You are on page 1of 80

การฟอกเงิน (Money Laundering)

ความหมายของการฟอกเงิน (Money Laundering)

 การฟอกเงิน คือ การเปลี่ยนแปลงเงินทีไ่ ด้รับมาโดยไม่ถูกกฎหมาย


ให้กลายเป็นเงินที่ได้มาโดยสุจริต หรือพิสูจน์ไม่ได้ว่าทุจริต พูดง่ายๆ ก็คอื
กระบวนการที่ทำาให้เงินสกปรกกลายเป็นเงินสะอาด
หรือกลายเป็นเงินทีส่ ามารถอ้างอิงได้ว่าได้มาอย่างไร
แหล่งที่มาของเงินสกปรก
 เงินจากการค้ายาเสพย์ติด ถือว่าเป็นแหล่งใหญ่ที่สุดของโลก
 เงินจากวงการเมืองและคอร์รัปชั่น
 เงินทีไ่ ด้จากการทีบ
่ คุ คล หรือนิติบคุ คล
ก่ออาชญากรรมทางการเงินโดยไม่ชอบ ซึ่งคือ เงินจากการฉ้อโกงประชาชน
 เงินจากวงการพนัน
 เงินจากบริษัท หรือบุคคลของบริษัทข้ามชาติ
 เงินจากรัฐ
เป็นเงินทีบ่ างประเทศนำาไปเก็บไว้เพื่อดำาเนินกิจกรรมบางอย่างทีไ่ ม่เปิดเผย
 เงินนอกระบบอื่นๆ และเงินทีไ่ ด้มาจากแหล่งอื่นๆ ทีผ่ ิดกฎหมาย
ขั้นตอนในการฟอกเงิน (Stage)
 วิธท
ี ี่ 1 การยักย้ายถ่ายเทเงินเข้าไปอยู่ในระบบเงินปกติ (Placement)
องค์การอาชญากรรมส่วนใหญ่
เมื่อได้เงินสดมาจากการดำาเนินการที่ผิดกฎหมายจำานวนมหาศาลแล้ว
จะนำาเงินเหล่านั้นกลับไปลงทุนในกิจการที่ถูกกฎหมายอื่นๆ
ภายในประเทศ โดยผ่านระบบธนาคาร หรือโอนเงินออกนอกประเทศ
เพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมาย
เพราะในประเทศนั้นมีกฎหมายเกี่ยวกับการฟอกเงิน
ที่ควบคุมการเคลื่อนย้ายเงินสดบังคับใช้อยู่
ขั้นตอนในการฟอกเงิน (Stage)
 วิธีที่ 2 การจัดทำารายงานทางการเงินเป็นหลายช่วง หรือหลายชัน
้ เพื่อปกปิด
หรือตัดทอนร่องรอย หรือที่มาของเงินนั้น (Layering)
เป็นการโอนเงินเข้าสู่ระบบธนาคาร โดยผ่านธนาคาร
และ/หรือสถาบันการเงินหลายๆ แห่ง
อันเป็นการทำารายงานทางการเงินให้สลับซับซ้อนมากขึ้น
ซึ่งช่วงสุดท้ายจะเป็นการโอนเงินไปยังแหล่งทีต่ ้องการโอนเงินไปไว้จริง
ขั้นตอนในการฟอกเงิน (Stage)

 วิธีที่ 3 การผสมผสานระหว่างรายได้จากการค้าทีผ่ ิดกฎหมาย กับการค้าปกติ


(Integration)
วิธีการนี้เป็นการจัดเตรียมทำาหลักฐานต่างๆ ให้เป็นสิ่งชอบด้วยกฎหมาย คือ
ผู้ฟอกเงินจะนำาเงินก้อนมหาศาลทีไ่ ด้มาไปผ่านเมืองท่าทีม่ ีด่านศุลกากร เช่น
ฮ่องกง สิงคโปร์ ดูไบ และหมู่เกาะเคย์แมน เป็นต้น
ซึ่งเมืองท่าเหล่านี้จะมีธนาคาร หรือสถาบันการเงินต่างๆ ตั้งสาขาย่อยอยู่แล้ว
เพื่อเปลี่ยนสภาพของเงินนั้น ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
ความเป็นมาของการฟอกเงิน
 ปัจจุบันระบบเศรษฐกิจโลกมีความสัมพันธ์กันหลายมิติ
ทัง้ ในกรอบพหุพาคีที่มีองค์การการค้าโลกกำากับดูแลอยู่ มีประเทศสมาชิก
150 ประเทศ และยังมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดในรูปและอื่นๆ ด้วย
เป็นเครือข่ายกันทัว่ โลก
จึงมีผลให้ขนาดของเศรษฐกิจโลกขยายใหญ่โตมากขึ้นตามลำาดับ
 ในปี 2545 ธนาคารโลกได้จัดทำาตัวชีว้ ัดการพัฒนาประเทศ จำานวน 152
ประเทศทัว่ โลก พบว่ามูลค่าของรายได้ประชาชาติรวมทัง้ สิ้น 31,720
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ในปี 2525
ขนาดของเศรษฐกิจทางการของโลกมีมลู ค่าเพียง 20,658
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ความเป็นมาของการฟอกเงิน (ต่อ)
 ขณะทีเ่ ศรษฐกิจในระบบทางการของโลกขยายใหญ่โตนั้น
อีกด้านหนึ่งของระบบเศรษฐกิจที่คขู่ นานและแทรกตัวไปกับเศรษฐกิจทางกา
ร คือ ระบบเศรษฐกิจใต้ดินหรือเศรษฐกิจนอกระบบ
 จากการประเมินของกองทุนการเงินระหว่างประเทศเมื่อไม่นานมานี้ พบว่า
มีเงินสกปรกที่มาจากธุรกิจผิดกฎหมายประมาณ
300,000-500,000
ล้านดอลลาร์สหรัฐไหลเข้าสู่ระบบการเงินทัว่ โลกต่อปี
เงินจำานวนนี้ส่วนหนึ่งจะถูกนำาไปใช้ในการก่ออาชญากรรมและลงทุนในธุรกิ
จทั้งถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย
ความเป็นมาของการฟอกเงิน (ต่อ)
 นักเศรษฐศาสตร์จำานวนหนึ่ง เชือ่ ว่าทรัพย์สินของประเทศต่างๆ
และของโลกที่เพิ่มสูงขึ้นส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการทำาผิดกฎหมายขององค์ก
รอาชญากรรมต่างๆ ของโลก
 การศึกษาของ Schneider และ Erste
ได้แสดงให้เชือ่ ว่าปริมาณเงินจากเศรษฐกิจใต้ดินไปซุกซ่อนอยู่ส่วนใดส่วนห
นึ่งของระบบเศรษฐกิจทางการ เพราะการฟอกเงิน
มักจะเกีย่ วข้องโดยตรงกับเศรษฐกิจใต้ดินโดยเฉพาะประเภทธุรกิจผิดกฎหมา
ย จึงเป็นปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ ทั่วโลก
และขบวนการฟอกเงินมักจะทำากันเป็นเครือข่ายทั้งในประเทศและต่างประเท
ศเชื่อมโยงโดยมีคนเกี่ยวข้องจำานวนมาก
ความเป็นมาของการฟอกเงิน (ต่อ)
 การศึกษาของ Vito Tanzi ได้ชใี้ ห้เห็นว่า
ปริมาณเงินที่ถูกฟอกจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับอัตราการเจริญเติบโตทางเ
ศรษฐกิจของประเทศ เนื่องมาจากสาเหตุหลักทั้ง 6 ประการ ดังนี้
1. ทำาให้เกิดความผิดพลาดในการกำาหนดนโยบายเศรษฐกิจการเงินของประเทศ
2. ขนาดของจำานวนเงินทีถ่ ูกฟอกเพิ่มขึ้น
ส่งผลต่อการขึ้นลงของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบีย้ ในประเทศ
3. การจัดสรรทรัพยากรของประเทศอาจผิดพลาดไป
ความเป็นมาของการฟอกเงิน (ต่อ)

4.
สถาบันการเงินมักจะถูกใช้เป็นสถานทีฟ่ อกเงินจากเหล่าอาชญากรทางเศรษฐ
กิจ โดยเฉพาะในประเทศทีไ่ ม่มีกฎหมายต่อต้านการฟอกเงิน
5. ผลกระทบต่อผู้ประกอบการธุรกิจถูกกฎหมาย
มีความเป็นไปได้ที่ธุรกิจถูกกฎหมายจะถูกดึงเข้าไปสู่วงจรของการฟอกเงินข
องกลุ่มอาชญากรทางเศรษฐกิจโดยไม่ได้ตั้งใจ เช่น
การซื้อขายแลกเปลี่ยนอสังหาริมทรัพย์ หรือการซื้อขายหุ้น เป็นต้น
6. ผลกระทบต่อการจัดสรรงบประมาณของประเทศ
เป็นผลจากข้อมูลด้านเศรษฐกิจและการจัดเก็บรายได้ที่คลาดเคลื่อนไป
จึงมีผลต่อประสิทธิภาพในการพัฒนาประเทศจึงลดลง
ความเป็นมาของการฟอกเงิน (ต่อ)
 การศึกษาของ Vito Tanzi ยังได้ระบุด้วยว่า การจัดสรรทรัพยากรต่างๆ
ทัว่ โลกถูกบิดเบือนไปไม่ใช่แต่เฉพาะปัจจัยด้านทุนและแรงงานเท่านั้น
แต่ยังรวมถึงความน่าเชือ่ ถือของรัฐบาลสำาหรับประเทศทีไ่ ม่ให้ความร่วมมือกั
บองค์กรระหว่างประเทศและในอนาคตนี้
แนวโน้มของอาชญากรข้ามชาติทขี่ ยายตัวอย่างรวดเร็วทัว่ โลกจะก่อให้เกิดปั
ญหาการฟอกเงินตามมารุนแรงขึ้นมาก
 ดังนั้น ปัญหาการฟอกเงินไม่ได้เป็นปัญหาของประเทศใดประเทศหนึ่ง
แต่เป็นปัญหาของทุกประเทศในโลก
ความเป็นมาของการฟอกเงินในประเทศไทย
 ประเทศไทยได้มีกฎหมายการฟอกเงินบังคับใช้เต็มรูปแบบเมื่อวันที่ 27
ตุลาคม 2543 หลังจากผ่านกระบวนการทางรัฐสภาตั้งแต่วันที่ 21
เมษายน 2542 ได้ระบุความผิดทางอาญาที่เป็นความผิดมูลฐาน 7 ฐาน
และได้มีการจัดตั้งสำานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.)
กฎหมายฉบับนี้ได้ให้อำานาจอย่างกว้างขวางแก่ ปปง.
ในการสำารวจแหล่งทีม่ าของทรัพย์สินส่วนบุคคลต่างๆ
ความเป็นมาของการฟอกเงินในประเทศไทย (ต่อ)
 ปัจจัยที่ทำาให้เกิดการฟอกเงินในประเทศไทย มีอย่างน้อย 3 ประการ
1.
ประเทศไทยมีขนาดเศรษฐกิจนอกกฎหมายขนาดใหญ่และส่งผลกระทบทางเ
ศรษฐกิจ สังคม และการเมืองค่อนข้างสูง
2. การคอร์รัปชันของราชการและนักการเมืองมีอยู่ในระดับสูง
3. ปัจจัยแวดล้อมทางภูมิศาสตร์เป็นใจหลายด้าน
นับตั้งแต่ทำาเลทีต่ ั้งของไทยเหมาะทีจ่ ะเป็นแหล่งอาชญากรรมที่ผิดกฎหมาย
รูปแบบของการฟอกเงิน

 วิวัฒนาการของเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์
ทำาให้การเคลื่อนย้ายเงินทุนเป็นไปอย่างรวดเร็ว
ประกอบกับสถาบันต่างๆ ก็แข่งขันกันอำานวยความสะดวกให้กับลูกค้า
ทำาให้การโอนเงินเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว
และไม่ค่อยมีการตรวจสอบถึงแหล่งที่มาของเงินโอน
 ส่วนรูปแบบการฟอกเงินในเอเชียนั้นยังมาสลับซับซ้อนมากนัก
ส่วนใหญ่เป็นการฟอกเงินผ่านธนาคารของประเทศในเอเชีย
การฟอกเงินผ่านธนาคารและสถาบันการเงิน
การฟอกเงินผ่านธนาคารและสถาบันการเงิน

 เป็นวิธีที่สะดวกและง่าย การฟอกเงินในประเทศไทยก็นิยมใช้วิธนี ี้
 ทำาให้ดูซบ ั ซ้อนโดยการโอนเงินไปประเทศอื่นหรือบัญชีอื่น หลายๆ
ทอด แล้วกลับมาที่บัญชีต้น เพื่อกลบเกลื่อนแหล่งที่มาของเงิน
เมื่อเป็นที่สงสัยอาจย้ายธนาคาร หรือมอบหมายให้บุคคลอื่นทำาแทน
 วิธกี ารฟอกเงินผ่านธนาคารและสถาบันการเงินมี 6 วิธี ดังนี้
การฟอกเงินผ่านธนาคาร

1. วิธกี ารฝากเงิน
2. วิธกี ารโอนเงิน
3. วิธกี ารซื้อแคชเชียร์เช็ค ตั๋วแลกเงิน และเช็คเดินทาง
4. วิธสี งั่ จ่ายเช็ค
5. วิธกี ารกู้เงิน
6. วิธกี ารทำาบัตรเครดิต
วิธีการฝากเงิน

 ทำาการเปิดบัญชีโดยชื่อหลายชือ่ เป็นชือ่ ในนามแฝง


โดยจะปกปิดรายละเอียดส่วนตัวในแบบฟอร์มการเปิดบัญชีของธนาค
าร เอกสารจะให้กับธนาคารไม่ครบ ทำาให้ยากต่อการตรวจสอบ
มีการนำาฝากเข้าบัญชีอย่างสมำ่าเสมอ
เสร็จแล้วจะมีการถอนเงินจากในบัญชีทั้งหมดออกไปไว้ที่อื่น
หรือส่งต่อไปยังต่างประเทศ
วิธีการโอนเงิน

 อาชญากรจะเปิดบัญชีเงินฝากกับธนาคารภายในประเทศ
แล้วโอนเงินระหว่างประเทศ โดยใช้ระบบการโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์
โดยจะไปเปิดบัญชีที่ต่างประเทศไว้เอง หรือโอนเข้าบัญชีผู้อื่น
เงินที่นำามาฟอกส่วนใหญ่เป็นเงินที่ผดิ กฎหมาย
โดยเงินที่ฟอกผ่านธนาคารแล้ว ก็จะโอนกลับไปสู่อาชญากร
เงินที่ผิดกฎหมายก็จะแปรสภาพเป็นเงินที่ถูกกฎหมาย
วิธีการโอนเงิน
วิธีการซือ้ แคชเชียร์เช็ค ตั๋วแลกเงิน และเช็คเดินทาง

 อาชญากรที่ได้เงินมาจากการทำาผิดกฎหมายจะนำาเงินสดมาแปลงเป็นแค
ชเชียร์เช็ค ตั๋วแลกเงิน และเช็คเดินทาง
โดยอาจจะมาซือ้ ครั้งละหลายฉบับที่ธนาคาร
เพื่อความง่ายต่อความสะดวกในการพกพา และสามารถนำาเงินไปขึ้นเงิน
ณ ธนาคารปลายทางที่ระบุในเอกสาร
และโดยที่ธนาคารต้นทางมักไม่ค่อยสอบถามรายละเอียดของที่มาของเงิ
นว่ามาจากไหน
วิธีสั่งจ่ายเช็ค

 ทำาการเปิดบัญชีเงินฝากกระแสรายวันกับธนาคารใดธนาคารหนึ่ง
แล้วทำาการสัง่ จ่ายเช็ค เพื่อนำาไปซื้อทรัพย์สนิ ที่มีค่าสูง เช่น ที่ดิน
อาคาร รถยนต์ หรือนำาไปชำาระหนี้ที่มีภาระผูกพันกับเจ้าหนี้
ทั้งธนาคาร และบุคคลทั่วไป ซึ่งเมื่อผูถ้ ือเช็คนำาเช็คไปขึ้นเงิน
หรือเข้าบัญชีใหม่กับธนาคาร ก็จะสามารถแปลงเป็นเงินที่สะอาดได้
วิธีการกู้เงิน

 ทำาทีขอกู้เงินจากธนาคารไปเป็นจำานวนหนึ่ง
นัยว่าเพื่อใช้จ่ายในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
หลังจำาหน่ายยาเสพติดให้แล้ว ก็นำาเงินที่ได้รับมา บวกกับเงินที่กู้ไป
แล้วเอามาชำาระคืนธนาคารก็เป็นอันเสร็จสิ้นการฟอกเงินสกปรกให้เป็
นเงินสะอาด
วิธีการทำาบัตรเครดิต
 อาชญากรจะไปติดต่อกับธนาคาร เพื่อขอทำาบัตรเครดิต
โดยขอทำาบัตรทอง ซึ่งได้วงเงินค่อนข้างสูง
วิธกี ารนี้อาชญากรจะนำาหลักฐานการเดินบัญชีที่มีเงินฝากสูง
เดินบัญชีสมำ่าเสมอมาเป็นหลักฐานประกอบการพิจารณาอนุมัติให้กับธ
นาคาร เมื่อธนาคารอนุมัติก็จะนำาบัตรไปใช้ซื้อสินค้าที่มีราคาสูง
หรือเบิกเงินสดล่วงหน้าที่ธนาคารที่ทำาบัตร หรือกดเงินสดที่ตู้เอทีเอ็ม
เมื่อถึงรอบการเรียกเก็บเงิน
อาชญากรก็จะนำาเงินที่ได้รับมาจากการกระทำาผิดกฎหมาย
นำามาชำาระให้กับธนาคาร ก็กลายเป็นเงินที่ถูกกฎหมาย
ธนาคารต่างชาติในข่ายความเสี่ยงสูง
 American International Bank (จดทะเบียนในอันติกวั )
 British Bank of Latin America (จดทะเบียนในบาฮามาส)
 British Trade and Commerce Bank (จดทะเบียนในโดมินิกา)
 Caribbean American Bank (จดทะเบียนในอันติกัวและบาร์บูดา)
 European Bank (จดทะเบียนในวานูอาตู)
 Federal Bank (จดทะเบียนในบาฮามาส)
 Guardian Bank and Trust (Cayman) Ltd (จดทะเบียนในหมู่เกาะเคย์แมน)
 Hanover Bank (จดทะเบียนในอันติกวั และบาร์บูดา)
 MA Bank (จดทะเบียนในหมู่เกาะเคย์แมน)
 Overseas Development Bank and Trust (จดทะเบียนในโดมินิกา)
 Swiss American Bank (จดทะเบียนในอันติกวั และบาร์บูดา)
 Swiss American National Bank (จดทะเบียนในอันติกัวและบาร์บูดา)
รูปแบบของการฟอกเงินในประเทศไทย
 นอกเหนือจากการผ่านระบบธนาคารทีส่ ำาคัญมีดังนี้
2. ระบบโพยก๊วน
3. การใช้ใบอินวอยซ์ (Invoice) หรือแอล.ซี. (Letter of Credit) ปลอม
4. ตลาดหุ้น
5. การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์
6. การฟอกเงินโดยการจัดตั้งธุรกิจเงินสดขึ้นมาบังหน้า
7. ฟอกเงินในโลกไซเบอร์
ระบบโพยก๊วน
 เป็นวิธีการส่งเงินหรือโอนเงินในแบบดั้งเดิมของชาวจีน
ระบบโพยก๊วนถูกเรียกขานว่าเป็นเหมือนกับธนาคารใต้ดิน
ไม่มีชื่อบันทึกให้รู้ว่าใครเป็นผู้โอนอย่างเป็นทางการ
 ให้ความสะดวกและคิดค่าธรรมเนียมถูกกว่าระบบธนาคาร
 มีพัฒนาการมาจากการที่คนจีนอพยพต้องการจะส่งเงินกลับไปให้พ่อแม่พี่น้อ
งที่ยังอยู่ในแผ่นดินใหญ่
 ระบบที่เอื้ออำานวยต่อการหลีกเลี่ยงภาษี
และการทำาประโยชน์ทางด้านส่วนต่างของอัตราแลกเปลี่ยน
เพราะทางราชการไม่สามารถตรวจสอบระบบการซื้อขายแลกเปลี่ยนและควบ
คุมการปริวรรตเงินตราได้ จึงเรียก เราเรียกว่า ตลาดมืด (Black Market)
ระบบโพยก๊วน
การใช้ใบอินวอยซ์ (Invoice)หรือแอล.ซี.(Letter of Credit) ปลอม

 เป็นการโอนเงินโดยผ่านหลักฐานเท็จทางการค้าระหว่างประเทศ
เช่นการกรอกใบอินวอยซ์ปลอม
เพื่อแสดงว่าได้มีการสั่งซื้อสินค้าเข้ามาจากต่างประเทศ
หรือได้มีการส่งสินค้าออกไปนอกประเทศ โดยไม่ได้ส่งมอบสินค้ากันเลย
เพื่อเป็นข้ออ้างในการโอนเงิน
 วิธีนี้ยังนำาไปใช้ในการโกงภาษีมูลค่าเพิ่มของประเทศไทยด้วย
ตลาดหุ้น
 ช่วงทีเ่ ศรษฐกิจมีการขยายตัวค่อนข้างสูง
ส่งผลให้การซื้อขายแต่ละวันมีมูลค่าสูงมาก
และมีผู้มาซื้อขายหลักทรัพย์เป็นจำานวนมาก
ทำาให้ยากที่จะตรวจสอบทีม่ าทีไ่ ปของเงินเหล่านี้
 หุ้นทีม
่ ีกจิ การไม่ดี (หุ้นเน่า)
มักเป็นหุ้นทีเ่ งินสกปรกต้องการเข้ามาซื้อเพื่อเป็นเจ้าของกิจการ
และใช้บริษัทเหล่านั้นเป็นแหล่งฟอกเงินสกปรกให้สะอาด
 การทำาธุรกรรมผ่านบริษัททีม ่ ีรายชือ่ ในตลาดหุ้น
แต่ไม่ได้ทำาธุรกิจอื่นใดนอกจากการฟอกเงิน เช่น บริษัทวายบีเอ็ม แม็กเน็กซ์
อินเตอร์เนชันแนล ในตลาดหุ้นโตรอนโต เป็นต้น
การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์
 สามารถฟอกเงินครั้งหนึ่งๆ ได้เป็นปริมาณมาก
และมีการซื้อขายเปลี่ยนมือไปได้อีกหลายทอด
ในการโอนและเปลี่ยนมือนี้จะมีการปั่นราคาทีด่ ินขึ้นไปจนสูง
 วิธีการนี้นอกจากจะมีผลต่อการฟอกเงินแล้ว
ยังมีผลต่อราคาอสังหาริมทรัพย์พุ่งขึน้ เกินความเป็นจริงหลายเท่าตัวด้วย
การฟอกเงินโดยการจัดตั้งธุรกิจเงินสดขึ้นมาบังหน้า

 ที่นิยมทำากันได้แก่ การตั้งสถานีบริการนำ้ามัน ร้านอาหาร รีสอร์ท


โรงแรม สถานเริงรมย์ เป็นต้น
 อาจมีการจัดตั้ง หรือซื้อกิจการในต่างประเทศ
แล้วให้กิจการของตนในประเทศกู้เงินสด
หรือซือ้ กิจการในต่างประเทศดังกล่าวในราคาแพงกว่าปกติ ทั้งนี้
เพื่อให้เงินที่ได้มาโดยผิดกฎหมายกลายเป็นเงินที่ถูกต้องตามกฎหมาย
ซึง่ จะถูกใช้จ่ายหมุนเวียนในกิจการทั้งสองแห่ง
การฟอกเงินโดยการจัดตั้งธุรกิจเงินสดขึ้นมาบังหน้า
ฟอกเงินในโลกไซเบอร์ : การฟอกเงินแห่งศตวรรษที่ 21

 ตลาดโลกที่ไร้กฎเกณฑ์การควบคุม ทำาให้ง่ายต่อการทำาธุรกิจที่น่าสงสัยต่างๆ
การดำาเนิน และปฏิบตั ิการต่างๆ ถูกปกปิด
 การเพิ่มขึ้นของธนาคารอิเล็กทรอนิกส์
และระบบการชำาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
ได้เปิดโอกาสทองให้แก่นักฟอกเงิน
เนื่องจากลูกค้าสามารถเป็นใครก็ได้ในหน้าจอคอมพิวเตอร์ทตี่ ั้งอยู่ทใี่ ดก็ได้ใ
นโลก
 มีบริการมากมายทีเ่ สนอโดยบริษัทผู้ให้บริการต่างๆ
เพื่อคนต่างด้าวผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท
แน่นอนว่าอินเตอร์เน็ตกลายเป็นปัจจัย
และตัวช่วยสำาคัญในการเติบโตขึน้ ของศูนย์การเงินต่างด้าวทีไ่ ม่มที ี่มาที่ไปแน่
ฟอกเงินในโลกไซเบอร์ : การฟอกเงินแห่งศตวรรษที่ 21

 การทีค่ ุณสมัครของอีเมลล์ฟรี และเช็คอีเมลล์จากที่สาธารณะต่างๆ


ก็เท่ากับว่าการติดตามร่องรอยการติดต่อสื่อสารของคุณแทบจะเป็นไปไม่ได้เ
ลย
 องค์การอาชญากรรมใช้การเข้ารหัสระบบดิจิตอล
ซึ่งมีความปลอดภัยสูงกับระบบโทรศัพท์ของตน
ทำาให้ขัดขวางความพยายามของทางการในการติดตาม
และสืบสวนสอบสวนปฏิบตั ิการของอาชญากร
ฟอกเงินในโลกไซเบอร์ : การฟอกเงินแห่งศตวรรษที่ 21

 มีการคาดการณ์ถึง การสร้าง “สกุลเงินไซเบอร์” ขึ้นมาใช้ ซึ่งคือ


การสร้างกลไกบางอย่างเพื่อเอื้อให้มีการโอนมูลค่าเงิน
โดยไม่จำาเป็นต้องใช้เงินสด
 ระบบนี้มหี ลายชือ่ ได้แก่ การชำาระเงินในโลกไซเบอร์ เงินในระบบดิจติ ัล
เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ แต่ทงั้ หมดนีถ้ ูกจัดประเภทใต้คำาว่า
“เทคโนโลยีการชำาระเงินอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Payment Technologies)
 สามารถโอนเงินจากคอมพิวเตอร์
โดยไม่มีความจำาเป็นต้องยุ่งเกี่ยวกับสถาบันการเงินแบบเดิม
สถานที่สำาหรับการฟอกเงิน
สถานทีส่ ำาหรับการฟอกเงินที่เป็นที่รู้จักตามแหล่งต่างๆ ทั่วโลก อาจสรุปได้ดังนี้
 ธนาคารในประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ซึ่งค่อนข้างจะมีชอื่ เสียงว่าเป็นแหล่งเงินฝากของผูท้ ี่ไม่ตอ้ งการเปิดเผยตัวเป็นจำานว
นมาก ทั้งที่เป็นเงินจากการทำาผิดกฎหมายและถูกกฎหมาย
เพราะประเทศสวิตเซอร์แลนด์มีกฎหมายคุ้มครองความลับของลูกค้าอย่างเข้มงวด
และมีระบบการโอนเงินที่สะดวกรวดเร็ว
 สถาบันการเงินในหมู่เกาะคาริเบียน
เป็นสถานที่อยู่ใกล้กบั แหล่งเงินที่ใหญ่ที่สุดของโลก คือ สหรัฐอเมริกา
จึงเปลีย่ นมาเป็นแหล่งบริการฟอกเงิน ที่มีชื่อเสียงโด่งดังมาก ก็คือ Cayman Island
ซึ่งมีสาขาธนาคารทั่วโลกกว่า 550 ธนาคาร ตัง้ อยู่บนเกาะที่มีประชากรเพียง 32,000
คน มีสินทรัพย์รวมกว่า 400,000 ล้านดอลลาร์ไม่มีการเก็บภาษี
สถานที่สำาหรับการฟอกเงิน
 สถาบันการเงินในหมู่เกาะคาริเบียน
เป็นสถานที่อยู่ใกล้กบั แหล่งเงินที่ใหญ่ที่สุดของโลก คือ สหรัฐอเมริกา
จึงเปลีย่ นมาเป็นแหล่งบริการฟอกเงิน ที่มีชื่อเสียงโด่งดังมาก ก็คือ Cayman Island
ซึ่งมีสาขาธนาคารทั่วโลกกว่า 550 ธนาคาร ตัง้ อยู่บนเกาะที่มีประชากรเพียง 32,000
คน มีสินทรัพย์รวมกว่า 400,000 ล้านดอลลาร์ไม่มีการเก็บภาษี
 หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน (British Vergin Island) ซึ่งเป็นของอังกฤษ
มีลักษณะการดำาเนินกิจกรรมที่คล้ายคลึงกับเกาะเคย์แมน
 ประเทศแถบศูนย์กลางทางการเงิน โดยเฉพาะที่เป็นหมู่เกาะ เช่น
ทางยุโรปมีเกาะเล็ก ๆ หลายแห่งที่อยู่นอกเกาะฝรั่งเศส
หรืออังกฤษที่เรียกว่าเกาะไอร์ออฟแมน เพื่อไว้สำาหรับการฟอกเงิน
 สำาหรับในเอเชียแล้ว ฮ่องกง และสิงคโปร์ ค่อนข้างจะถูกจับตามองอย่างมาก
ขนาดของการฟอกเงิน
 จากการประเมินของนักวิชาการและองค์กรระหว่างประเทศ
พบว่าแนวโน้มปริมาณการฟอกเงินจากทั่วโลกเพิ่มขึน้ โดยในปี 2530
องค์การสหประชาชาติ
ประเมินว่าปริมาณเงินจากการค้ายาเสพติดทั่วโลกมีจำานวนประมาณ 300,000
ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่ในการประชุมของ FATF ในปี 2539
ได้นำาประเด็นเกี่ยวกับขนาดของปริมาณการฟอกเงินทัว่ โลกมาอภิปรายกัน
เพื่อให้ได้ข้อมูลทีสามารถนำาไปปฏิบัติได้จริง
อย่างไรก็ตามผลของการประชุมในครั้งนั้นยังหาข้อสรุปไม่ได้จนทำาให้ FATF
ได้จัดตั้ง Ad Hoc Group ขึน้ มาศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติม
ขนาดของการฟอกเงิน (ต่อ)
 ต่อมาความพยายามที่จะประเมินขนาดของการฟอกเงินทัว่ โลกขององค์กรระ
หว่างประเทศ ได้มีความชัดเจนในระดับหนึ่ง ในปี 2538
ประมาณว่าการฟอกเงินมีมูลค่าสูงถึง 500,00 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
 ต่อมาในปี 2546
องค์การสหประชาชาติได้ประมาณการว่ามีเงินหมุนเวียนอยู่นอกระบบธนาคา
ร ทั้งที่ผ่านการฟอกเงินและไม่ผ่านการฟอกเงิน มีจำานวนสูงถึง 200,000
ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี ซึ่งจำานวนเงินที่ถูกฟอกนี้
เครือข่ายเพื่อการควบคุมอาชญากรรมทางการเงิน (Financial Crimes
Enforcement Network หรือ FinCEN) ของสหรัฐอเมริกา
เห็นด้วยกับจำานวนเงินดังกล่าว
หากนับรวมการหลีกเลี่ยงภาษีและการศุลกากรไว้ด้วย
เพราะปัจจุบันอาชญากรทางเศรษฐกิจมักจะฟอกเงินผ่านกลไกการค้าระหว่าง
ประเทศเป็นสำาคัญ
บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศ
 นับตั้งแต่ปี 2531 เป็นต้นมา
องค์การสหประชาชาติได้ลงนามร่วมกันของประเทศสมาชิกในอนุสัญญาเวีย
นนา (Vienna Convention)
ว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติดและวัตถุทอี่ อกฤทธิ์ต่อจิตและประ
สาท เพื่อลดปริมาณเงินนอกระบบทีจ่ ะถูกนำามาฟอกลง
 ต่อมาในปี 2540 กลุ่มประเทศประชาคมยุโรป (Council of Europe)
ข้อกำาหนดของบาเซิล (Basel Committee Statement)
และการรวมกันของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำา 7 ประเทศ หรือกลุ่ม G7
ร่วมกันก่อตั้งโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศขึน้
เพื่อต่อต้านการฟอกเงินในนาม APG (Asia Pacific Group on Money
Laundering)
บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศ (ต่อ)
 จากความร่วมมือกันขององค์กรระหว่างประเทศเพื่อทำาหน้าที่ตรวจสอบและต่
อต้านการฟอกเงินอย่างแข็งขันในระยะหลังนี้
ทำาให้ปริมาณการฟอกเงินจากทั่วโลกได้มีจำานวนที่ลดลง
แสดงว่าการทำางานขององค์กรระหว่างประเทศทีเ่ กีย่ วข้องกับเรื่องนี้ประสบค
วามสำาเร็จในระดับหนึ่ง
 ในการประชุม FATF (Financial Action Task Force on Money Laundering)
เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2546 ณ กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี
ทีป่ ระชุมได้รับรองการเปลี่ยนแปลงมาตรการสำาคัญเพื่อเพิ่มการตรวจตราระ
หว่างประเทศ
เพื่อต่อต้านการฟอกเงินและการอุดหนุนทางการเงินให้แก่ผู้กอ่ การร้าย
ซึ่งมีผลของการเปลี่ยนแปลง 8 ประการด้วยกัน ดังนี้
บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศ (ต่อ)
1. กำาหนดบัญชีรายการอาชญากรรม ซึ่งต้องสนับสนุนความผิดในการฟอกเงิน
2. การขยายกระบวนการตรวจสอบลูกค้าของสถาบันการเงิน
3. มาตรการที่เพิ่มขึ้นสำาหรับลูกค้าและธุรกรรมที่มีความเสี่ยงสูง
รวมทั้งการธนาคารระหว่างประเทศ และบุคคลในวงการเมือง
4.
การขยายมาตรการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินไปยังกิจการและวิชา
ชีพ ซึ่งกำาหนดว่าไม่ใช่การเงิน 5.
การรวมไปถึงมาตรการหลักเกี่ยวกับสถาบัน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่างประเทศ
6. การปรับปรุงข้อกำาหนดความโปร่งใส จากข้อมูลที่พอเพียงและทันเวลา
เกี่ยวกับการมีกรรมสิทธ์ในผลประโยชน์ของนิติบคุ คล
7. การขยายข้อกำาหนดการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินหลายประการ
เพื่อให้ครอบคลุมการอุดหนุนทางการเงินแก่ผู้กอ่ การร้าย
การแก้ไขและป้องกันการฟอกเงินของธนาคาร

กรณีศึกษา : สหรัฐอเมริกา
 มาตรการต่างๆ
ทีธ่ นาคารของสหรัฐใช้เพื่อป้องกันการฟอกเงินนั้นไม่ได้เป็นเพียง
การทำาตามกฎระเบียบเท่านั้น แต่เป็นการป้องกันผลประโยชน์ของตนเองด้วย
 ธนาคารทีถ่ ูกเจ้าหน้าที่กำากับดูแล หน่วยงานปราบปราม หรือสื่อมวลชน
กล่าวหาว่าฟอกเงิน ต้องประสบปัญหาทางด้านชือ่ เสียงอย่างร้ายแรง
 การทีธ่ นาคารใช้ความรอบคอบทำาให้ธนาคารสามารถปฏิบตั ิตามกฎหมายแล
ะระเบียบข้อบังคับทีม่ ีอยู่
และลดโอกาสทีธ่ นาคารจะตกเป็นเหยื่อของการฟอกเงิน
และจะผลกระทบใดๆ ต่อความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างธนาคารกับลูกค้า
การแก้ไขและป้องกันการฟอกเงินของธนาคาร

ธนาคารของสหรัฐจะดำาเนินขั้นตอนต่างๆ ในการพินิจพิเคราะห์อย่างถี่ถ้วน ดังนี้


• ขั้นตอนการระบุตัวเจ้าของบัญชี :
ธนาคารต้องจัดทำาขั้นตอนทีส่ มบูรณ์และดำาเนินตามขั้นตอนในการเปิดบัญ
ชี โดยธนาคารต้องทราบตัวตนทีแ่ ท้จริงของลูกค้า
ลูกค้าทำาธุรกิจหรือประกอบอาชีพอะไร และรายได้ ความมั่งคั่งหรือ
ทรัพย์สิน ของลูกค้าได้มาทางใด
และต้องทราบแหล่งทีม่ าของเงินทีน่ ำามาทำาธุรกรรมที่ธนาคาร
การแก้ไขและป้องกันการฟอกเงินของธนาคาร

2. ขั้นตอนในการสอดส่อง : ธนาคารต้องมีระบบภายในเพื่อระบุชี้และสอดส่อง
การทำาธุรกรรมทางการเงิน ทีน่ ่าสงสัย กิจกรรมที่น่าสงสัยได้แก่ การทำาธุร
กรรมซึง่ ไม่สามารถระบุว่า เป็นไปเพื่อกิจกรรม ที่ถกู กฎหมายอะไร
โดยธนาคารควรทบทวนการทำาธุรกรรม ว่ามีมูลค่าเกิน
กว่าเพดานทีต่ ั้งไว้สำาหรับบริการประเภทนั้นๆ
และธนาคารควรจับตาดูเมื่อมีการดำาเนินกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งเพิ่มขึน้ จน
ผิดสังเกต
การแก้ไขและป้องกันการฟอกเงินของธนาคาร

3. ขัน้ ตอนในการฝึกอบรม : ธนาคารควรดำาเนินโครงการให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง


สำาหรับเจ้าหน้าที่ ธนาคาร เพื่อทบทวนความรู้ในเรื่องเทคนิคในการฟอกเงิน
ขั้นตอนในการปราบปรามการฟอกเงิน
การเปลี่ยนแปลงกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
และประเภทของธุรกรรมที่ธนาคารต้องสอบสวน
4. การตรวจสอบบัญชีและการรับผิดชอบ :
ธนาคารควรตรวจสอบการปฏิบัตติ ามนโยบายและขั้นตอนใน
การใช้ความระมัดระวังในการปล่อยกู้ของแต่ละแผนกเป็นประจำาทุกปี
การแก้ไขและป้องกันการฟอกเงินของธนาคาร

5. หน่วยต่อต้านการฟอกเงิน :
ธนาคารควรจัดตั้งแผนกที่เป็นอิสระที่ประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่
ที่ผ่านการฝึกอบรมมาอย่างดีและมีจำานวนเพียงพอเพื่อทำาหน้าที่จัดทำานโ
ยบายและขั้นตอนใน
การต่อต้านการฟอกเงินของธนาคารและนำานโยบายและขั้นตอนเหล่านั้
นมาบังคับใช้ โดยแผนกเหล่านี้ต้องเป็นอิสระจากแผนกที่ทำาธุรกิจ
และเมื่อมีกิจกรรมที่น่าสงสัยเกิดขึ้น
ควรแจ้งให้หน่วยต่อต้านการฟอกเงินทราบ
เพื่อจะได้มีการทำารายงานตามที่กฎหมายกำาหนดไว้
กฎหมายการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
กฎหมายการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
 ส่วนที่ 1
ความเป็นมาและความสำาคัญของกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามก
ารฟอกเงิน
 ส่วนที่ 2
การดำาเนินการป้องกันและปรายปกรามการฟอกเงินของประเทศต่างๆ
 ส่วนที่ 3 ประโยชน์ทไี่ ทยจะได้รับ
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัตปิ ้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542
 ส่วนที่ 4
ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอก
ส่วนที่ 1
ความเป็นมาและความสำาคัญของกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ
ฟอกเงิน

 ที่มาของกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
 อนุสัญญาและข้อตกลงระหว่างประเทศ
 ความผิดมูลฐาน
ส่วนที่ 1
ความเป็นมาและความสำาคัญของกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ
ฟอกเงิน (ต่อ)
ที่มาของกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
 ความเจริญทางเทคโนโลยี มีผลทำาให้รูปแบบอาชญากรรมมีความซับซ้อนขึ้นไป เปลี่ยนแปลง
จากอาชญากรรมพื้นบ้าน ไปสู่อาชญากรรมข้ามชาติ
 มุ่งหวังให้ได้เงินจำานวนมหาศาลเป็นผลตอบแทน
เงินเหล่านี้จะถูกนำาไปผ่านกระบวนการเปลีย่ นสภาพ ให้กลายเป็นเงินสะอาด
และเงินได้จากการดำาเนินการเหล่านั้นจะย้อนกลับไปเป็นเงินทุน
เพื่อประกอบอาชญากรรมขึ้นมาอีก เป็นวงจรการประกอบอาชญากรรม ที่ยากต่อการจับกุม
ปราบปราม
 บัญญัติกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินออกมาบังคับใช้
มีหลักเกณฑ์แตกต่างจากกฎหมายอาญา
ในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำาเนินการทางทรัพย์สินอยู่หลายประการ เช่น
ไม่จำาเป็นต้องพิสูจน์ให้ชัดเจนว่าจำาเลยกระทำาความผิด
เพียงแต่พิสูจน์ให้เห็นว่ามีเหตุอนั ควรเชื่อได้ว่าทรัพย์ที่จะต้องถูกดำาเนินการนั้น
มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าเกี่ยวข้องกับความผิดมูลฐานตาม และการผลักภาระการพิสจู น์ให้แก่จำาเลย
ส่วนที่ 1
ความเป็นมาและความสำาคัญของกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ
ฟอกเงิน (ต่อ)
อนุสญ
ั ญาและข้อตกลงระหว่างประเทศ
 องค์การสหประชาชาติกำาหนดให้มีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบค้ายาเ
สพติดและวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ค.ศ. 1988 (Vienna Convention) ขึ้น
หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า “อนุสญ ั ญากรุงเวียนนา ค.ศ.1988”
 ได้กำ าหนดมาตรการสำาคัญในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เช่นมาตรการริบทรัพย์สิน
(Confistation) การส่งผูร้ ้ายข้ามแดน (Extradition) การช่วยเหลือทางกฎหมายซึง่ กันและกัน
(Mutual Legal Assistance) การโอนการดำาเนินคดี (Transfer of Proceedings)
การส่งมอบยาเสพติดภายใต้การควบคุม (Controlled Delivery) ตลอดจนการป้องกันการฟอกเงิน
(Money Laundering) เป็นต้น
ส่วนที่ 1
ความเป็นมาและความสำาคัญของกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ
ฟอกเงิน (ต่อ)
อนุสัญญาและข้อตกลงระหว่างประเทศ (ต่อ)
 ก่อให้เกิดผลดีดังนี้
 ทำาให้การปราบปรามองค์กรอาชญากรรมได้ผลดี สามารถจับตัวผู้บงการอยู่ เบื้องหลังได้
 เป็นการมุ่งกระทำาต่อแรงจูงใจของการกระทำาความผิด โดยการริบทรัพย์สิน
หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการค้ายาเสพติดและการฟอกเงินโดยผิดกฎหมายมาเป็นของรัฐ
 ส่งเสริมความร่วมมือและความเข้าใจอันดีในการดำาเนินการปราบปรามอาชญากรรมยาเสพติดแ
ละการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินระหว่างประเทศ
 ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศในด้านกฎหมาย อันจะนำาไปสู่
ความร่วมมือด้านอื่นๆต่อไปด้วย
 ทำาให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้ในด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดการลัก
ลอบค้ายาเสพติด และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
และการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินระหว่างประเทศ
โดยมีมาตรการใหม่ๆในภายภาคหน้า เพื่อที่จะเอาผิดหรือดำาเนินคดีกับผู้กระทำาความผิดเหล่านี้
ส่วนที่ 1
ความเป็นมาและความสำาคัญของกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ
ฟอกเงิน (ต่อ)
อนุสัญญาและข้อตกลงระหว่างประเทศ (ต่อ)
 อนุสญั ญาและข้อตกลงระหว่างประเทศอื่นๆ
ที่บรรดาหน่วยงานระหว่างประเทศได้เสนอมาตรการเรียกร้องหรือกระตุ้นให้ประเทศต่างๆ
ดำาเนินการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินจากการประกอบอาชญากรรม เช่น
• ข้อเสนอ 40 ประการ (40 Recommendations) ของ Financial Action Task Force
(FATF)
• แนวทางของสภาประชาคมยุโรป (Directive of the council of the European
Communities)
• Council of Europe Convention
• คำาประกาศของคณะกรรมการ Basle
ส่วนที่ 1
ความเป็นมาและความสำาคัญของกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ
ฟอกเงิน (ต่อ)
ความผิดมูลฐาน
หลักเกณฑ์ในการกำาหนดความผิดมูลฐาน
(1) ความผิดที่มีรูปแบบและวิธีการดำาเนินงานที่มีลักษณะเป็นองค์กรอาชญากรรม
(2) ความผิดโดยที่ลักษณะของการประกอบอาชญากรรมทำาให้ได้รับผลตอบแทนสูง
(3) ความผิดที่เป็นการกระทำาที่สลับซับซ้อน ยากแก่การปราบปราม
(4) ความผิดที่มีลักษณะเป็นภัยต่อความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ
ส่วนที่ 1
ความเป็นมาและความสำาคัญของกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ
ฟอกเงิน (ต่อ)
ความผิดมูลฐาน (ต่อ)
 ความผิดมูลฐานในประเทศไทย
1) ความผิดเกีย่ วกับยาเสพติด 5) ความผิดตอตำาแหนงหนาที่ราชการ
2) ความผิดเกีย่ วกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา หรือความผิดตอตำาแหนงหน
ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการป้ าที่ในการยุตธิ รรม
องกันและปราบปรามการค้าหญิงและเด็ก
หรือความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการป้ 6) ความผิดเกี่ยวกับการกรรโชก
องกันและปราบปรามการค้าประเวณี หรือรีดเอาทรัพยที่กระทำาโดยอ
างอำานาจอั้งยี่ หรือซ่องโจร
3) ความผิดเกีย่ วกับการฉ้อโกงประชาชน
7) ความผิดเกี่ยวกับการลักลอบหนีศุลกากร
4) ความผิดเกี่ยวกับการยักยอกหรือฉ้
อโกงหรือประทุษร้ายต่อทรัพย์ 8) ความผิดเกี่ยวกับการกอการรา
หรือกระทำาโดยทุจริต
ส่วนที่ 2 การดำาเนินการป้องกันและปรายปกรามการฟอกเงินของประเทศต่างๆ

ประเทศสหรัฐอเมริกา
 วัตถุประสงค์เพื่อการปราบปรามแหล่งเงินทุนขององค์กรก่อการร้ายข้ามชาติ
 ประกาศใช้เมือ่ เดือนตุลาคม 2001 หลังจากเหตุการณ์ระเบิดตึก World Trade เมื่อวันที่ 11
กันยายน 2001
 ในส่วนของการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
กฎหมายฉบับนี้ได้เพิ่มอำานาจให้แก่เจ้าหน้าที่ของกระทรวงการคลัง
เพื่อดำาเนินการในส่วนของเงินได้ขององค์กรอาชญากรรมข้ามชาติที่ผ่านทางสถาบันการเงิน
ส่วนที่ 2 การดำาเนินการป้องกันและปรายปกรามการฟอกเงินของประเทศต่างๆ (ต่อ)

ประเทศออสเตรเลีย
 มีระบบกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินที่สมบูรณ์มากที่สุดในโลก
 แบ่งออกเป็น
– Customs Act 1901 เป็นกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์ให้รัฐมีอำานาจในการยึดเช็ค
หรือทรัพย์สินอื่นใด
รวมทั้งให้อำานาจศาลในการปรับให้สูงเท่ากับผลประโยชน์ที่ได้รับจากการซื้อขายยาเสพติ

– 2) Proceed of Crime Act 1987 เป็นกฎหมายที่กำาหนดให้ศาลในการสั่งยึดทรัพย์สินที่ใช้
หรือเกี่ยวกับการกระทำาความผิดรวมตลอดไปถึงดอกผลที่เกิดจากเงินได้เหล่านั้นด้วย
– Telecommunication Act 1991
เป็นกฎหมายที่ให้มกี ารนำามาตรการพิเศษมาใช้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อความเหมาะสมกับลั
กษณะของความผิด
ได้แก่การดักฟังทางโทรศัพท์และการเข้าถึงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกต่างๆ
– FTR Act 1988
เป็นกฎหมายเกี่ยวกับการรายงานธุรกรรมทางการเงินของประเทศออสเตรเลียโดยรายงานธุ
รกรรมเงินสดและธุรกรรมทางการเงินต่างๆ
และธุรกรรมที่มเี หตุอันควรสงสัยไปยังหน่วยงาน Austrac
ส่วนที่ 2 การดำาเนินการป้องกันและปรายปกรามการฟอกเงินของประเทศต่างๆ
(ต่อ)

ประเทศมาเลเซีย
 Anti-Money Laundering Act 2001
 ให้อำานาจในการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินอย่างกว้างขวาง
เพราะได้กำาหนดความผิดมูลฐานไว้ถึง 119 ความผิดมูลฐาน
 เด่นอีกประการหนึ่งก็คือ การให้ LOFSA
(สำานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินของมาเลเซีย)
มีอำานาจในการพัฒนาการเปิดสถาบันการเงินใหม่
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รับ
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542

ประโยชน์ที่ไทยจะได้รับ จากพระราชบัญญัติป้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542
 ประเทศไทยสามารถเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการ
ลักลอบค้ายาเสพติดและวัตถุทอี่ อกฤทธิ์ตอ่ จิตและประสาท ค.ศ. 1988
 เป็นที่ยอมรับของนานาประเทศในการให้ความร่วมมือป้องกันและปราบปรามก
ารฟอกเงิน
 ก่อให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
 ตัดวงจรการก่ออาชญากรรม
 พัฒนามาตรการทางกฎหมายเพื่อการปราบปรามการกระทำาความผิดให้มีประสิ
ทธิภาพมากขึ้น
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รบั
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542

ผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. 2542
 ผลกระทบด้านการบริหารประเทศ
 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
 ผลกระทบด้านการเมือง
 ผลกระทบด้านการใช้กฎหมาย
 ผลกระทบกับสถาบันการเงิน
 ผลกระทบกับประชาชน
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รบั
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542 (ต่อ)

ผลกระทบด้านการบริหารประเทศ
 ผลกระทบทางด้านดี
• ประเทศไทยสามารถเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบการค้ายาเสพติ
ดและวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ค.ศ. 1988
โดยประเทศไทยจะได้รับความร่วมมือและช่วยเหลือในด้านต่างๆ
รวมทั้งยังเป็นที่ยอมรับของอารยะประเทศอีกด้วย
• สร้างภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศไทยสู่สายตาประชาคมโลก
• สร้างความมั่นคงทางด้านการเมืองการปกครองของประเทศ
• ค่าใช้จา่ ยในการดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของรัฐบาลก็จะลดลง
• รัฐบาลมีรายได้ที่จะนำาไปพัฒนาและแก้ไขปัญหาต่างๆ ของประเทศได้เพิ่มมากขึ้น
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รบั
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542 (ต่อ)

ผลกระทบด้านการบริหารประเทศ (ต่อ)
 ผลกระทบในด้านไม่ดี
1. รัฐบาลต้องเสียค่าใช้จา่ ยเพิ่มมากขึ้นในการจัดตั้งสำานักงานป้องกันและปราบปรามการ
ฟอกเงิน และในการดำาเนินงานของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง
2. ภาพลักษณ์และความน่าเชื่อถือของรัฐบาลจะลดลงหากพนักงาน เจ้าหน้าที่
ที่เกี่ยวข้องใช้อำานาจในทางที่มิชอบ
3. หากขาดการประชาสัมพันธ์ที่ดีเกี่ยวกับภาระหน้าที่ที่เพิ่มขึ้นจากกฎหมายว่าด้วยการป้อ
งกันและปราบปรามการฟอกเงินจะทำาให้เกิดกระแสต่อต้านขึ้น
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รบั
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542 (ต่อ)

ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
 ผลกระทบทางด้านดี
1. เมื่อเงินนอกระบบและอาชญากรรมถูกปราบปรามจะส่งผลดีถึงนักลงทุนทั่วไป
โดยเพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุน
2. การประกอบธุรกิจแข่งขันเป็นไปอย่างมีความเป็นธรรม
3. ปัญหาเงินเฟ้อลดลง และลดปัญหาราคาสินค้าสูง
4. ลดการกีดกันทางการค้าจากประเทศต่างๆ
5. สร้างความมั่นคงแก่ระบบทางการเงินของประเทศไทย
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รบั
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542 (ต่อ)

ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ (ต่อ)
 ผลกระทบทางด้านไม่ดี
• เงินจำานวนมากที่เคยเข้ามาหมุนเวียนเพือ่ ที่จะนำามาฟอกเงินภายในประเทศจะมีจำานวนล
ดลง ส่งผลให้ปริมาณเงินที่ไหลเข้ามาในประเทศมีจำานวนลดน้อยลง
• เกิดการชะลอตัวของการลงทุนจากภายในประเทศและจากต่างประเทศ
เนื่องจากขั้นตอนที่มากขึ้นจากมาตรการต่างๆ
• ทำาให้ต้นทุนในการลงทุนสูงขึ้นเนื่องจากต้องมีค่าใช้จา่ ยที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกรรม
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รบั
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542 (ต่อ)
ผลกระทบด้านการเมือง
 ผลกระทบทางด้านดี
1. ส่งเสริมการปราบปรามการทุจริต
หรือการประพฤติมิชอบในวงราชการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
2. สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับการเมืองไทย
3. สร้างความเป็นธรรมในการเลือกตั้ง และการแข่งขันทางการเมือง
 ผลกระทบทางด้านไม่ดี
1. อาจเกิดการขัดแย้งทางความคิด
ในการพิจารณากฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินซึ่งจะเป็นประเด็
นทางการเมืองก่อให้เกิดความขัดแย้งขึ้นได้
2. อาจมีการใช้มาตรการฟอกเงินเป็นเครื่องมือในการกำาจัดศัตรูในทางการเมือง
หรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องให้ได้รับผลกระทบได้
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รบั
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542 (ต่อ)
ผลกระทบด้านการใช้กฎหมาย
 ผลกระทบทางด้านดี
1. สามารถดำาเนินการทางกฎหมายกับทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำาความผิดฐานฟอกเงินได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากขึน้
2. กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
กำาหนดให้สามารถใช้มาตรการริบทรัพย์ดำาเนินการกับทรัพย์สนิ ที่เกี่ยวกับการกระทำาความผิด
แม้ว่าจะมีการดำาเนินการกับทรัพย์สนิ นั้นตามกฎหมายอื่นอยู่ก่อนแล้วได้
3. เป็นกฎหมายทีเ่ สริมมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการประกอบอาชญากรรมต่างๆ
ของกฎหมายอื่นให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
4. การดำาเนินคดีเกี่ยวกับความผิดฐานฟอกเงินจะมีความสะดวกและรวดเร็วมากขึน้ เนื่องจากกฎหมา
ยได้ใช้มาตรการในทางเพ่งดำาเนินการกับทรัพย์สิน
จึงเป็นการกำาหนดภาระการพิสูจน์การได้มาซึ่งเงินหรือทรัพย์สินไปยังผู้ที่เป็นเจ้าของทรัพย์สนิ ผู้มี
ส่วนได้เสีย หรือผู้รับประโยชน์ในทรัพย์สินนั้น
5. ได้รับความร่วมมือและความช่วยเหลือซึง่ กันและกันทางด้านกฎหมายจากนานาประเทศจากการเป็
นภาคีสมาชิกของอนุสัญญาเวียนนา
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รบั
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542 (ต่อ)
ผลกระทบด้านการใช้กฎหมาย (ต่อ)
 ผลกระทบทางด้านไม่ดี
1. อาจมีผลกระทบกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ซึ่งอาจทำาให้เกิดการเข้าใจผิด
ที่ผดิ พลาดในเจตนารมณ์ของกฎหมาย
ซึ่งอาจส่งผลให้การบังคับใช้ของกฎหมายนั้นไม่มีประสิทธิภาพ
เนื่องจากอาจมีการต่อต้านของประชาชน
2. การสันนิษฐานของกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ต้
องสงสัยให้เป็นที่เกี่ยวข้องกับการกระทำาความผิด
ซึ่งข้อสันนิษฐานนี้อาจไม่สอดคล้องกับหลักกฎหมายบางประการ
คือต้องสันนิษฐานไว้กอ่ นเลยว่าจำาเลยบริสุทธิ์ จนกว่าศาลจะพิจารณาพิพากษาถึงที่สุด
3. เมือ่ กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินมีบทบัญญัติให้สามารถนำามาตรการ
ทางทรัพย์สินไปใช้กับทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำาความผิดในความอื่นได้
ดังนั้นหากไม่มีการประสานงานหรือทำาความตกลงกันดีพอ จะทำาให้เกิดการใช้กฎหมายซำ้าซ้อน
ซึ่งจะก่อให้เกิดการขัดแย้งระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบได้
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รบั
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542 (ต่อ)

ผลกระทบกับสถาบันการเงิน
 ผลกระทบทางด้านดี
1. การเพิ่มขัน้ ตอนการปฏิบัติของผู้มีหน้าที่รายงานการทำาธุรกรรมซึ่งอาจเป็นเรื่องยุ่งยากม
ากขึ้น เป็นการเสริมสร้างระบบการตรวจสอบ
และการป้องกันการทุจริตที่กระทำาโดยลูกค้าหรือพนักงานสถาบันนั้นๆ เอง
ให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึน้
2. มีการแข่งขันที่เป็นธรรมในภาคธุรกิจ
3. สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่สถาบันการเงิน
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รบั
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542 (ต่อ)

ผลกระทบกับสถาบันการเงิน (ต่อ)
 ผลกระทบทางด้านไม่ดี
1. เป็นการเพิ่มภาระค่าใช้จา่ ยในแต่ละส่วนของขัน้ ตอนของการปฏิบัติงานที่เพิ่มขึ้น
2. เพิ่มภาระค่าใช้จ่ายในส่วนที่เป็นผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติตามขั้นตอน
3. รายรับอาจจะลดลงเนื่องจากการประกอบธุรกรรมลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไป
เพราะขัน้ ตอนที่เพิม่ มากขึ้น
และบางส่วนอาจจะได้รับผลกระทบเนือ่ งจากไม่มีผู้นำาเงินจำานวนมากที่ได้จากการฟอกเ
งินมาทำาธุรกรรมอีก
4. การประกอบธุระกรรมอาจจะลดลงเมื่อมีการกำาหนดวงเงินที่จะต้องรายงาน
5. ระยะเวลาในการปฏิบัติงานของสถาบันการเงินอาจจะเพิ่มมากขึ้น
เนื่องจากมีภาระหน้าที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอน
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รบั
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542 (ต่อ)

ผลกระทบกับประชาชน
 ผลกระทบทางด้านดี
1. ทำาให้คณุ ภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้นโดยใช้งบประมาณในส่วนที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติ
ดหรืออาชญากรรมที่ลดน้อยลง
มาเพิ่มในส่วนของสาธารณสุขและการศึกษาของประชาชน
2. ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเพิ่มมากขึ้น
3. สามารถบริโภคสินค้าในราคาที่เป็นธรรมมากขึน้
เนื่องจากไม่มีการนำาเงินนอกระบบมาลงทุนเพือ่ ผูกขาดการค้า
ทำาให้การดำาเนินธุรกิจการค้าเป็นไปอย่างเสรี
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ไทยจะได้รบั
และผลกระทบอันเนื่องมาจากพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
2542 (ต่อ)

ผลกระทบกับประชาชน (ต่อ)
 ผลกระทบทางด้านไม่ดี
• อาจกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชนบ้าง
ตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2542 บัญญัติไว้
• ประชาชนมีภาระค่าใช้จา่ ยเพิ่มมากขึ้น
ตามขัน้ ตอนที่เพิ่มมากขึน้ จากมาตรการของกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน
• บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่เสียผลประโยชน์
จะกระทำาการต่อต้านไม่ปฏิบัติตามจนถึงการหาวิธีหลบเลี่ยงหรือหาช่องว่างของกฎหมา
ยเพือ่ ให้ได้รับผลประโยชน์เช่นเดิม
• หากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขาดความพร้อม
ไม่มีการประชาสัมพันธ์ทำาความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง
จะทำาให้ประชาชนไม่เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของกฎหมายและอาจตื่นตระหนกได้
ส่วนที่ 4 ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน

 ปัญหาและอุปสรรคในด้านกฎหมายที่บังคับใช้
 ปัญหาภายในองค์กร ซึ่งนำาไปสู่อุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมาย
 ทัศนคติของประชาชน
ต่อการดำาเนินงานของสำานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
ส่วนที่ 4 ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
(ต่อ)

ปัญหาและอุปสรรคในด้านกฎหมายที่บังคับใช้
2. ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายในส่วนของความผิดมูลฐาน
 มักจะถูกมองจากฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยว่าเป็นการกระทำาที่กระทบสิทธิ เสรีภาพของบุคคล
ปปง.ควรสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนโดยทั่วไป ผ่านสื่อต่างๆ
 ความผิดมูลฐาน 8 ความผิดมูลฐาน นับว่าน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับความผิดมูลฐานของต่างประเทศ
• ประเทศสหรัฐอเมริกาได้กำาหนดความผิดมูลฐานกว่า 200 ความผิดมูลฐาน
• ประเทศออสเตรเลีย มีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการฟอดเงินอยู่ 4
ฉบับ จากการศึกษาพบว่าความผิดมูลฐานตามกฎหมายฟอกเงินของออสเตรเลีย
ไม่ได้กำาหนดความผิดมูลฐานไว้โดยตรงและชัดแจ้ง
• ประเทศฮ่องกงกำาหนดความผิดมูลฐานของการฟอกเงินไว้อย่างกว้างๆ คือ
ทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำาความผิดโดยไม่ได้ระบุความผิดฐานต่างๆที่ชัดเจน
เพียงแต่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำาความผิด ก็มีความผิดฐานฟอกเงินแล้ว
• ประเทศไต้หวัน กำาหนดความผิดมูลฐานแบบกว้างๆ
ครอบคลุมความผิดทุกประเภทที่มีอตั ราโทษจำาคุกขั้นตำ่าตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป
ส่วนที่ 4
ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
(ต่อ)
ปัญหาและอุปสรรคในด้านกฎหมายที่บงั คับใช้ (ต่อ)
2. ปัญหาเกี่ยวกับความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอ
กเงิน
 นับตั้งแต่ปี 2542-2544
เคยมีการจัดฝึกอบรมให้เจ้าหน้าที่ผู้เกีย่ วข้องกับการปฏิบัติงานตามกฎหมายดังกล่าว
มีการจัดบรรยายเผยแพร่ความรูแ้ ก่สถาบันการเงิน และประชาชนทั่วไปหลายครั้ง
 แต่เนื่องจากกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินเป็นกฎหมายใหม่
ผูเ้ ชี่ยวชาญในเรื่องนี้จึงมีจำานวนไม่มากนัก งานค้นคว้าวิจับที่เกี่ยวข้องมีจำานวนน้อย
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานยังไม่คุ้นเคยกับกฎหมายลักษณะนี้
 นำาไปสู่ข้อขัดข้องต่างๆ ในการดำาเนินการตามกฎหมาย
• ปัญหาเรื่องข้อโต้แย้งของกฎหมาย
• ปัญหาเรื่องขอบเขตอำานาจหน้าที่
• ปัญหาเกี่ยวกับความเข้าใจ
• ปัญหาเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจของเจ้าพนักงานผูบ้ ังคับใช้กฎหมาย
ส่วนที่ 4
ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
(ต่อ)
ปัญหาภายในองค์กร ซึ่งนำาไปสู่อุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมาย
2. ถ้าเปรียบสำานักงานป้องกันและปรายปรามการฟอกเงินเป็นเครื่องจักร
 ถ้าฟันเฟืองเกิดหมุนกลับ หรือหยุดทำางานจะส่งผลต่อการทำางานของเครื่องจักรทันที
 ปัญหาเรื่องเงินสินบนจากการทำางานซึ่งก่อให้เกิดการมองสำานักงานป้องกันและปราบป
รามการฟอกเงินในทางลบจากทั้งภายนอก และจากบุคคลภายใน
 จากภายนอกมองว่า เงินสินบนจากการทำางาน
ทำาให้เกิดแรงจูงใจต่อเจ้าหน้าที่ในการดำาเนินการต่อทรัพย์สินให้ได้จำาน
วนมาก เพื่อที่จะได้เงินสินบนจากการทำางานมากๆ
 จากภายใน มีการมองว่าการแบ่งสินบนนั้น เป็นไปอย่างไม่เป็นธรรม
ทำาให้เกิดความแตกแยกในองค์กร
ส่วนที่ 4
ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
(ต่อ)
ปัญหาภายในองค์กร ซึง่ นำาไปสู่อุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมาย (ต่อ)
2. ปัญหาในเรืองอัตรากำาลัง
 ไม่เพียงพอกับปริมาณตามภาระหน้าที่ที่ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ
 สำานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินได้ดำาเนินการสรรหา
โดยคัดเลือกข้าราชการบรรจุใหม่ และรับโอนมาจากส่วนราชการอื่น
แต่ในปัจจุบันยังไม่เต็มกรอบอัตรากำาลังเนื่องจากมีการลาออก
โอนไปยังหน่วยงานอื่นที่มีลักษณะงานคล้ายกับสำานักงานป้องกันและปราบปรามการฟ
อกเงิน เนื่องจากมีค่าตอบแทนสูงกว่า
ส่วนที่ 4
ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
(ต่อ)
ปัญหาความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำาเนินงาน
ของสำานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
 ความเป็นกลางของสำานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
จากการแทรกแซงทางการเมือง
 การใช้อำานาจของสำานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินในสายตาของป
ระชาชน

You might also like