You are on page 1of 35

ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต

(Anti – Corruption Center)


การต่อต้านการทุจริต
1
หัวข้อการบรรยาย
1. โครงสร้าง และหน้าที่ของศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.)
2. ความหมายของทุจริต และคอร์รัปชั่น
3. ประเภทของการทุจริต
4. โทษของการทุจริต
2
1. โครงสร้าง และหน้าที่ของศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.)

3
โครงสร้างของศูนย์ปฏิบัตกิ ารต่อต้านการทุจริต (ศปท.)

กรรมการผู้อานวยการใหญ่ คณะกรรมการธรรมาภิบาล

ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต

4
หน้าที่ของศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.)
สร้างความเชื่อมั่น และภาพลักษณ์ ต่อผู้มีส่วนได้เสีย
จัดทาข้อเสนอแนะในการกาหนดนโยบาย
ให้เห็นถึงความมุ่งมั่นที่จะดาเนินธุรกิจ
และมาตรการในการป้องกันการทุจริต
ด้วยความโปร่งใส

ร่วมมือและสนับสนุนการดาเนินการด้านการป้องกัน เสริมสร้างบรรยากาศการปฏิบตั ิงาน


และต่อต้านการทุจริต กับหน่วยงานภายนอก ที่มุ่งเน้นคุณธรรม ตามค่านิยมองค์กร

รับเรื่องร้องเรียนการทุจริต และเป็นศูนย์กลาง รับผิดชอบในการเข้าร่วมโครงการที่เกี่ยวข้องกับ


ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านการป้องกัน การป้องกัน และปราบปรามการทุจริต
และต่อต้านการทุจริต ทั้งจากภาครัฐและเอกชน
5
2. ความหมายของทุจริต และคอร์รัปชั่น

6
มีฐานะเป็น
เป็น
เป็นนิติบุคคลประเภท
บริษัทจดทะเบียน รัฐวิสาหกิจ
บริษัทมหาชน ในตลาดหลักทรัพย์ฯ
มีกระทรวงการคลังเป็น
ตามพระราชบัญญัติ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
เข้าซื้อขายวันแรก
บริษัทมหาชนจากัด ตามพระราชบัญญัติ
เมื่อ 11 มีนาคม พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2535 วิธีการงบประมาณ
พ.ศ. 2502

7
➢ ทอท. เป็น บริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทย (ตลท.) จึงต้องดาเนินธุรกิจภายใต้
หลักการกากับดูแลกิจการที่ดี สาหรับบริษัทจดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย์

➢ การกากับดูแลกิจ การที่ดี แสดงให้เห็นถึงการมีระบบ


บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้
ซึ่งช่วยสร้าง ความเชื่อมั่น และความมั่นใจ ต่อผู้ถือหุ้น
นักลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
8
ทุจริต (Fraud)
➢ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง ประพฤติชั่ว ประพฤติไม่ดี ไม่ซื่อตรง โกง
คดโกง ฉ้อโกง โดยใช้อุบายหรือเล่ห์เหลี่ยมหลอกลวง เพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ

➢ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1(1) หมายถึง เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบ


ด้วยกฎหมาย สาหรับตนเองหรือผู้อื่น

9
พัฒนาการแนวคิดของการทุจริต
ระยะที่ 1 เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้อานาจหน้าที่ของตน เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน และพรรคพวก
เช่น การรับสินบน

ระยะที่ 2 การทุจริตเกิดจากความร่วมมือระหว่างข้าราชการ นักการเมือง และนักธุรกิจ (ภาคเอกชน)


ในการใช้กฎหมายหรือช่องว่างทางกฎหมายแสวงหาผลประโยชน์

ระยะที่ 3 การสร้างเงื่อนไขต่างๆ ตามกฎหมาย เพื่อให้สามารถนามาใช้แสวงหาประโยชน์ให้กับตนเอง


หรือพวกพ้อง นามาสู่ “การทุจริตเชิงนโยบาย”

10
รูปแบบของการทุจริต
การทุจริตสีขาว คนส่วนใหญ่ยอมรับได้ โดยส่วนใหญ่การรับผลประโยชน์จะอิงขนบธรรมเนียม
ประเพณี เป็นการได้มาแบบไม่ได้ร้องขอ เรียกว่าการแสดงน้าใจ เช่น การให้สิ่งของเล็กๆ น้อยๆ
การกระทาประเภทนี้ ไม่ผิดกฎหมาย ซึ่งการทุจริตแบบนี้น่ากลัวที่สุด
การทุจริตสีเทา คนส่วนหนึ่งเห็นว่าควรถูกลงโทษ แต่อีกส่วนหนึ่งเห็นต่างออกไป
การกระทาประเภทนี้ ไม่ผิดกฎหมาย แต่ไม่ถูกต้องตามหลักปฏิบัติ เช่น การให้ค่านายหน้า
ส่วนลดราคาสินค้า เป็นต้น

การทุจริตสีดา คนส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า มีความผิดและสมควรถูกตาหนิ


การกระทาประเภทนี้ ผิดกฎหมาย ต้องลงโทษด้วยกระบวนการยุติธรรม
11
ความเคยชินต่อการทุจริตในสังคมไทย
คนไทย 1 ใน 6 คน ยอมรับว่าตนเองเคยรับสินบน และเคยมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริต

จากผลการสารวจของ ABAC และ NIDA


12
ความเคยชินต่อการทุจริตในสังคมไทย

87.6% เคยลัดคิว เพื่อซื้อสินค้าหรือใช้บริการต่าง ๆ 80.2% เคยให้สินบน สินน้าใจตอบแทน


เจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ เพื่ออานวยความสะดวก

จากผลการสารวจของ ABAC และ NIDA


13
ความเคยชินต่อการทุจริตในสังคมไทย
26.87% เคยน าวัสดุ, อุปกรณ์ในทีท่ างาน ไปใช้ส่วนตัว 31.39% ยอมจ่ายเงิน หรือถูกรีดไถจากเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ

18.19% เคยใช้ระบบอุปถัมภ์ ให้สิท ธิพิเศษแก่เครือญาติ 12.60% เคยฝากบุตรหลานเข้าโรงเรียน

26.87% เคยรับเงิน เพื่อลงคะแนนเสียงให้กบั นักการเมือง 13.81% เคยให้ของขวัญ หรือติดสินบนเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ

จากผลการสารวจของ ABAC และ NIDA


14
ทุจริต เกิดจากอะไร
15
Fraud Triangle
องค์ประกอบ 3 ด้านที่นาไปสู่การทุจริต
➢ โอกาส (Opportunity) เกิดจากโอกาสหรือการมีช่องโหว่ของระบบ ➢ การหาเหตุผลเข้าข้างตัวเอง (Rationalization) คือ
หรือการควบคุมมีจุดอ่อน เช่น ไม่มีระบบควบคุมแบบอัตโนมัติ การหาเหตุผลสนับสนุนการกระทาทุจริตให้แก่ตนเอง
หรือไม่มีการตรวจสอบทรัพย์สิน และกระทบยอดบัญชีสาคัญทุกเดือน เช่น ใครๆ ก็ทา, อ้างเรื่องความจาเป็นเดือดร้อนส่วนตัว,
อ้างว่าเป็นประเพณีทางธุรกิจ หรืออ้างว่าเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

ธุรกิจจะบริหารจัดการ “โอกาส”

➢ แรงกดดันหรือแรงจูงใจ (Pressure) อาจจะมาจากความยากจน ความจาเป็นที่ต้องใช้เงิน การติดการพนัน


หรือแรงกดดันที่จะต้องแสดงผลการดาเนินงานให้ได้ตามเป้าหมาย หรืออาจเกิดจากความต้องการส่วนตัว
ที่ต้องการทาตัวเหมือนคนอื่น เช่น เพื่อนถือกระเป๋าแบรนด์เนมก็อยากมีเหมือนเพื่อน เป็นต้น
16
ผลกระทบของการทุจริตที่มีต่อธุรกิจภาคเอกชน

17
ผลกระทบของการทุจริตที่มีต่อประเทศ

ความยากจน ความสูญเปล่าของงบประมาณแผ่นดิน ระบบสาธารณูปโภคไม่พัฒนา

ขาดเสถียรภาพทางการเมือง ความไม่ยุติธรรม ขาดแรงจูงใจลงทุนจากต่างชาติ


18
ดัชนีการรับรู้การทุจริต
Corruption Perceptions Index : CPI
คือ ดัชนีที่สะท้อนภาพลักษณ์การทุจริตของประเทศต่างๆ ทั่วโลก
จัดทาโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ
(Transparency International : TI) ซึ่งมีสานักงานใหญ่อยู่ที่
ประเทศเยอรมนี ได้เริ่มจัดทาดัชนีเมือ่ ปี พ.ศ. 2538
โดยค่าสูงหมายถึงมีการทุจริตต่า และค่าต่าหมายถึงมีการทุจริตสูง
โดยในปี พ.ศ. 2550 ได้มีการจัดอันดับทั้งหมด 180 ประเทศ

19
ค่า CPI ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2563

20
ค่า CPI ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2563

21
3. ประเภทของการทุจริต

22
ประเภทของการทุจริต ี่
ระบบบริหารความเสยงทุ จริต
(Fraud)
(Fraud Risk Management)
ทุจริต

ยักยอกทรัพย์ คอร์รัปชั่น การทุจริตงบการเงิน


(Asset Misappropriation) (Corruption) (Financial Statement Fraud)
การกระทาที่นาไปสู่การครอบครองทรัพย์สิน การใช้อานาจหน้าที่โดยมิชอบ กระทาการ การทุจริตในการเงิน การปรับปรุงแก้ไข
ของบริษัทอย่างไม่ถูกต้อง หรือเป็นเหตุให้ ใดๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์อันมิควรได้ รายงานต่างๆ ทางการเงิน เพื่อประโยชน์
บริษัทสูญเสียทรัพย์สิน โอกาสหรือ ทั้งต่อองค์กร ตนเอง หรือผู้อื่น ของตนเองและผู้อื่น
ผลประโยชน์ใด โดยมีเจตนาทีจ่ ะหา
ประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น

ให้สินบน ให้ค่าตอบแทนแบบผิดกฎหมาย ผลประโยชน์ทับซ้อน การขู่กรรโชกในเชิงเศรษฐกิจ


(Bribery) (Illegal Gratuity) (Conflict of Interest) (Economic Extortion)
ให้สินบน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด การให้สิ่งของมีค่าใดๆ เพื่อเป็นการ การกระทาที่บุคคลมีผลประโยชน์ส่วนตัวมาก ข่มขืนใจผู้อื่นให้มอบให้ ยอมจะให้ตน
ที่ให้แก่บุคคล เพื่อจูงใจให้ผู้นั้นกระทาการ แลกเปลี่ยน ภายหลังจากที่บุคคลหนึง่ จนมีผลต่อการตัดสินใจ หรือมีผลต่อ หรือผู้อื่น ได้ประโยชน์ในลักษณะทีเ่ ป็น
หรือไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่ง บุคคลใด ได้ใช้อานาจหน้าที่ดาเนินการ การปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่งที่บุคคลนัน้ ทรัพย์สินโดยใช้กาลังประทุษร้าย หรือ
ไม่ว่าการนั้นชอบ หรือไม่ชอบด้วยหน้าที่ ใดๆ ให้ รับผิดชอบ และส่งผลกระทบต่อประโยชน์ ขู่เข็ญว่าจะทาอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย
ส่วนรวม เสรีภาพ ชื่อเสียง ทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญ
หรือของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอม
23
หมายถึง การใช้อานาจหน้าที่โดยมิชอบ กระทาการใดๆ เพื่อให้ได้มาซึ่ง
ประโยชน์อันมิควรได้ ทั้งต่อองค์กร ตนเอง หรือผู้อื่น
24
สาเหตุหลักของการคอร์รัปชั่น

ต้องการความสะดวก ต้องการแก้ผิด ต้องการได้งาน,


รวดเร็ว ให้เป็นถูก ธุรกิจ

25
ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interest)
หรือความขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวม
หมายถึง การกระทาของบุคคลที่มผี ลประโยชน์ส่วนตนเข้ามาเกี่ยวข้อง จนส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจหรือการปฏิบัติหน้าที่
อาจเกิดขึ้นโดยรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว ทั้งเจตนาหรือไม่เจตนา หรือบางเรื่องเป็นการปฏิบัติสืบต่อกันมาจนไม่เห็นว่าจะเป็นสิ่งผิด
โดยไม่คานึงถึงผลประโยชน์สาธารณะ (ประโยชน์ของส่วนรวม) แต่กลับคานึงถึงประโยชน์ของตนเองหรือพวกพ้อง

การใช้อานาจหน้าที่เพือ่ ส่วนรวม ผลประโยชน์ส่วนตน

ผลประโยชน์ทบั ซ้อน
(COI)
26
รูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interest)
การใช้ทรัพย์สิน ของราชการ เพื่อประโยชน์ส่วนตน
การรับผลประโยชน์ตา่ งๆ
เช่น การน าเครื่องใช้สานักงานกลับไปใช้ที่บา้ น
เช่น การรับสิน บน รับของขวัญ รับของบริจาค เป็น ต้น
การน ารถยนต์ในราชการไปใช้เพื่องานส่วนตัว
การทางานพิเศษ
การทาธุรกิจกับตนเอง
เช่น การรับงานพิเศษเป็นที่ปรึกษาให้กับบริษัทเอกชน
เช่น การซื้อสิน ค้าจากบริษัทของตนเอง การทาสัญ ญาเช่ารถ
ที่มีสัญญากับองค์กรของรัฐ พนักงานฝ่ายบัญชีใช้เวลางาน
ไปสัมมนาและดูงาน จากบริษัททีต่ นเองมีหนุ้ ส่วนอยู่ ไปทาบัญชีให้บริษัทอื่น

การใช้ตาแหน่งหน้าที่แ สวงหาประโยชน์แก่พวกพ้อง เครือญาติ ผลประโยชน์ทับซ้อนประเภทอื่น ๆ


เช่น การจัดจ้างบริษัทของญาติ ซึ่งดาเนินธุรกิจเกี่ยวกับ เช่น การเดินทางไปดูงาน 10 วัน แต่ใช้เวลาดูงานเพียง 6 วัน โดยอีก
คอมพิวเตอร์ ให้เป็นผู้ซ่อมบารุงระบบคอมพิวเตอร์ขององค์กร 4 วัน เป็นการท่องเที่ยว ไม่ใช้เวลาในราชการ ปฏิบัติงานอย่างเต็มที่
การใช้อานาจหน้าที่ฝากลูกหลานเข้าทางาน เนื่องจากต้องการปฏิบัติงานล่วงเวลาเพื่อให้สามารถเบิกเงินค่าล่วงเวลา
27
4. โทษของการทุจริต

28
ี่
ระบบบริหารความเสยงทุ จริต
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561
(Fraud Risk Management)

หมวด 6 การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม

เจ้าหน้าที่ของรัฐ

ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานรัฐ ลูกจ้างของส่วนราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น


ข้าราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ที่มีเงินเดือนประจา

29
โทษของการทุจริต
โทษตามกฎหมายอาญา ดังนี้
➢ มาตรา 147 บัญ ญัติว่า
“ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซื้อ ทา จัดการ หรือรักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์นนั้ เป็นของตนหรือเป็นของผู้อนื่ โดยทุจริต
หรือโดยทุจริตยอมให้ผอู้ ื่นเอาทรัพย์นนั้ เสีย ต้องระวางโทษ จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต
และปรับตั้งแต่สองพันบาท ถึงสี่ห มื่น บาท”
➢ มาตรา 157 บัญ ญัติว่า
“ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ปฏิบัติหรือละเว้น การปฏิบตั ิหน้าทีโ่ ดยมิ ชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึง่ ผู้ใด หรือปฏิบัติ
หรือละเว้น การปฏิบตั ิหน้าทีโ่ ดยทุจริต ต้องระวางโทษ จาคุกตั้งแต่หนึง่ ปี ถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองพันบาท ถึงสองหมื่นบาท
หรือทั้งจา ทั้งปรับ”

30
โทษทางวินัย
คู่มือวินัย
พนักงาน และ
วินัยไม่ร้ายแรง วินัยร้ายแรง
ลูกจ้าง ทอท. ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ให้ออก ปลดออก

➢ ทุจริตต่อหน้าที่ เป็นความผิดอย่างร้ายแรง

31
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขัดกัน
ระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคล กับประโยชน์ส่วนรวม

32
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูระบบบริ
ญ ว่ าด้ ว ยการป้
ี่

หารความเสยงทุ
(Fraud Risk Management)งกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561
จริต

หมวด 6 การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม มาตรา 128

ห้าม
สรุปมาตรา 128 เจ้าพนักงานของรัฐ ต้องรู้ !!! รับทรัพย์สินหรือ
รับประโชน์อื่นใด

ข้อยกเว้น
1. รับตามกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับที่ออกโดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ค่าเบี้ยประชุม
2. รับตามธรรมจรรยา ตามหลักเกณฑ์ และจานวนที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด คือ ไม่เกิน 3,000 บาท
3. รับจากบุพการี ผู้สืบสัน ดาน หรือญาติทใี่ ห้ตามประเพณี หรือตามธรรมจรรยา ตามฐานานุรูป

33
นโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่นของ ทอท.

34
ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.)
❑ Email : anti-corruption_center@airportthai.co.th
❑ Telephone : 02 535 6621 - 23

35

You might also like