You are on page 1of 24

บทที่ 4

ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค

เนื้ อหา
1. การวิเคราะห์ทฤษฏีพฤติกรรมผูบ้ ริโภคโดยใช้ทฤษฏีอรรถประโยชน์แบบหน่วยนับ
1.1 ความหมายของอรรถประโยชน์
1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างอรรถประโยชน์รวมและอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย
1.3 กฎการลดลงของอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย
1.4 ดุลยภาพของผูบ้ ริโภคกรณีซอ้ื สินค้าชนิดเดียว
1.5 ดุลยภาพของผูบ้ ริโภคกรณีซอ้ื สินค้าหลายชนิด
2. การวิเ คราะห์ ท ฤษฏีพ ฤติก รรมผู้ บ ริโ ภคโดยใช้ท ฤษฏีอ รรถประโยชน์ แ บบ
เรียงลาดับหรือวิเคราะห์โดยใช้เส้นความพอใจเท่ากัน
2.1 ความหมายและลักษณะของเส้นความพอใจเท่ากัน
2.2 ความหมายและลักษณะของเส้นงบประมาณ
2.3 ดุลยภาพของผูบ้ ริโภค
2.4 เส้นความพอใจเท่ากันและกฎของอุปสงค์

สาระสาคัญ
1. พฤติกรรมผูบ้ ริโภค หมายถึง การตัดสินใจของผู้บริโภคในการเลือกซือ้ สินค้าและ
บริการเพื่อให้ได้รบั ความพอใจสูงสุด จากงบประมาณทีม่ อี ยูจ่ ากัด
2. ในการวิเ คราะห์ หรือ อธิบ ายพฤติก รรมผู้บ ริโ ภคเราสามารถเลือ กใช้ท ฤษฎี
อรรถประโยชน์แบบหน่วยนับ หรือ ทฤษฎีอรรถประโยชน์แบบเรียงลาดับ
3. ทฤษฎีอรรถประโยชน์แบบหน่ วยนับมีสมมุตฐิ าน 2 ประการ คือ อรรถประโยชน์
สามารถวัด ออกมาเป็ น หน่ ว ยที่แ น่ น อนได้ หน่ ว ยที่ใ ช้ ว ัด เรีย กว่ า ยู ทิล และ
อรรถประโยชน์ทผ่ี บู้ ริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้าแต่ละชนิดจะเป็ นอิสระต่อกัน
จึงสามารถนามารวมกันได้ในกรณีทบ่ี ริโภคสินค้าหลายชนิดพร้อมกัน

EC 103 87
4. อรรถประโยชน์ หมายถึง ความพอใจทีผ่ บู้ ริโภคได้รบั จากการได้บริโภคสินค้าและ
บริก ารอรรถประโยชน์ ท่ผี ู้บริโภคแต่ ละคนได้รบั จากสินค้าชนิดเดียวกันอาจไม่
เท่ า กัน และผู้บ ริโ ภคคนเดีย วกัน บริโ ภคสิน ค้า ชนิ ด เดีย วกัน ในเวลาที่ต่ างกัน
อรรถประโยชน์ทไ่ี ด้รบั ก็อาจไม่เท่ากัน
5. อรรถประโยชน์รวม (Total utility : TU) หมายถึง ความพอใจทัง้ หมดทีผ่ บู้ ริโภค
ได้รบั จากการบริโภคสินค้า หรือ บริการ ชนิดใดชนิดหนึ่งในปริมาณต่างๆ กัน
อรรถประโยชน์หน่ วยสุดท้าย (Marginal utility : MU) หมายถึง ความพอใจที่
ผู้บริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้าชิ้นสุดท้าย เมื่อรวม MU ของสินค้าชนิดใด
ชนิดหนึ่งจะเท่ากับ TU เสมอ
6. กฎการลดลงของอรรถประโยชน์หน่ วยสุดท้าย มีสาระว่าเมื่อบริโภคสินค้าชนิดใด
ชนิด หนึ่ง เพิ่มขึ้น เรื่อ ย ๆ อรรถประโยชน์ ท่ีผู้บ ริโภคได้รบั จากการบริโภคชิ้น
สุดท้ายจะลดลงตามลาดับจนมีค่าเท่ากับ 0 และติดลบในทีส่ ุด
7. ดุลยภาพของผู้บริโภค หมายถึง ภาวะที่ผู้บริโภคได้รบั ความพอใจ หรือ ได้รบั
อรรถประโยชน์ ร วมสูง สุ ด จากงบประมาณที่ม ีอ ยู่ จนไม่ค ิด ที่จ ะเปลี่ย นแปลง
ปริมาณการบริโภค
8. ดุลยภาพของผูบ้ ริโภค กรณีทผ่ี ู้บริโ ภคซือ้ สินค้าชนิดเดียวจะเกิดขึน้ เมื่อ MUA =
PA ดังนัน้ เมื่อราคาสินค้าสูงขึน้ ซึง่ มีผลให้ MUA < PA ผูบ้ ริโภคจะซือ้ สินค้า
น้ อ ยลงเพื่อ ปรับ ให้เ ข้า สู่ ดุ ล ยภาพ ในท านองเดีย วกัน เมื่อ ราคาสิน ค้า ลดลง
ผูบ้ ริโภคจะซือ้ สินค้าเพิม่ ขึน้ เพื่อปรับให้เข้าสู่ดุลยภาพอีกครัง้ หนึ่ง
9. ดุลยภาพของผู้บริโภคกรณีท่ผี ู้บริโภคซื้อสินค้าหลายชนิดจะเกิดขึน้ เมื่อเขาแบ่ง
เงินไปซือ้ สินค้าแต่ละชนิดจนกระทัง่
MUA = MUB = MUC = ……….. MUn
PA PB PC Pn
ดังนัน้ เมือ่ ราคาสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งสูงขึน้ ผูบ้ ริโภคจะปรับพฤติกรรมการซือ้
สินค้าให้น้อยลงเพื่อปรับให้เข้าสู่ดุลยภาพใหม่ ในทานองเดียวกันถ้าสินค้าชนิดใด
มีราคาลดลงผู้บริโภคก็จะปรับปริมาณการบริโภคให้เพิม่ ขึน้ เพื่อให้กลับเข้าสู่ดุลย
ภาพอีกครัง้ หนึ่ง

88 EC 103
10. ในกรณีท่ผี ู้บริโภคต้อ งการออมเงินบางส่ ว นไว้โดยไม่ใ ช้จ่ายจนหมดเนื่อ งจาก
อรรถประโยชน์ของเงินบาทสุดท้ายทีอ่ อมมีค่าสูงกว่าอรรถประโยชน์ของเงินบาท
สุดท้ายที่จะจ่ายซื้อสินค้า เงื่อนไขที่จะทาให้ผู้บริโภคได้รบั อรรถประโยชน์ รวม
สูงสุดจากการใช้เงินทีม่ อี ยู่ คือ ผูบ้ ริโภคจะต้องใช้จา่ ยเงินในลักษณะทีท่ าให้
MUA = MUB = ……….. = MUn = MUm
PA PB Pn Pm
11. จากการที่มผี ู้วจิ ารณ์ทฤษฎีอรรถประโยชน์แบบหน่ วยนับในประเด็นของการวัด
ความพอใจออกมาเป็ นหน่ วยที่แน่ นอนได้ จึงมีผู้เสนอแนวการวิเคราะห์ทฤษฎี
พฤติกรรมผูบ้ ริโภค โดยใช้ทฤษฎีอรรถประโยชน์แบบเรียงลาดับด้วยการใช้เส้น
ความพอใจเท่ากัน โดยอธิบายว่าการศึกษาพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคไม่จาเป็ นต้อง
รูจ้ านวนที่นับได้ของความพอใจ การรู้เพียงว่าผู้บริโภคพอใจการบริโภคสินค้า
มากกว่า น้อยกว่า หรือ เท่ากันก็พอแล้ว
12. เส้นความพอใจเท่ากัน หมายถึง เส้นที่แสดงสัดส่วนการบริโภคสินค้าสองชนิดที่
แตกต่างกันแต่ให้ความพอใจแก่ผบู้ ริโภคในระดับทีเ่ ท่ากัน
13. ลักษณะสาคัญของเส้นความพอใจเท่ากัน คือ เส้นความพอใจเท่ากันทีอ่ ยู่ทางขวา
จะให้ความพอใจแก่ผู้บริโภคมากกว่าเส้นที่อยู่ทางซ้าย เส้นความพอใจเท่ากัน
เป็นเส้นทีต่ ่อเนื่องลาดจากซ้ายไปขวาโค้งเข้าหาจุดกาเนิด และไม่ตดั กัน
14. เส้นงบประมาณ หมายถึง เส้นทีแ่ สดงสัดส่วนต่างๆ กันของการบริโภคสินค้าสอง
ชนิดทีผ่ บู้ ริโภคสามารถซือ้ ได้ดว้ ยเงินจานวนเดียวกัน
15. เส้นงบประมาณอาจเปลี่ยนแปลงได้เ นื่อ งจากจานวนงบประมาณเปลี่ยน หรือ
ราคาสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือ ทัง้ สองชนิดเปลีย่ น
16. ดุลยภาพของผูบ้ ริโภคทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์เส้นความพอใจเท่ากัน จะเกิดขึน้ เมื่อ
แบ่งเงินงบประมาณทีม่ อี ยู่ไปซือ้ สินค้าสองชนิดในสัดส่วนทีเ่ ส้นความพอใจเท่ากัน
สัมผัสกับเส้นงบประมาณ
17. ในกรณีทร่ี าคาสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเปลีย่ นแปลงไป ผลจากการวิเคราะห์โดยใช้
เส้นความพอใจเท่ากันชีใ้ ห้เห็นว่าผูบ้ ริโภคจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคสินค้า
ชนิดนัน้ ในจานวนตรงกันข้ามกับราคาทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป

EC 103 89
18. สมการดุลยภาพของผู้บริโภคที่ได้จากการวิเคราะห์ด้วยทฤษฎีอรรถประโยชน์
แบบหน่ วยนับและการวิเคราะห์ด้วยทฤษฎีอรรถประโยชน์ แบบเรียงลาดับ ก็คอื
สมการเดียวกัน

จุดประสงค์
เมื่อนักศึกษาอ่านบทที่ 4 จบแล้ว นักศึกษาสามารถอธิบายพฤติกรรมผูบ้ ริโภคโดยใช้
ทฤษฎีอรรถประโยชน์แบบหน่ วยนับและทฤษฎีอรรถประโยชน์แ บบเรียงลาดับในประเด็นต่าง
ๆ ต่อไปนี้ได้ คือ
1. อธิบายความแตกต่างในการนาทฤษฎีอรรถประโยชน์ แบบหน่ วยนับและทฤษฎี
อรรถประโยชน์แบบเรียงลาดับไปใช้วเิ คราะห์พฤติกรรมผูบ้ ริโภค
2. อธิบ ายความหมายของอรรถประโยชน์ ทัง้ ในแง่ อ รรถประโยชน์ ร วม และ
อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย
3. อธิบายกฎการลดลงของอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย
4. อธิบายความหมายของดุลยภาพของผูบ้ ริโภค
5. อธิบายภาวะดุลยภาพของผู้บริโภคตามทฤษฎีอรรถประโยชน์แบบหน่ วยนับใน
กรณีการบริโภคสินค้าชนิดเดียวและกรณีการเลือกบริโภคสินค้าหลายชนิด

6. อธิบายการเปลีย่ นแปลงภาวะดุลยภาพของผูบ้ ริโภคเมือ่ ราคาสินค้าเปลีย่ นแปลง


7. อธิบายความหมายและลักษณะของเส้นความพอใจเท่ากัน
8. อธิบายความหมายของเส้นงบประมาณ
9. อธิบายภาวะดุลยภาพของผูบ้ ริโภคตามทฤษฎีอรรถประโยชน์แบบเรียงลาดับ
10. อธิบายการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพของผู้บริโภคเมื่อราคาสินค้าชนิดใดชนิด
หนึ่งเปลีย่ นแปลง หรือ รายได้ของผูบ้ ริโภคเปลีย่ นแปลงไป
11. สามารถอธิบายการสร้างเส้นอุปสงค์จากทฤษฎีความพอใจได้
ทฤษฏีพ ฤติกรรมผู้บริโภคจะช่ว ยให้เข้าใจเหตุผ ลของผู้บริโภคที่ว่าเมื่อ ราคาสินค้า
เปลีย่ นแปลงไปผูบ้ ริโภคจะตัดสินใจเปลีย่ นแปลงปริมาณการบริโภคสินค้านัน้ ในทิศทางตรงกัน
ข้าม กล่าวคือ ผู้บริโภคจะซื้อ สินค้าจานวนน้ อยลงเมื่อ สินค้านัน้ ๆ มีราคาสูงขึ้น ในปลาย
ศตวรรษที่ 19 เศรษฐศาสตร์ส านักนีโอคลาสสิค ได้กล่ าวถึงทฤษฏีผู้บริโภคที่มขี ้อ สมมุติ

90 EC 103
พื้นฐานว่าผู้บริโภคจะได้รบั ความพอใจหรืออรรถประโยชน์ จากการบริโภคสินค้าในจานวนที่
แตกต่ างกัน เราสามารถวัดความพอใจดัง กล่ าวออกมาเป็ นหน่ ว ยที่แน่ นอนได้เ รียก Util
ความต้อ งการซื้อ สิน ค้า ของผู้บ ริโ ภคในแต่ ล ะระดับ ราคาจะเป็ น ผลมาจากการที่ผู้บ ริโ ภค
ต้องการอรรถประโยชน์สูงสุดจากการบริโภคสินค้าเมื่อมีรายได้จานวนหนึ่ง ทฤษฏีพฤติกรรม
ผูบ้ ริโภคทีน่ าหลักอรรถประโยชน์มาใช้อธิบายจึงเรียกว่าทฤษฏีอรรถประโยชน์ หรือ Cardinal
Utility Theory ต่อมานักเศรษฐศาสตร์บางกลุ่มมองว่าทฤษฏีดงั กล่าวไม่ได้ตงั ้ อยู่บนความเป็ น
จริง ที่ว่ า ความพอใจสามารถวัด ออกมาเป็ น หน่ ว ยได้ จึง ได้เ สนอแนวคิด ในการอธิบ าย
พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคโดยไม่จาเป็ นต้องทราบจานวนอรรถประโยชน์ทไ่ี ด้รบั เพียงแต่ ทราบ
ว่า ผู้บ ริโภคชอบสิน ค้า ชนิด นัน้ มากกว่ า หรือ น้ อ ยกว่ า หรือ เท่ า กับ สิน ค้า ชนิ ด นี้ โดยการ
วิเคราะห์ด้วยเส้นความพอใจเท่ากันจึงเรียก ทฤษฏีน้ีว่าทฤษฎีอรรถประโยชน์แบบเรียงลาดับ
หรือแบบหน่วยนับ หรือ Ordinal Utility Theory

EC 103 91
4.1 การวิ เคราะห์ทฤษฏีพฤติ กรรมผูบ้ ริ โภคโดยใช้ทฤษฏี อรรถประโยชน์ แบบ
หน่ วยนับ
4.1.1 ความหมาย
อรรถประโยชน์ (Utility) หมายถึง ความพอใจทีผ่ บู้ ริโภคได้รบั จากการได้บริโภค
สินค้าและบริการอรรถประโยชน์ทผ่ี บู้ ริโภคแต่ละคนได้รบั จากสินค้าชนิดเดียวกันอาจไม่เท่ากัน
แม้แต่ผู้บริโภคคนเดียวกันบริโภคสินค้าชนิดเดียวกันในเวลาที่แตกต่างกันอรรถประโยชน์ ท่ี
ได้รบั ก็จะไม่เท่ากัน
ทฤษฏีอรรถประโยชน์แบบหน่วยนับ มีขอ้ สมมุติ 2 ประการคือ
1) อรรถประโยชน์สามารถวัดออกมาเป็นหน่วยทีแ่ น่นอนได้ หน่วยในการวัด
เรียกว่า ยูทลิ (Util)
2) อรรถประโยชน์ทผ่ี บู้ ริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้าแต่ละชนิดต่างเป็นอิสระ
ต่อกัน ดังนัน้ อรรถประโยชน์จงึ สามารถนามารวมกันได้ กล่าวคือ อรรถประโยชน์ รวมที่
ผูบ้ ริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้าหลายๆ ชนิดพร้อมๆ กันหาได้จากการนาอรรถประโยชน์ท่ี
ได้รบั จากการบริโภคสินค้าแต่ละชนิดมารวมกัน หรือ อรรถประโยชน์รวมของสังคมหาได้จาก
การรวม อรรถประโยชน์ของบุคคลต่างๆ ในสังคมเข้าด้วยกัน
อรรถประโยชน์ รวม (Total Utility: TU) หมายถึง ความพอใจทัง้ หมดทีผ่ บู้ ริโภค
ได้รบั จากการบริโภคสินค้า หรือบริการในจานวนต่าง ๆ ในเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น ผู้บริโภค
ดื่มน้ า 1 แก้ว ได้รบั ความพอใจเท่ากับ 10 ยูทลิ ถ้าดื่มน้ า 2 แก้ว ได้รบั ความพอใจ 18 ยูทลิ
และถ้าดื่มน้า 3 แก้วจะได้รบั ความพอใจ 22 ยูทลิ จะเห็นได้ว่าอรรถประโยชน์รวมทีไ่ ด้รบั จาก
การดื่มน้าจะขึน้ อยูก่ บั จานวนน้ าทีด่ ่มื หรือ อาจพูดได้ว่าอรรถประโยชน์รวมจะเปลีย่ นแปลงไป
ตามจานวนสินค้าทีบ่ ริโภค เมื่อบริโ ภคสินค้าเพิม่ ขึน้ อรรถประโยชน์รวมจะเพิม่ ขึน้ แต่การ
เพิ่มขึ้นของอรรถประโยชน์ รวมจะเป็ นไปในอัต ราที่ล ดลงเพราะในการบริโภคสินค้าหน่ ว ย
หลัง ๆ จะให้อรรถประโยชน์น้อยกว่าหน่ วยแรก ดังเช่น กรณีการดื่มน้ าแก้วหลังย่อมให้ความ
พอใจแก่ผบู้ ริโภคน้อยกว่าแก้วแรก ถ้าหากการดื่มน้านัน้ เกิดขึน้ ในช่วงเวลาเดียวกัน
อรรถประโยชน์ หน่ วยสุดท้ าย หรืออรรถประโยชน์ เพิ่ ม (Marginal Utility: MU)
หมายถึงความพอใจที่ผู้บริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้าในหน่ วยที่เปลี่ยนแปลงไปไม่ว่าจะ
เป็ น การเพิ่ม หรือ ลดการบริโ ภคก็ต าม เช่ น ความพอใจที่ไ ด้ร บั จากการดื่ม น้ า 1 แก้ว
เท่ากับ 10 ยูทลิ ถ้าดื่ม 2 แก้ว ได้รบั ความพอใจ 18 ยูทลิ ดังนัน้ ความพอใจที่ได้รบั จากการ

92 EC 103
ดื่มน้ าแก้วที่ 2 หรือ ค่าอรรถประโยชน์หน่ วยสุดท้าย จึงเท่ากับ 8 ยูทลิ เป็ นต้น เมื่อบริโภค
สินค้าเพิม่ ขึ้น อรรถประโยชน์ ท่ผี ู้บริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้าหน่ วยสุดท้าย จะลดลง
ตามลาดับ จนในทีส่ ุดจะเท่ากับ 0 และอาจมีค่าติดลบได้ถา้ ยังคงบริโภคอีกต่อไป
4.1.2 ความสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งอรรถประโยชน์ ร วมและอรรถประโยชน์ ห น่ ว ย
สุดท้าย
ค่าอรรถประโยชน์รวม และ อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายมีความสัมพันธ์ซง่ึ กันและ
กัน คือ
MUn = TUn - TUn-1
เมือ่ MUn = อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย หรือ อรรถประโยชน์ท่ี
ได้รบั จากการบริโภคสินค้า หน่วยที่ n
TUn = อรรถประโยชน์รวมทีไ่ ด้รบั จากการบริโภคสินค้า n หน่วย
TUn-1 = อรรถประโยชน์รวมทีไ่ ด้รบั จากการบริโภคสินค้า n-1 หน่วย
หรือในกรณีท่ผี ู้บริโภคไม่ได้เปลี่ยนแปลงการบริโ ภคสินค้าทีละหนึ่งหน่ วยอาจหาค่า MU ได้
ดังนี้
MUn = TU
Q
= dTU
dQ
ในทานองเดียวกันถ้าเราทราบค่าอรรถประโยชน์หน่ วยสุดท้ายจากการบริโภคสินค้า
จานวนต่างๆ กัน ก็สามารถหาค่าอรรถประโยชน์รวมจากการบริโภคสินค้านัน้ ได้ โดยการรวม
อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายของการบริโภคแต่ละจานวนเข้าด้วยกัน
n
TUn =  MU i
i 1

ตาราง 4.1 แสดงอรรถประโยชน์ รวม และ อรรถประโยชน์ หน่ วยสุดท้ ายจากการบริ โภค
สิ นค้าจานวนต่างๆ กัน

EC 103 93
จานวนสิ นค้า อรรถประโยชน์รวม อรรถประโยชน์ หน่ วยสุดท้าย
0 0 -
1 30 30
2 56 26
3 78 22
4 96 18
5 110 14
6 120 10
7 126 6
8 128 2
9 128 0
10 126 -2

4.1.3 กฏการลดลงของอรรถประโยชน์ หน่ วยสุดท้าย


กฎการลดลงของอรรถประโยชน์หน่ วยสุดท้าย (Law of diminishing marginal
utility) มีสาระว่าเมือ่ ผูบ้ ริโภค บริโภคสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเพิม่ ขึน้ เรื่อย ๆ อรรถประโยชน์ท่ี
ผูบ้ ริโภคได้รบั จากสินค้า แต่ละหน่ วยที่บริโภคเพิม่ ขึน้ จะลดลงตามลาดับจนมีค่าเป็ นศูนย์และ
ติดลบในทีส่ ุด
4.1.4 ดุลยภาพของผูบ้ ริ โภคกรณี ซื้อสิ นค้าชนิ ดเดียว
การที่ผู้บริโภคอยู่ในดุลยภาพ หมายถึง ภาวะที่ผู้บริโภคได้รบั ความพอใจหรือ
อรรถประโยชน์รวมสูงสุดจากการบริโภคสินค้าในขณะใดขณะหนึ่งจนไม่คดิ ที่ จะเปลี่ยนแปลง
ปริมาณการบริโภค ในกรณีทผ่ี บู้ ริโภคซือ้ สินค้าชนิดเดียว การทีเ่ ขาจะตัดสินใจซือ้ สินค้าแต่ละ
หน่ ว ยย่ อ มขึ้น อยู่ ก ับ ว่ า อรรถประโยชน์ ท่ีไ ด้ ร ับ จากการบริโ ภคสิน ค้ า หน่ ว ยนั ้ น สู ง กว่ า
อรรถประโยชน์ทต่ี อ้ งสูญเสียไปจากจ่ายเงินไปในการซือ้ สินค้าหน่ วยนัน้ หรือไม่ ถ้าสูงกว่าก็จะ
ซือ้ จากนัน้ ผูบ้ ริโภคก็จะเปรียบเทียบอรรถประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากสินค้าหน่ วยถัดไป ซึง่ จะต้อง
มีค่าต่ ากว่าอรรถประโยชน์ ของสินค้าหน่ วยแรกตามกฎการลดลงของอรรถประโยชน์ หน่ วย

94 EC 103
สุดท้าย กับอรรถประโยชน์ของเงินจานวนที่สองที่จะต้องจ่ายออกไป ซึ่งจะต้องมีค่าสูงกว่า
อรรถประโยชน์ของเงินจานวนแรก ตามกฎการลดลงของอรรถประโยชน์หน่ วยสุดท้ายเช่นกัน
เนื่องจากผู้บริโภคมีเงินเหลืออยู่น้อยลงกว่าเดิม ตราบเท่าที่อรรถประโยชน์ ท่ไี ด้รบั จากการ
บริโภคสินค้าหน่ วยนัน้ สูงกว่าอรรถประโยชน์ของเงินที่ต้องสูญเสียไปจากการซือ้ สินค้าหน่ วย
นัน้ ผู้บริโภคจะซื้อ สินค้าเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และจะหยุดเมื่อ อรรถประโยชน์ ของสินค้าหน่ ว ย
สุดท้ายเท่ากับอรรถประโยชน์ของเงินที่ใช้ซ้อื สินค้าหน่ วยสุดท้ายนัน้ และถ้ายังคงซื้อสินค้า
หน่ วยต่อๆ ไป จะทาให้อรรถประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากสินค้าหน่ วยสุดท้ายต่ ากว่าอรรถประโยชน์
ของเงินทีใ่ ช้ซอ้ื สินค้านัน้
เงินทีใ่ ช้ซอ้ื สินค้าหน่ วยสุดท้ายย่อมเท่ากับราคาสินค้านัน้ ถ้าให้ MUm คือ ค่า
อรรถประโยชน์ ของเงิน 1 หน่ วย อรรถประโยชน์ ของเงินที่ใช้ซ้อื สินค้าหน่ วยสุ ดท้ายก็คอื
PA x MUm ดังนัน้ ในกรณีทผ่ี บู้ ริโภคซือ้ สินค้าชนิดเดียว ผูบ้ ริโภคจะได้รบั อรรถประโยชน์รวม
สูงสุด หรือ ดุลยภาพของผูบ้ ริโภคจะเกิดขึน้ เมือ่ ซือ้ สินค้าในจานวนทีท่ าให้

MUA = PA x MUm

ถ้าให้อ รรถประโยชน์ ของเงิน 1 หน่ ว ย = 1 ยูทิล ดุล ยภาพของผู้บริโภคจะ


เกิดขึน้ เมือ่
MUA = PA

4.1.5 ดุลยภาพของผูบ้ ริ โภคกรณี ซื้อสิ นค้าหลายชนิ ด


ในกรณีทผ่ี บู้ ริโภคซือ้ สินค้าหลายชนิดจากเงินทีม่ อี ยู่จานวนหนึ่ง ผูบ้ ริโภคจะ
แบ่งเงินไปซื้อสินค้าแต่ละชนิดจนกระทังอรรถประโยชน์่ ของเงินหน่ วยสุดท้าย หรือ เงินบาท
สุดท้ายทีใ่ ช้ซอ้ื สินค้าแต่ละชนิดมีค่าเท่ากัน เช่น ในการซือ้ สินค้า A อรรถประโยชน์หน่ วย
สุดท้ายทีไ่ ด้รบั คือ MUA ถ้าราคาสินค้า A คือ PA ดังนัน้ อรรถประโยชน์ของเงินบาท
สุดท้ายทีใ่ ช้ซอ้ื สินค้า A จึงเท่ากับ MUA / PA ดังนัน้ จึงกล่าวได้ว่าดุล ยภาพของผูบ้ ริโภคใน
กรณีซอ้ื สินค้าหลายชนิดจะเกิดขึน้ เมือ่ เขาแบ่งเงินซือ้ สินค้าแต่ละชนิดจนกระทัง่
MUA = MUB = MUC = ……….. MUn
PA PB PC Pn

EC 103 95
บางกรณีผบู้ ริโภคอาจไม่ใช้จ่ายเงินทีม่ อี ยู่แบ่งซื้อสินค้าจนหมด ถ้าเขาพอใจ
ทีจ่ ะเก็บออมไว้แทนการใช้จา่ ย หรือ กล่าวได้ว่าอรรถประโยชน์ของเงินบาทสุดท้ายทีอ่ อมไว้ม ี
ค่าสูงกว่าอรรถประโยชน์ของเงินบาทสุดท้ายทีจ่ ะจ่ายซื้อสินค้า การออมจึงเป็ นอีกทางเลือก
หนึ่งนอกจากการซือ้ สินค้าชนิดต่าง ๆ ถ้าให้ MUm / Pm คือ อรรถประโยชน์ของเงินบาท
สุดท้ายที่ผู้บริโภคเก็บออมไว้ เงื่อนไขที่จะทาให้ผู้บริโภคได้รบั อรรถประโยชน์ทงั ้ หมดสูงสุด
จากการใช้เงินทีม่ อี ยู่ไปแบ่งซือ้ สินค้าชนิดต่าง ๆ ก็คอื ผูบ้ ริโภคจะต้องใช้จ่ายเงินในลักษณะที่
ทาให้
MUA = MUB = ……….. MU n = MU m
PA PB Pn Pm

สมมุติผู้บริโภคคนหนึ่งมีเงิน 40 บาท ต้องการซื้อสินค้า 2 ชนิด คือ A


และ B ถ้าราคาสินค้า A และ B เท่ากับ 3 และ 5 บาทตามลาดับ ความพอใจทีไ่ ด้รบั
จากการซือ้ สินค้าและการออมเป็นดังตาราง 4 . 2
ตาราง 4.2 อรรถประโยชน์ จากการซื้อสิ นค้า A สิ นค้า B และการออม
จานวนสิ นค้า TUA MUB MUA/PA TUB MUB MUB/PB TUm MUm MUm/Pm

1 54 54 18 75 75 15 9 9 9
2 99 45 15 135 60 12 16 7 7
3 129 30 10 175 40 8 19 3 3
4 138 9 3 200 25 5 21 2 2
5 141 3 1 215 15 3 22 1 1
6 138 -3 -1 220 5 1 22 0 0

จากเงินทีม่ อี ยู่ 40 บาท ผูบ้ ริโภคจะแบ่งใช้เงินเพื่อให้เกิดอรรถประโยชน์รวม


สูงสุด จากตาราง 4.2 จะเห็นได้ว่าอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย (MU) ทีไ่ ด้รบั จากการบริโภค

96 EC 103
สินค้า A สินค้า B และการออมจะแตกต่างกัน ดังนัน้ ผู้บริโภคจึงเลือกซื้อสินค้าตาม
อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายทีไ่ ด้รบั มากทีส่ ุดตามลาดับ คือ
ชิน้ ที่ 1 จะเลือกซือ้ สินค้า B (MU = 75) มีเงินเหลือ 40 – 5 = 35 บาท
ชิน้ ที่ 2 จะเลือกซือ้ สินค้า B (MU = 60) มีเงินเหลือ 35 – 5 = 30 บาท
ชิน้ ที่ 3 จะเลือกซือ้ สินค้า A (MU = 54) มีเงินเหลือ 30 – 3 = 27 บาท
ชิน้ ที่ 4 จะเลือกซือ้ สินค้า A (MU = 45) มีเงินเหลือ 27 – 3 = 24 บาท
ชิน้ ที่ 5 จะเลือกซือ้ สินค้า B (MU = 40) มีเงินเหลือ 24 – 5 = 19 บาท
ชิน้ ที่ 6 จะเลือกซือ้ สินค้า A (MU = 30) มีเงินเหลือ 19 – 3 = 16 บาท
ชิน้ ที่ 7 จะเลือกซือ้ สินค้า B (MU = 25) มีเงินเหลือ 16 – 5 = 11 บาท
ชิน้ ที่ 8 จะเลือกซือ้ สินค้า B (MU = 15) มีเงินเหลือ 11 – 5 = 6 บาท
ชิน้ ที่ 9 จะเลือกซือ้ สินค้า A (MU = 9) มีเงินเหลือ 6 – 3 = 3 บาท

เงินทีเ่ หลืออีก 3 บาท จะเก็บออมไว้เนื่องจาก MUm = 9 , 7 และ 3


ซึง่ มากกว่าการนาเงินไปซือ้ สินค้า A หรือ B สรุปได้ว่าจากเงินทีม่ อี ยู่ 40 บาท ผูบ้ ริโภค
จะแบ่งเงินไปซือ้ สินค้า A จานวน 4 ชิน้ สินค้า B จานวน 5 จานวนชิน้ รวมเป็ นเงินทัง้ สิน้
37 บาท ที่เหลือจะเก็บออมไว้ 3 บาท หรือ จะพิจารณาจากค่าอรรถประโยชน์จากการใช้
เงินบาทสุดท้ายทีเ่ ท่ากันก็ได้คอื

MUA = MUB = MUm = 3


PA PB Pm
ดุลยภาพดังกล่าวจะเกิดขึน้ เมื่อซือ้ สินค้า A จานวน 4 ชิน้ สินค้า B จานวน 5 ชิน้
และเก็บออมไว้อกี 3 บาท (ดูตาราง 4.2 ประกอบ)
ในกรณีทผ่ี บู้ ริโภคเลือกซือ้ สินค้าเพียงสองชนิด คือ A และ B อาจกล่าวได้ว่าเขาจะ
ได้รบั อรรถประโยชน์สงู สุดเมือ่
MUA = MUB
PA PB
ถ้าราคาสินค้า A ลดลงโดยทีส่ งิ่ อื่น ๆ คงที่ จะมีผลให้

EC 103 97
MUA > MUB
PA PB

แสดงว่าเงินบาทสุดท้ายทีใ่ ช้ซอ้ื สินค้า A ให้อรรถประโยชน์สูงกว่าการนาไปซือ้ สินค้า


B ผูบ้ ริโภคก็จะซือ้ สินค้า A เพิม่ ขึน้ โดยลดการซือ้ สินค้า B ลง ในทางตรงกันข้าม ถ้าราคา
สินค้า A สูงขึน้ ขณะทีส่ งิ่ อื่น ๆคงทีจ่ ะมีผลให้

MUA < MUB


PA PB

เงินบาทสุดท้ายทีใ่ ช้ซอ้ื สินค้า A ให้อรรถประโยชน์ต่ ากว่าการซือ้ สินค้า B ผูบ้ ริโภค


จะลดการซือ้ สินค้า A แล้วนาเงินไปซือ้ สินค้า B แทน คาอธิบายเหล่านี้เป็ นเหตุผลพืน้ ฐาน
ทีว่ ่าเมื่อราคาสินค้าสูงขึน้ ผูบ้ ริโภคจะซือ้ สินค้าน้อยลง และจะซือ้ มากขึน้ หากราคาสินค้าลดลง
ซึง่ เป็นไปตามกฎของอุปสงค์

4.2 การวิ เคราะห์พฤติ กรรมผู้บริ โภคโดยใช้ ทฤษฎี อรรถประโยชน์ แบบเรียง


ลาดับ หรือการ วิ เคราะห์ด้วยเส้นความพอใจเท่ากัน

จากการทีม่ ผี วู้ จิ ารณ์ทฤษฏีอรรถประโยชน์แบบหน่ วยนับ โดยเฉพาะประเด็นของการ


วัดความพอใจที่สามารถวัดออกมาเป็ นหน่ วยที่แน่ นอนได้มาโดยตลอด จึงมีผู้เสนอแนวการ
วิเคราะห์ทฤษฏีพฤติกรรมผูบ้ ริโภค โดยใช้เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference curve analysis)
โดยอธิบายว่าการศึกษาพฤติกรรมผูบ้ ริโภคไม่จาเป็ นต้องรูจ้ านวนทีน่ ับได้ของอรรถประโยชน์
ทีผ่ บู้ ริโภคได้รบั การรูแ้ ต่เพียงว่าผูบ้ ริโภคชอบสินค้าชนิดนัน้ มากกว่าชนิดนี้ หรือชอบสินค้า
ในสัดส่วนนัน้ มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับสินค้าในสัดส่วนนี้กพ็ อแล้ว ทฤษฏีดงั กล่าวนี้ จึง
เรียกว่าทฤษฎีอรรถประโยชน์แบบเรียงลาดับ (Ordinal Utility Theory)

98 EC 103
4.2.1 ความหมายและลักษณะของเส้นความพอใจเท่ากัน(Indifference curve)
เส้นความพอใจเท่ากัน หมายถึง เส้นทีแ่ สดงส่วนประกอบของสินค้าตัง้ แต่สอง
ชนิดขึน้ ไปที่ให้ความพอใจแก่ผบู้ ริโภคในระดับทีเ่ ท่ากัน เส้ นความพอใจเส้นทีอ่ ยู่ทางขวามือ
จะให้ความพอใจมากกว่าเส้นทีอ่ ยูซ่ า้ ยมือ เส้นความพอใจเท่ากันมีลกั ษณะทีส่ าคัญคือ
1) เส้นความพอใจเท่ ากันเป็ นเส้นที่ ต่อเนื่ องลาดจากซ้ ายไปขวา แสดง
ให้เห็นว่าสินค้า A และสินค้า B สามารถทดแทนกันได้ดี เมื่อผูบ้ ริโภคลดการบริโภคสินค้าชนิด
หนึ่งลง แล้วเพิม่ การบริโภคสินค้าอีกชนิดหนึ่ง ทาให้ผบู้ ริโภคมีความพอใจเท่าเดิม
2) เส้นความพอใจเท่ ากันจะไม่ตดั กันหรือสัมผัสกัน เนื่องจากขัดกับหลัก
ความเป็นจริง ดังเช่น รูป 4.1 เส้นความพอใจเท่ากัน IC1 และ IC2 ตัดกันทีจ่ ุด X บนเส้น
ความพอใจเท่ากัน IC1 ความพอใจทีไ่ ด้รบั จากการบริโภคสินค้า A และ B ณ จุด Y =
ความพอใจทีไ่ ด้รบั จากการบริโภคสินค้า A และ B ณ จุด X เนื่องจากอยู่บนเส้นความ
พอใจเส้นเดียวกันคือ IC1
ในทานองเดียวกันบนเส้นความพอใจเท่ากัน IC2 ความพอใจทีผ่ ู้บริโภค
ได้รบั จากการบริโภคสินค้า A และ B ทีจ่ ุด Zจะเท่ากับทีจ่ ุด X ตามหลักคณิตศาสตร์
เมื่อความพอใจทีจ่ ุด Y และ Z ต่างเท่ากับความพอใจทีจ่ ุด X ดังนัน้ ความพอใจจากการ
บริโภคสินค้า ที่จุด Y ย่อมเท่ากับความพอใจจากการบริโภคสินค้า ที่จุด Z ด้วย แต่
เนื่องจาก Y อยู่บนเส้นความพอใจเท่ากันทีส่ ูงกว่า Z จึงให้ความพอใจมากกว่า ดังนัน้ เส้น
ความพอใจเท่ากันจึงตัดกันไม่ได้

EC 103 99
สิ นค้า B

Y
Z

X
IC2

IC1
สิ นค้า A
0

รูป 4.1 เส้ นความพอใจเท่ากันทีต่ ัดกัน

3) เส้นความพอใจเท่ ากันเป็ นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกาเนิ ด จากกฎการ


ลดลงของอัตราสุดท้ายของการใช้แทนกันของสินค้า (Law of Diminishing marginal rate
of substitution) ซึง่ มีสาระสาคัญคือ เมือ่ ผูบ้ ริโภคได้รบั สินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเพิม่ ขึน้ เรื่อย ๆ
เพื่อนาไปใช้แทนสินค้าอีกชนิดหนึ่งที่มจี านวนลดลง โดยไม่มผี ลทาให้ระดับความพอใจของ
ผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง อัต ราสุ ดท้ายของการใช้แทนกันของสินค้า (Marginal rate of
substitutions: MRS) จะลดลงตามลาดับ
อัต ราสุ ด ท้ า ยของการใช้ แ ทนกัน หมายถึง จ านวนสิน ค้ า ชนิ ด หนึ่ ง ที่
ผูบ้ ริโภคยินดีเสียสละไปเพื่อแลกกับการได้สนิ ค้าอีกชนิดหนึ่งมาจานวนหนึ่งหน่ วย โดยไม่ทา
ให้ระดับความพอใจเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม

MRSAB = B
A

100 EC 103
ตาราง 4 .3 การหาค่าอัตราสุดท้ายของการใช้แทนกันของสิ นค้า A และสิ นค้า B
สิ นค้า A สิ นค้า B A B MRSAB = B/A
30 5 - - -
18 10 -12 5 -2.4
13 15 -5 5 -1.0
10 20 -3 5 -0.6
8 25 -2 5 -0.4
7 30 -1 5 -0.2

MRSAB หรือ อัตราสุดท้ายของการใช้แทนกันของสินค้า A และสินค้า B ณ


จุดใดจุดหนึ่งบนเส้นความพอใจเท่ากันก็คอื ค่าความชันของเส้นความพอใจเท่ากันนันเอง

สิ นค้า B

B

A
IC
0 สิ นค้า A

รูป 4.2 การหา MRS จากค่าความชันของเส้นความพอใจเท่ ากัน

EC 103 101
นอกจากนี้เรายังสามารถหาค่า MRSAB ได้จากค่าอรรถประโยชน์ หน่ ว ย
สุดท้ายดังนี้
MRSAB = MUA
MUB

จากกฎการลดลงของอัต ราสุ ดท้ายของการใช้แทนกันของสินค้า ดัง กล่ า ว


ข้างต้นสามารถอธิบายลักษณะการโค้งเว้าเข้าหาจุดกาเนิดของเส้นความพอใจเท่ากั นได้ โดย
ดูจากค่าความชันของเส้นความพอใจเท่ากัน เนื่องจาก MRS ก็คอื ค่าความชันนัน่ เอง เมื่อ
บริโภคสินค้า A มากขึน้ ค่า MRSAB ลดลง และค่าความชันของเส้นความพอใจเท่ากันจะ
ลดต่าลงเมือ่ เป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกาเนิดเท่านัน้
4.2.2 ความหมายและลักษณะเส้นงบประมาณ (Budget line)
เส้นงบประมาณ หมายถึง เส้นทีแ่ สดงสัดส่วนต่าง ๆ กันของสินค้าตัง้ แต่สอง
ชนิดขึน้ ไปที่ผบู้ ริโภคสามารถซื้อได้ด้วยเงินจานวนเดียวกัน เช่น ผู้บริโภคมีเงินงบประมาณ
อยูจ่ านวน 100 บาท ถ้าราคาสินค้า A และ B คือ 10 และ 20 บาทตามลาดับ ผูบ้ ริโภค
สามารถเลือกซือ้ สินค้า A และ B ในสัดส่วนต่างๆ ตามตาราง 4.3

ตาราง 4.3 จานวนสิ นค้า A และ B ที่ผบ้ ู ริ โภคซื้อได้ด้วยเงิ น 100 บาท


สิ นค้า A สิ นค้า B
10 0
8 1
6 2
4 3
2 4
0 5

102 EC 103
สิ นค้า B

1
สิ นค้า A
0 6 8 10

รูป 4.3 เส้นงบประมาณ


เส้นงบประมาณอาจเปลี่ยนแปลงได้ถ้าจานวนงบประมาณเปลี่ยนแปลงไป
เช่ น ถ้า งบประมาณเพิ่มขึ้น โดยที่ร าคาสิน ค้าทัง้ สองไม่เ ปลี่ย นแปลง จะมีผ ลท าให้เ ส้น
งบประมาณเลื่อนไปทางขวามือของเส้นเดิม เช่น จากรูป 4.4 จะเห็นว่าเดิมเส้นงบประมาณ
คือ เส้น EF ต่อมาเมือ่ จานวนเงินงบประมาณเพิม่ ขึน้ เส้นงบประมาณจะเลื่อนมาเป็ นเส้น GH
แต่ถา้ จานวนเงินงบประมาณลดลงก็จะเลื่อนไปทางซ้ายมือเป็นเส้น CD
สิ นค้า B
G

สิ นค้า A
0 D F H
รูปที่ 4.4 การเปลี่ยนแปลงเส้ นงบประมาณอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงจานวนเงิน

EC 103 103
นอกจากนี้ เ ส้ น งบประมาณอาจเปลี่ย นแปลงได้ จ ากการที่ ร าคาสิน ค้ า
เปลีย่ นแปลง เช่น ถ้าราคาสินค้า A เพิม่ สูงขึน้ จะมีผลทาให้ผบู้ ริโ ภคสามารถซือ้ สินค้า A ได้
น้อยลงจากงบประมาณจานวนเดิม ทาให้เส้นงบประมาณในรูป 4.5 เปลี่ยนจากเส้น EF มา
เป็นเส้น ED หรือ ในกรณีทร่ี าคาสินค้า A ลดลงจะมีผลทาให้เส้นงบประมาณ EF เปลีย่ นมา
เป็นเส้น EG เป็นต้น
สิ นค้า B

สิ นค้า A
0 D F H

รูป 4.5 การเปลีย่ นแปลงเส้นงบประมาณอันเนื อ่ งจากการเปลีย่ นแปลงราคาสิ นค้า A

4.2.3 ดุลยภาพของผูบ้ ริ โภค


ดุลยภาพของผูบ้ ริโภค หมายถึง การทีผ่ ู้บริโภคจัดสรรเงินที่มอี ยู่ไปซือ้ สินค้า
ในสัดส่วนให้ได้รบั ความพอใจสูงสุด ในการวิเคราะห์ดุลยภาพของผูบ้ ริโภคสามารถทาได้โดย
การนาเอาเส้นความพอใจเท่ากัน และเส้นงบประมาณมาพิจารณาร่วมกัน ดังรูป 4.6

104 EC 103
สิ นค้า B

E G
H
IC4
I IC3
IC2
J IC1
K
สิ นค้า A
0 F

รูป 4.6 ดุลยภาพของผู้บริ โภค

จากเส้นงบประมาณ EF ในรูป 4.6 จะเห็นได้ว่าการเลือกจุดบริโภคไม่ว่า


จะเป็นจุด E G H I J K หรือ F ต่างก็ใช้เงินงบประมาณจานวนเดียวกัน แต่จะให้ความ
พอใจทีต่ ่างกัน เนื่องจากอยูบ่ นเส้นความพอใจเท่ากันคนละเส้นที่ G และ K ให้ความพอใจ
เท่ากัน แต่ความพอใจทีไ่ ด้รบั จะน้อยกว่า H I J การบริโภคทีจ่ ุด I จะให้ความพอใจสูง
ทีส่ ุดจากงบประมาณทีม่ อี ยู่ ดังนัน้ จึงอาจกล่าวได้ว่าเงื่อนไขทีจ่ ะทาให้ผบู้ ริโภคอยู่ในดุลยภาพ
คือ ผูบ้ ริโภคจะต้องจัดสรรงบประมาณทีม่ อี ยู่แบ่งซือ้ สินค้า A และ B ในสัดส่วน ณ จุดที่
เส้นความพอใจเท่ากันสัมผัสกับเส้นงบประมาณ ณ จุดดังกล่าวความชันของเส้นความพอใจ
เท่ากันและความชันของเส้นงบประมาณจะมีค่าเท่ากัน เนื่องจากค่าความชันของเส้ นความ
พอใจเท่ากันคือ MRSAB และค่าความชันของเส้นงบประมาณ คือ อัตราราคาโดยเปรียบเทียบ
ซึง่ เท่ากับ PA/PB ดังนัน้ ดุลยภาพของผูบ้ ริโภคจึงเกิดขึน้ ณ จุดที่
MRSAB = PA/ PB
เนื่องจาก MRSAB = MUA/ MBB

EC 103 105
ดังนัน้ MUA = PA
MUB PB

หรือ MUA = MUB


PA PB

จะเห็นได้ว่าสมการดุลยภาพของผู้บริโภคที่ได้จากการวิเ คราะห์เส้นความ
พอใจเท่ากัน และการวิเคราะห์ทฤษฏีอรรถประโยชน์กค็ อื สมการเดียวกันนันเอง

4.2.4 เส้นความพอใจเท่ากันและกฎของอุปสงค์
จากการวิเคราะห์ทฤษฏีเส้นความพอใจเท่ากัน จะเห็นได้ว่าเมื่อผูบ้ ริโภคมีเงิน
งบประมาณจานวนหนึ่ง เพื่อให้ได้รบั ความพอใจสูงสุดจากการบริโภคสินค้าสองชนิด ผูบ้ ริโภค
จะแบ่งเงินซือ้ สินค้าทัง้ สองในสัดส่วนดังนี้ MRSAB = PA/ PB ถ้าราคาสินค้า A
เปลีย่ นแปลงไป เช่น PA ลดลงย่อมมีผลให้ MRSAB > PA / PB ผูบ้ ริโภคจะปรับปริมาณ
การซื้อสินค้าเสียใหม่เ พื่อ ให้เข้าสู่ดุ ล ยภาพใหม่ เพราะเมื่อราคาสินค้า A ลดลง เส้น
งบประมาณจะเปลี่ยนไปเป็ นเส้นที่มคี ่าความชันน้อยลง ดังจะเห็นได้จากรูป 4.7 เมื่อราคา
สินค้า A ลดลงจาก P1 เป็น P2 และ P3 เส้นงบประมาณจะเปลีย่ นจากเส้น MN เป็ นเส้น
MP และ MQ ตามลาดับ จะเกิดดุลยภาพใหม่ทจ่ี ุดสัมผัส E1 E2 และ E3 ซึง่ เป็ นจุดทีค่ ่า
MRSAB กลับมาเท่ากับ PA/PB อีกครัง้ และปริมาณการซือ้ สินค้า A เพิม่ สูงขึน้ ซึง่ เป็ นไปตาม
กฎของอุปสงค์

106 EC 103
สิ นค้า B

M
PCC

E1 E2 E3

O สิ นค้า A
N P Q

ราคา

P1

P2 D
P1
สิ นค้า A
A1 A2 A3

รูป 4.7 เส้นอุปสงค์ทีไ่ ด้จากการวิ เคราะห์เส้นความพอใจเท่ากัน

EC 103 107
คาถามท้ายบท

จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องที่สดุ เพียงคาตอบเดียว


1. อรรถประโยชน์ หมายถึงข้อใด
1 ประโยชน์ทผ่ี บู้ ริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้า
2 ประโยชน์ทผ่ี บู้ ริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้าชิน้ สุดท้าย
3 ความพอใจทีผ่ บู้ ริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้า
4 ความพอใจทีผ่ บู้ ริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้าชิน้ สุดท้าย
5 ทีผ่ บู้ ริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้าจากการบริโภคสินค้าทีต่ นเองชอบเท่านัน้
2. เมื่อผู้บริโภคได้รบั สินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเพิม่ ขึน้ เรื่อย ๆ อรรถประโยชน์ ท่เี ขาได้รบั จาก
การบริโภคสินค้าชิน้ สุดท้ายจะลดลงตามลาดับ เนื่องจากเหตุผลข้อใด
1 กฎการลดลงของผลผลิตหน่วยสุดท้าย
2 กฎการลดลงของอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย
3 กฎของอุปสงค์
4 กฎของอุปทาน
5 กฎการลดลงของรายได้
3. กรณีทบ่ี ริโภคสินค้า A เพียงชนิดเดียว ดุลยภาพของผูบ้ ริโภคจะเกิดขึน้ เมือ่ ใด
1 MUA/PB = MUB/PA
2 MUA = MUB
3 MUA = PA
4 MUA/PA = MUB/PB
5 PA = P B

108 EC 103
4. เส้นทีแ่ สดงให้เห็นถึงสัดส่วนการบริโภคสินค้าสองชนิดทีต่ ่างกันแต่ให้ความพอใจเท่ากันคือ
เส้นใด
1 เส้นรายได้
2 เส้นงบประมาณ
3 เส้นการบริโภค
4 เส้นอุปสงค์
5 เส้นความพอใจเท่ากัน
5 ดุลยภาพของผูบ้ ริโภคตามทฤษฎีอรรถประโยชน์แบบเรียงลาดับจะเกิดขึน้ เมือ่ ใด
1 บริโภคสินค้าในสัดส่วนทีใ่ ห้ความพอใจเท่ากัน
2 บริโภคสินค้าในสัดส่วนทีเ่ สียเงินเท่ากัน
3 บริโภคสินค้าในสัดส่วนทีเ่ ส้นอุปสงค์เท่ากับอุปทาน
4 บริโภคสินค้าในสัดส่วนทีเ่ ส้นความพอใจเท่ากันตัดกับเส้นงบประมาณ
5 บริโภคสินค้าในสัดส่วนทีเ่ ส้นความพอใจเท่ากันสัมผัสกับเส้นงบประมาณ

EC 103 109
เฉลยคาถามท้ายบท

ลักษณะคาถามคาตอบในบทที่ 4
คาถามที่ 1. อรรถประโยชน์ หมายถึงข้อใด
แนวตอบที่ 1. ข้อ 3 อรรถประโยชน์ หมายถึง ความพอใจทีผ่ บู้ ริโภคได้รบั จากการบริโภค
สินค้า

คาถามที่ 2. เมือ่ ผูบ้ ริโภคได้รบั สินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ อรรถประโยชน์ทเ่ี ขา


ได้รบั จากการบริโภคสินค้าชิน้ สุดท้ายจะลดลงตามลาดับเนื่องจากเหตุผลใด
แนวตอบที่ 2. ข้อ 2 กฎการลดลงของอรรถประโยชน์ ห น่ ว ยสุ ดท้า ย ซึ่ง กล่ า วได้ว่ า เมื่อ
ผู้บริโภคได้รบั สินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อรรถประโยชน์ ท่เี ขา
ได้รบั จากการบริโภคสินค้าชิน้ สุดท้ายจะลดลงตามลาดับ

คาถามที่ 3. กรณีทบ่ี ริโภคสินค้า A เพียงชนิดเดียว ดุลยภาพของผูบ้ ริโภคจะเกิดขึน้


เมือ่ ใด
แนวตอบที่ 3. ข้อ 3 ดุ ล ยภาพของผู้บ ริโ ภคกรณีท่ีบ ริโ ภคสินค้า ชนิด เดีย วจะอยู่ท่ีอ รรถ
ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการบริโภคสินค้าชนิดนัน้ เท่ากับราคาสินค้านัน้

คาถามที่ 4. เส้นที่แสดงให้เห็นถึงสัดส่วนการบริโภคสินค้าสองชนิดที่ต่างกันแต่ให้ความ
พอใจเท่ากันคือเส้นใด
แนวตอบที่ 4. ข้อ 5 เส้นความพอใจเท่ากัน หมายถึง เส้นที่แสดงให้เห็นถึงสัดส่ วนการ
บริโภคสินค้าสองชนิดทีต่ ่างกันแต่ให้ความพอใจเท่ากัน

คาถามที่ 5. ดุลยภาพของผู้บริโภคตามทฤษฎีอรรถประโยชน์ แบบเรียงลาดับจะเกิดขึ้น


เมือ่ ใด
แนวตอบที่ 5. ข้อ 5 ดุลยภาพของผู้บริโภคตามทฤษฏีอรรถประโยชน์ แบบเรียงล าดับจะ
เกิด ขึ้นเมื่อ บริโ ภคสิน ค้าในสัดส่ ว นที่เ ส้น ความพอใจเท่ า กันสัม ผัส กับ เส้น
งบประมาณ

110 EC 103

You might also like