (GLP)
จานวน 729 แห่ง ตรวจสถานประกอบกิจการที่เสี่ยง จานวน 1,419 แห่ง แรงงาน 43,932 คน รวมถึงการส่งเสริมความรู้ให้แก่แรงงาน
นอกระบบให้สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน ได้จานวน 100 คน (กรมการจัดหางาน)

7
ผลการดาเนินงานที่สาคัญ (ต่อ)
๔. การคุ้มครองสิทธิแรงงานประมงทะเล โดยตรวจคุ้มครองแรงงานในเรือประมงทะเลที่พบว่าปฏิบัติไม่ถูกต้องให้ดาเนินการตามกฎหมาย จานวน
ทั้งสิ้น 5,133 คน บูรณาการตรวจคุ้มครองแรงงานในเรือประมงในพื้นที่ 22 จังหวัดติดทะเล รวมทั้งสิ้น ๓70 ครั้ง 5,133 คน รวมถึงจัดจ้าง
ผู้ประสานงานด้านภาษา/ล่าม ได้จานวนทั้งสิ้น 12๕ คน (กรมการจัดหางาน)
๕. ปรับปรุงข้อมูลและจัดทาหนังสือคนประจาเรือสาหรับคนต่างด้าว จานวนทั้งสิ้น 54,255 ราย โดยแยกตามสัญชาติเมียนมา จานวน 40,778 ราย
กัมพูชา จานวน 12,388 ราย ลาว จานวน 776 ราย เวียดนาม จานวน 10 ราย และอื่น ๆ จานวน 273 ราย ต่ออายุหนังสือคนประจาเรือ
สาหรับแรงงานต่างด้าว กรณีพิเศษตามที่ภาครัฐพิจารณาขยายเวลาการทางานของคนต่างด้าวที่ได้รับหนังสือคนประจาเรือสาหรับคนต่างด้าว
(Seabook) ดาเนินการต่ออายุหนังสือคนประจาเรือ (Seabook เล่มเหลือง) จากจานวน 3,249 ราย มีแรงงานต่างด้าวได้มาดาเนินการยื่นคาขอต่อ
อายุแล้ว จานวน 1,833 ราย และได้เปลี่ยนใบรับคาขอเป็นเล่มหนังสือคนประจาเรือแล้ว จานวน 1,807 ราย และบูรณาการตรวจร่วมเรือประมง
และแรงงานในพื้นที่ชายทะเล 22 จังหวัด จานวน 135 ครั้ง มีการดาเนินการตรวจเรือประมงในทะเล จานวน 716 ลา แรงงานที่ได้รับการ
ตรวจสอบ จานวนทั้งสิ้น 8,532 ราย แบ่งเป็น แรงงานไทย จานวน 3,299 ราย และแรงงานต่างด้าว จานวน 5,243 ราย ซึ่งยังไม่พบคดีของการ
กระทาความผิด (กรมประมง)
๖. จัดการฝึกอบรมเพื่อมอบนโยบายและข้อห่วงใยของ กอ.รมน. ในการดาเนินการตามโครงการและการให้ความรู้แก่ประชาชน และผู้นาชุมชน
เพื่อนาไปสร้างภาคีเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันเพื่อเรียนรู้เท่าทันการค้ามนุษย์ ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรม จานวน 136 คน (กอ.รมน.)
๗. ภาคีเครือข่ายที่ผ่านการฝึกอบรมฯ ลงพื้นที่ตามชุมชน หมู่บ้าน สถานศึกษา หรือแหล่งที่มีความเสี่ยงสูงในการถูกนาพาเข้าสู่ขบวนการค้า มนุษย์เพื่อ
สร้างเครือข่ายรู้เท่าทันการค้ามนุษย์ โดยเน้นเยาวชนที่มีอายุ ไม่เกิน 18 ปี รวมเครือข่ายการรู้เท่าทันการค้ามนุษย์ จานวนไม่น้อยกว่า 3,400 คน
๘. สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนให้สามารถป้องกันตนเอง ไม่ตกเป็นเหยื่อของขบวนการค้ามนุษย์ และเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังแจ้งเบาะแสการค้า
มนุษย์ผ่านศูนย์ดารงธรรม ชุดปฏิบัติการพิเศษจังหวัดและชุดปฏิบัติการพิเศษอาเภอร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจตราพื้นที่เฝ้าระวั งและ
ปราบปรามการค้ามนุษย์สถานที่เสี่ยง แบ่งเป็นระดับจังหวัด 2,614 ครั้ง และระดับอาเภอ 40,504 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 43,018 ครั้ง ดาเนินการตาม
มาตรการประชาสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมาย แบ่งเป็น ระดับจังหวัด 23,321 คน และระดับอาเภอ 263,474 คน รวมทั้งสิ้น 286,795 คน มีคาสัง่
เพิกถอนใบอนุญาตสถานบริการ และมีคาสั่งปิดสถานบริการเป็นเวลา ๕ ปี จานวน ๑5 แห่ง (กรมการปกครอง)
๙. จัดกิจกรรม เนื่องในโอกาส “วันรณรงค์ต่อต้านการค้ามนุษย์” ประจาปี ๒๕๖๔ โดยจัดทาสารของนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) และ
ประชาสัมพันธ์รณรงค์ต่อต้านการค้ามนุษย์ผ่านสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 สถานีวิทยุกระจายเสียง หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ และสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ (พม.)
๑๐. จัดโครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนเพื่อการต่อต้านการค้ามนุษย์ระดับพื้นที่ จานวน ๘ รุ่น รวมทั้งสิ้น 4,477 คน (พม.) 8
ผลการดาเนินงานที่สาคัญ (ต่อ)
๑๑. เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายภาคประชาสังคมเพื่อเป็นผู้เฝ้าระวังทางสังคมด้านการต่อต้านการค้ามนุษย์ จานวน 66 จังหวัด ผู้เข้าร่วมจานวน
5,690 คน (พม.)
๑๒. การประชุมทวิภาคีไทย – กัมพูชา เพื่อพิจารณา (ร่าง) เอกสารสุดท้ายของขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานในการช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้า
มนุษย์ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (พม.)
13. สร้างความเข้าใจการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของไทยแก่นานาประเทศ ผ่านการสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายในต่างประเทศและกรอบ
ความร่วมมือระหว่างประเทศต่าง ๆ และดาเนินโครงการสร้างความเขาใจกับสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับการแกไขปัญหาการค้ามนุษยของไทย ได้ดาเนินการ
หารือและชี้แจงกับฝ่ายที่เกี่ยวข้องของไทย เพื่อให้ข้อมูลและข้อสังเกตเกี่ยวกับผลการประเมินไทยในรายงาน TIP Report ปี ค.ศ. 2021 และร่วม
จัดเตรียมท่าทีของไทยสาหรับการชี้แจงและทาความเข้าใจกับสหรัฐฯ และการส่งเสริมความร่วมมือด้านการต่อต้านการค้ามนุษย์ในอนาคต (กต.)

9
สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการช่วยเหลือและคุ้มครองผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์
 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 6,428,660 บาท
 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 1,450,448 บาท
 คิดเป็นร้อยละ 22.50
ผลการดาเนินงานที่สาคัญ คือ
๑. การคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ในสถานคุ้มครองฯ ๙ แห่ง ในสังกัดกระทรวง พม. โดยเป็นยอดรับเข้าคุ้มครองในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 จานวน ๙๘ คน (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ ก.ย. 2564) (พม.)
๒. การศึกษาและพัฒนาการให้บริการช่วงระยะเวลาฟื้นฟูและไตร่ตรอง (Reflection Period) ตามข้อเสนอแนะในรายงาน TIP Report ของสหรัฐอเมริกา
ซึ่งเป็นการให้ระยะเวลาที่เหมาะสมแก่บุคคลที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าเป็นผู้เสียหายจากการกระทาความผิดฐานค้ามนุษย์ เพื่อให้บุคคลดั งกล่าวสามารถ
พิจารณาตัดสินใจได้ที่จะให้ความร่วมมือในการให้ข้อเท็จจริงที่เป็นประโยชน์ต่อการคุ้มครองสวัสดิภาพ และการดาเนินคดีแก่ผู้กระทาความผิด (พม.)
3. จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือคุ้มครองเด็กที่เป็นผู้เสียหายในคดีค้ามนุษย์ (Child Advocacy Center Thailand_CAC) จานวน 5 แห่ง ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดชลบุรี (พัทยา) จังหวัดภูเก็ต จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดกาญจนบุรี ทาให้ผู้เสียหายซึ่งเป็นเด็ก มีสถานที่พักที่ปลอดภัย และประเทศไทย
ได้รับการยอมรับจากนานาประเทศและองค์กรเอกชนที่เกี่ยวข้อง และมีการดาเนินงานของศูนย์ อย่างต่อเนื่อง (สตช.)
๔. พัฒนาระบบบริการศูนย์พึ่งได้ในประเทศไทย โดยพัฒนาแนวทางปฏิบัติการช่วยเหลือเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว จากการกระทาความรุนแรงและ
เกณฑ์มาตรฐานการจัดบริการศูนย์พึ่งได้ /พัฒนาแนวทางการประเมนอายุเด็กทางคดี / พัฒนาแนวทางการดาเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่
เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข และแนวทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข (สธ.)
๕. สร้างแนวทางการทางานร่วมกันระหว่างพนักงานอัยการและองค์กรภาคเอกชนในการคุ้มครองสิทธิ ผู้เสียหาย เพื่อความสาเร็จในการดาเนินคดีค้ามนุษย์
และมีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานระหว่างพนักงานอัยการ ผู้เสียหาย และหน่วยงานต่างๆ ที่ทางานในการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายในคดีค้ามนุษย์ (อส.)
10
สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ ด้านการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลการค้ามนุษย์

 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 2,894,000 บาท


 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 2,025,800 บาท
 คิดเป็นร้อยละ 7๐
ผลการดาเนินงานที่สาคัญ คือ
พัฒ นาระบบฐานข้อ มูลของประเทศไทยฯ เพื่อ เชื่อ มโยงข้อ มูลในการด าเนิน คดีกั บผู้ ก ระทาความผิ ด และเจ้า หน้า ที่ของรัฐ เพื่ อเพิ่ ม
ประสิทธิภาพในการดาเนินคดี การอานวยความสะดวกให้กับหน่วยงานภาคี เครือข่ายผู้เกี่ยวข้องในการสืบค้นข้อมูลคดีค้ ามนุษย์อันเป็น
ประโยชน์ต่อการเร่งรัดและติดตามการช่วยเหลือผู้เสียหายในคดีคา้ มนุษย์ และพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่น “PROTECT-U พม. พร้อมคุ้มครอง
คุณ” ให้เชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลฯ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลสถิติเกีย่ วกับการค้ามนุษย์เบื้องต้นให้กบั ประชาชนได้ทราบ ตลอดจนเป็นจุดเริ่มต้นให้
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแจ้งเบาะแส พร้อมกับทราบถึงภัยที่เกิดจากการค้ามนุษย์ อันเป็นการป้องกันการค้ามนุษย์ที่มีประสิทธิภาพและ
ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารราชการและงานในส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ (พม.)

*** หมายเหตุ : เป็นการจ้างที่ปรึกษาดาเนินการเชื่อมโยงข้อมูลในการดาเนินคดีกับผู้กระทาความผิดและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งจะส่งมอบงานใน


งวดที่ 3 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2565

11
 ปัญหา/อุปสรรค
(1) หน่วยงานบางหน่วยงานไม่สามารถดาเนินการตามแผนปฏิบัติการฯ ได้ เนื่องจากไม่ได้รับการ
จัดสรรงบประมาณตามโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏิบัติการฯ
(2) หน่ วยงานที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณบางหน่ว ยจาเป็น ต้องระงับ /งดการจัดกิจกรรม/
โครงการที่เกี่ยวข้อง ส่งผลให้ไม่สามารถขับเคลื่อนงานได้ในหลายมิติ อาทิ การสร้างภาคีเครือข่าย
เพื่อร่วมป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ให้กับกลุ่มเป้าหมาย และการสร้างความเข้าใจและ
ความร่ ว มมื อ กั บ ต่ างประเทศ และบางหน่ ว ยงานจ าเป็น ต้ อ งปรั บ แผนการด าเนิ น งานเพื่ อ ให้
สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรและมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ส่งผลให้รูปแบบโครงการ/กิจกรรม และการดาเนินงานไม่
สามารถเป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนดได้
(3) การกาหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายบางตัวของแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา
การค้ามนุษย์ ประจาปี 2564 ไม่ชัดเจนและไม่ครอบคลุมกับภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ส่งผลต่อการวัดผลสัมฤทธิ์ของการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติการฯ

12
 ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์
(1) ควรมีการประชุมถอดบทเรียนแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ร่วมกันหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องภายใต้แผนปฏิบัติการฯ เพื่อวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค และผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนา 2019 (COVID - 19) รวมทั้ ง ข้ อ เสนอแนะ เพื่ อ เป็ น แนวทางการปรั บ ปรุ ง การ
ดาเนินงานและแนวทางการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ปี 2565
(2) หน่วยงานที่ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณตามโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏิบัติการฯ สามารถขอรับการสนับสนุน
งบประมาณจากกองทุนเพื่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ โดยเขียนข้อเสนอโครงการที่เกี่ยวข้องกับ
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ส่งให้กองทุนเพื่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์พิจารณา
โดยกาหนดกรอบวงเงินโครงการ แบ่งเป็น โครงการขนาดเล็ก (วงเงินต่ากว่า 50,000 บาท) โครงการขนาดกลาง
(วงเงิ น ตั้ ง แต่ 50,000 บาท ขึ้ น ไป แต่ ไ ม่ เ กิ น 3,000,000 บาท) และโครงการขนาดใหญ่ (วงเงิ น เกิ น
3,000,000 บาท ขึ้นไป)
(3) ควรมีการทบทวนและพิจารณาปรับเป้าหมาย และตัวชี้วัดในระดับกลยุทธ์ตามแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและ
แก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ทั้งในระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาวให้มีความสอดคล้องกับบริบทที่เกี่ยวข้อง
อาทิ สถานการณ์ที่มีความสาคัญ ข้อเสนอแนะของสหรัฐอเมริกาในรายงานสถานการณ์ค้ามนุษย์ ประจาปี รวมถึง
สถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไปตามห้วงเวลา เป็นต้น เพื่อให้การดาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถ
ตอบสนองต่อเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
13
เป้าหมายและตัวชี้วัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2563 ปี 2564
ผลสัมฤทธิ์ ปี 64
ปี พ.ศ. 2564 ปี พ.ศ. 2565
1. ยกระดับการ 1.1 การจัดระดับของ TIER 2 TIER 2 TIER 2 TIER 2 ลดระดับเป็น TIER 2
แก้ไขปัญหาการค้า ประเทศในรายงาน
มนุษย์ของประเทศ สถานการณ์
Watch List Watch List
ไทยให้ได้รับการ การค้ามนุษย์สากล
ยอมรับจากสากล
2. ประเทศไทย 2.1 ระดับความสาเร็จใน จานวนเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูก จานวนเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูก ๘ ราย ๔ ราย ดาเนินคดีและลงโทษเจ้าหน้าที่รฐั ที่
สามารถป้องกัน การป้องกันและปราบปราม ดาเนินคดีและถูกลงโทษ ดาเนินคดีและถูกลงโทษ เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์จานวน ๔ ราย
และปราบปราม การค้ามนุษย์ของประเทศ ลดลงจากปี ๖๓ จานวน ๔ ราย
ปัญหาการค้า ไทย
มนุษย์อย่างยั่งยืน 2.2 ร้อยละของแรงงานต่าง ร้อยละ 75 ของแรงงานต่างด้าว ร้อยละ 75 ของแรงงานต่างด้าว ดาเนินการได้ 1,204,455 คน ดาเนินการได้ 864,696 คน แรงงานต่างด้าวและแรงงานไทยที่ได้รบั การ
ด้าวและแรงงานไทยที่ได้รับ และแรงงานไทยที่ได้รับการ และแรงงานไทยที่ได้รับการ ๑. พิจารณาคาขอและจัดทา คิดเป็นร้อยละ 59.77 คุ้มครองตามกฎหมายและมาตรฐานสากล
คุ้มครองฯ คุ้มครองฯ ทะเบียนคนต่างด้าว จานวน ๑. พิจารณาคาขอและจัดทา คิดเป็นร้อยละ 59.77
การคุ้มครองตามกฎหมาย เป้าหมาย : ๑,๔๔๖,๘๐๐ คน เป้าหมาย : ๖๔๖,๐๐๐คน ดังนี้ 741,727 คน ทะเบียนคนต่างด้าว จานวน (สาเหตุของผลการดาเนินงานต่ากว่า
และมาตรฐานสากล ดังนี้ 1.แรงานต่างด้าวได้รับอนุญาต ๒. ตรวจสอบการทางานของ 401,708 คน เป้าหมายที่กาหนด เนื่องจากการพิจารณา
1.แรงานต่างด้าวได้รับอนุญาต ทางาน 329,000 คน คนต่างด้าวและสถาน ๒. ตรวจสอบการทางานของ คาขอและจัดทาทะเบียนคนต่างด้าวขึน้ อยู่
ทางาน 1,115,000 คน 2.แรงงานต่างด้าวที่ได้รับการ ประกอบการ รวม 333,215 คนต่างด้าวและสถาน กับอุปสงค์แรงงานต่างด้าวในตลาดแรงงาน
2.แรงงานต่างด้าวที่ได้รับการ ตรวจสอบ 248,000 คน คน สถานประกอบการ 44,784 ประกอบการ รวม ๓69,991 ซึ่งในปี 2564 เกิดสถานการณ์การระบาด
ตรวจสอบ 248,000 คน 3.สถานประกอบการได้รับการ แห่ง คน สถานประกอบการ ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ทาให้
3.สถานประกอบการได้รับการ ตรวจสอบ 30,000 แห่ง ๓. ตรวจสถานประกอบกิจการที่ 42,273 แห่ง อุปสงค์แรงงานต่างด้าวลดลง จึงทาให้มี
ตรวจสอบ 37,000 แห่ง เสี่ยงต่อการใช้แรงงานเด็ก ๓. ตรวจสถานประกอบ แรงงานต่างด้าวมายื่นคาขอจดทะเบียนคน
แรงงานบังคับ แรงงานขัดหนี้ กิจการที่เสี่ยงต่อการใช้ ต่างด้าวลดลงตามไปด้วย ทั้งนี้ กระทรวง
และการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน แรงงานเด็ก แรงงานบังคับ แรงงานได้มีการคุ้มครองแรงงานตาม
1,662 แห่ง แรงงาน 61,391 แรงงานขัดหนี้ และการค้า กฎหมาย โดยการตรวจสอบการทางานของ
คน มนุษย์ด้านแรงงาน 1,419 แรงงานต่างด้าวและออกตรวจสถาน
แห่ง แรงงาน 43,932 คน ประกอบการ และสถานประกอบการกลุ่ม
เสี่ยงเพื่อคุ้มครองแรงงานไทย แรงงานต่าง
ด้าว แรงงานประมงให้ได้รบั สิทธิตาม
กฎหมาย
14
เป้าหมายและตัวชี้วัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565

ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน


เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2563 ปี 2564
ผลสัมฤทธิ์ ปี 64
ปี พ.ศ. 2564 ปี พ.ศ. 2565
2.2 ร้อยละของแรงงานต่าง 4.จานวนแรงงานที่เป็นกลุ่มเสี่ยง 4.จานวนแรงงานที่เป็นกลุ่มเสี่ยงได้รับ ๔. พัฒนาและกากับดูแลให้ ๔. พัฒนาและกากับดูแลให้ รวมทั้งสร้างการรับรู้ให้กับ
ด้าวและแรงงานไทยที่ได้รับการ ได้รับการส่งเสริม พัฒนาและกากับ การส่งเสริม พัฒนาและกากับดูแลให้รับ แรงงานกลุ่มเสี่ยงได้รับการ แรงงานกลุ่มเสี่ยงได้รับการ นายจ้างหรือเจ้าของสถาน
ดูแลให้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย การคุ้มครองตามกฎหมาย 35,000 คน คุ้มครองตามกฎหมาย คุ้มครองตามกฎหมาย ประกอบการเกีย่ วกับกฎหมาย
คุ้มครองตามกฎหมายและ 41,800 คน 5.จานวนแรงงานในเรือประมงทะเลที่ จานวน 61,391 คน จานวน 43,932 คน การค้ามนุษย์ และบทลงโทษ
มาตรฐานสากล (ต่อ) 5.จานวนแรงงานในเรือประมงทะเล ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย 4,000 ๕. คุ้มครองสิทธิแรงงาน
๕. คุ้มครองสิทธิแรงงาน สาหรับการกระทาความผิด
ที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย คน ประมงทะเล 5,133 คน
5,000 คน
ประมงทะเล 6,731 คน เพื่อเป็นการป้องปรามไม่ให้
นายจ้างหรือเจ้าของสถาน
ประกอบการกระทาความผิด
ดังกล่าว

2.3 ร้อยละของผู้เสียหายจาก ร้อยละ 80 ของผู้เสียหายจาก ร้อยละ 80 ของผู้เสียหายจาก รับเข้าคุ้มครองฯ ในสถาน รับเข้าคุ้มครองฯ ในสถาน ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์
การค้ามนุษย์ที่ได้รับการ การค้ามนุษย์ที่ได้รับการคุ้มครอง การค้ามนุษย์ที่ได้รับการคุ้มครอง คุ้มครองของรัฐ ๑๔๗ คน คุ้มครองของรัฐ ๙๘ คน ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
คุ้มครองตามกฎหมายและ ตามกฎหมายและพันธกรณี ตามกฎหมายและพันธกรณีระหว่าง และพันธกรณีระหว่างประเทศ
พันธกรณีระหว่างประเทศ ระหว่างประเทศ ประเทศ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

2.4 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่ ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายที่ ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายที่ กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้


ได้รับความรู้ สามารถป้องกัน ได้รับความรู้ สามารถป้องกัน ได้รับความรู้ สามารถป้องกันตนเอง สามารถป้องกันตนเองจาก สามารถป้องกันตนเองจาก สามารถป้องกันตนเองจาก
ตนเองจากการค้ามนุษย์ จากการค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์รวม การค้ามนุษย์ รวม การค้ามนุษย์ได้
ตนเองจากการค้ามนุษย์ได้
(เป้าหมาย : 1๗๗,๐๐๒ คน) ๑,๒๘๙,๗๘๔ คน ๓๕๒,๐๐๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

15
ผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะได้รับในภาพรวม ในปี 2561 - 2565
เมื่อเทียบกับเป้าหมายตามที่กาหนดในแผนแม่บทฯ ประเด็นความมั่นคง
และยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคงในห้วงปี 2561 - 2565

16
เป้าหมายและตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2561 - 2580

ค่าเป้าหมาย
เป้าหมาย ตัวชี้วัด
ปี พ.ศ. 61 - 65 ปี พ.ศ. 66 - 70 ปี พ.ศ. 71 - 75 ปี พ.ศ. 76 - 80
1. ยกระดับการแก้ไขปัญหา 1.1 การจัดระดับของ
การค้ามนุษย์ของประเทศ ประเทศในรายงาน TIER 2 TIER 2 TIER 1 TIER 1
ไทยให้ได้รับการยอมรับ สถานการณ์
จากสากล การค้ามนุษย์สากล
2. ประเทศไทยสามารถ 2.1 ระดับความสาเร็จในการ จานวนเจ้าหน้าที่รัฐที่ จานวนเจ้าหน้าที่รัฐที่ จานวนคดีทปี่ ระสบ ระยะเวลาในการดาเนินคดี
ป้องกันและปราบปราม ป้องกันและปราบปราม ถูกดาเนินคดีและถูกลงโทษ ถูกดาเนินคดีและถูกลงโทษ ความสาเร็จในการฟ้องร้อง ลดลงร้อยละ 5
ปัญหาการค้ามนุษย์อย่าง การค้ามนุษย์ของประเทศ และศาลลงโทษ เพิ่มขึ้น
ยั่งยืน ไทย ร้อยละ 10
2.2 ร้อยละของแรงงานต่าง ร้อยละ 75 ของแรงงานต่าง ร้อยละ 85 ของแรงงานต่าง ร้อยละ 90 ของแรงงานต่าง ร้อยละ 95 ของแรงงานต่าง
ด้าวและแรงงานไทยที่ได้รับ ด้าวและแรงงานไทยที่ได้รับ ด้าวและแรงงานไทยที่ได้รับ ด้าวและแรงงานไทยที่ได้รับ ด้าวและแรงงานไทยที่ได้รับ
การคุ้มครองตามกฎหมาย การคุ้มครองฯ การคุ้มครองฯ การคุ้มครองฯ การคุ้มครองฯ
และมาตรฐานสากล
2.3 ร้อยละของผู้เสียหายจาก ร้อยละ 80 ของผู้เสียหายจาก ร้อยละ 85 ของผู้เสียหายจาก ร้อยละ 90 ของผู้เสียหายจาก ร้อยละ 95 ของผู้เสียหาย
การค้ามนุษย์ที่ได้รับการ การค้ามนุษย์ที่ได้รับการ การค้ามนุษย์ที่ได้รับการ การค้ามนุษย์ทไี่ ด้รับการ จากการค้ามนุษย์ทไี่ ด้รับการ
คุ้มครองตามกฎหมายและ คุ้มครองฯ คุม้ ครองฯ คุ้มครองฯ คุ้มครองฯ
พันธกรณีระหว่างประเทศ
2.4 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 75 ของกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมาย
ที่ได้รับความรู้ สามารถ ที่ได้รับความรู้ ฯ ทีไ่ ด้รับความรู้ ฯ ทีไ่ ด้รับความรู้ ฯ ทีไ่ ด้รับความรู้ ฯ
ป้องกันตนเองจากการ
ค้ามนุษย์ได้
17
ผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะได้รับที่เป็นรูปธรรม
ตามแนวทางการพัฒนา : การป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ตัวชี้วัด : 1. ปัญหาลดลงร้อยละ 50 จากปี พ.ศ. 2561 2. กลับขึ้นไปอยู่ในระดับ TIER 2 ในปี พ.ศ. 2565
18
ผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะได้รับ ในปี 2565
ตามที่ ได้มีการประชุมคณะกรรมาธิการ ตสร. คณะกรรมาธิการการทหารและความมั่นคงของรัฐ วุฒิสภา ครั้งที่ 35/2564
เมื่อวันพุธที่ 20 ตุลาคม 2564 ณ ห้องประชุม 405 อาคารรัฐสภา พลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร ประธานคณะกรรมาธิการ ตสร. ได้เห็นชอบ
ผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังในการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ปี 2565 ร่วมกับหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักแล้ว นั้น
โดยแนวทางการพั ฒ นา : การป้ อ งกัน และแก้ไ ขปั ญหาการค้ า มนุ ษย์ ผลสั ม ฤทธิ์ ที่ต้อ งการใน ปี 2565
ประกอบด้วย 2 เป้าหมาย คือ 1. ปัญหาลดลงร้อยละ 50 จากปี พ.ศ. 2561 และ 2. กลับขึ้นไปอยู่ในระดับ TIER 2 ในปี พ.ศ. 2565
ซึ่งกระทรวง พม. มีความเห็นสอดคล้องตามที่ท่านประธานเสนอ ด้วยเหตุผล ดังนี้
1. เป้ า หมายผลสั ม ฤทธิ์ ที่ 1. ปั ญ หาลดลงร้ อ ยละ 50 จากปี พ.ศ. 2561 กระทรวง พม. เห็ น ว่ า
สถานการณ์การค้ามนุษย์ในปี 2564 หากจะพิจารณาในภาพรวมสถิติการค้ามนุษย์ พบว่า จานวนคดี ผู้กระทาผิด และผู้เสียหายจาก
การค้ามนุษย์ยังคงมีจานวนลดลง เช่นเดียวกับสถานการณ์ในปี 2563 นับตั้งแต่มีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรน่า-2019
หรือโรคโควิด-19 โดยรัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน กาหนดมาตรการล็อคดาวน์ เพื่อ
ควบคุมการระบาดของ โรคโควิด -19 งดการเดินทาง การเคลื่อนย้าย รวมถึงมาตรการการปิดพรมแดนระหว่างประเทศ ซึ่งปัญหาการ
ค้ามนุษย์โดยส่วนใหญ่นั้นเกิดจากการเคลื่อนย้ายคน หรือการเคลื่อนย้ายแรงงานทั้งสิ้น รวมถึงมาตรการปิดสถาน ประกอบกิจการบาง
ประเภทชั่วคราว เช่น สถานบันเทิง ที่เป็นสถานที่เสี่ยงการค้ามนุษย์ จึงส่งผลทาให้สถานการณ์การค้ามนุษย์ จาวนคดี สถิติต่าง ๆ ยังคง
ลดลง ประกอบกับผู้บังคับใช้กฎหมายได้ดาเนินมาตรการในเชิงรุก มีการกวดขันตรวจตราพร้อมทั้งให้ความรู้กับผู้ประกอบการและผู้ใช้
แรงงานในสถานประกอบการอย่ า งต่อ เนื่ อ ง เพื่อ เป็น การป้ องกันไม่ ให้ กระทาผิ ดหรื อ เข้า ไปมี ส่ว นเกี่ย วข้อ งกับ การค้า มนุษย์ ดังนั้ น
เมื่อเทียบกับปี 2563 แล้ว ในปี 2564 ก็ยังคงมีตัวเลขที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้องตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่ 1 ปัญหาลดลงร้อย
ละ 50 จากปี พ.ศ. 2561
2. เป้าหมายผลสัมฤทธิ์ ที่ 2. กลับขึ้นไปอยู่ในระดับ TIER 2 ในปี พ.ศ. 2565 กระทรวง พม. เห็นว่า
เป้าหมายดังกล่าวสอดคล้องกับเป้าหมายและตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2561 – 2580
(แผนระดับ 3) โดยในปี พ.ศ. 2561 – 2565 ได้กาหนดค่าเป้าหมายอยู่ในระดับ TIER 2 อยู่แล้ว และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้จัดทาแผนการ
ดาเนินงานเพื่อยกระดับประเทศไทยสู่ TIER 2 เรียบร้อยแล้ว ตามที่ได้ชี้แจงในข้างต้น 19
ข้อมูลสถิติการค้ามนุษย์

สถิติผู้เสียหายจาก
ปี สถิติคดีค้ามนุษย์ สถิติผู้กระทาผิด
การค้ามนุษย์
2561 310 615 417
2562 294 817 1,540
2563 132 220 147
2564 104 182 98

ที่มา : ระบบฐานข้อมูลของประเทศไทยฯ www.e-aht.com ผลการดาเนินงานตามปีปฏิทิน ณ วันที่ 19 ต.ค. 2564


20

You might also like