You are on page 1of 8

อ.

เพ็ญญาภรณ์ เหล่าธนาสิน
1.ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory)
เป็นทฤษฎีที่ถือว่าความพอใจของผู้บริโภคสามารถวัดเป็นหน่วยได้ โดยหน่วยที่วัดเรียกว่า Util
ถือเป็น Cardinal Theory
2.ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory)
เป็นทฤษฎีที่ถือว่าความพอใจของผู้บริโภคไม่สามารถวัดได้ จะบอกได้ เพียงว่ามีความพอใจ
มากกว่าหรือน้อยกว่าถือเป็น Ordinal Theory

2
1. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory)
เป็นทฤษฎีที่ถือว่าความพอใจของผู้บริโภคสามารถวัดเป็นหน่วยได้ โดยหน่วยที่วัดเรียกว่า
Utility ถือเป็น Cardinal Theory
▪ ทฤษฎีอรรถประโยชน์มีพื้นฐานมาจากหลักจิตวิทยา ที่กล่าวว่ามนุษย์เราจะทาตามความพึงพอใจ
ของตนเอง ดังนั้นการซื้อสินค้าและบริการก็เกิดจากความพึงพอใจที่จะได้รับจากการซือ้ สินค้า
ดังกล่าว
▪ อรรถประโยชน์ (Utility) : ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการ อุปโภคบริโภคสินค้าและบริการ
▪ ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจาการบริโภคสินค้าและบริการสามารถ วัดเป็นหน่วยได้เรียกว่า
Utility เศรษฐทรัพย์ (economic goods) ทุกชนิดย่อมมีอรรถประโยชน์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ
ต้องการในสินค้า
▪ สินค้าชนิดเดียวกันจานวนเท่ากันอาจให้อรรถประโยชน์ต่างกันได้ กรณีเวลาต่างกัน หรือผู้บริโภค
ต่างกัน

3
▪ อรรถประโยชน์เพิม่ (Marginal Utility:MU) ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รบั เพิม่ ขึน้ จากการ
บริโภคสินค้าเพิม่ ขึน้ 1 หน่วย
▪ อรรถประโยชน์รวม (Total Utility:TU)
ผลรวมของอรรถประโยชน์ส่วนเพิม่ (MU)ที่ผู้บริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้า ตัง้ แต่
หน่วยแรกจนถึงหน่วยที่กาลังพิจารณา TU = Mui
TU , MU max TU
▪ เมื่อผู้บริโภคได้รบั สินค้าหรือบริการเพิม่ ขึน้ ๆทีละหน่วย
อรรถประโยชน์สว่ นเพิม่ (MU) ของสินค้าและบริการหน่วย TU
ที่เพิม่ นัน้ จะลดลงตามลาดับ
ถ้าบริโภค Q MU TU ในช่วงแรก
ถ้าบริโภคต่อ จนณ จุดที่ MU = 0 จะทาให้ TU มี
ค่าสูงสุด MU=0
และถ้าหากผู้บริโภค ยังบริโภค Q เพิม่ ขึน้ อีก MU จะติด 0 Q
ลบ TU จะลดลง 10 MU
4
▪ เป็นการพิจารณาว่าผู้บริโภคจะใช้จ่ายเงินรายได้ที่มีอยู่จากัดในการซื้อสินค้าและบริการชนิดต่างๆ
อย่างไร จึงจะได้รับความพอใจสูงสุด (maximize utility)ทั้งนี้ผู้บริโภคจะต้องทราบราคาสินค้าที่
กาลังตัดสินใจด้วย
ดุลยภาพ เกิดขึ้น เมื่อ Max TU

ข้อโต้แย้งทฤษฎีอรรถประโยชน์ TU , MU max TU
• ในการซื้อสินค้าและบริการผู้บริโภคไม่ได้สนใจถึง TU
MU ของสินค้าแต่ละชนิด ทาให้ไม่เกิดดุลยภาพ
• ผู้บริโภคมักซื้อสินค้าตามความเคยชิน ไม่ได้
คานึงถึง MU
• ความพอใจของผู้บริโภคไม่สามารถวัดออกเป็น MU=0
หน่วยได้ 0 10 Q
MU

5
▪ ผู้บริโภคสามารถบอกได้เพียงได้รบ
ั ความพอใจมากกว่า หรือน้อยกว่า เมื่อเทียบกับ
ระดับการบริโภคปั จจุบนั แต่จะไม่สามารถบอกได้ว่า มากกว่า หรือน้อยกว่าจานวน
เท่าใด
▪ เส้นความพอใจเท่ากัน (เส้น IC) คือ เส้นที่แสดงสัดส่วนของสินค้าสองชนิดที่แตกต่าง
กันแต่ให้ความพอใจแก่ผู้บริโภคเท่ากัน
สิ นค้า Y
คุณสมบัตขิ องเส้น ความพอใจเท่ากัน
A
10 • เป็นเส้นโค้งทอดลงจากซ้ายมาขวา
• เป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกาเนิด(origin)
B • เส้นความพอใจเท่ากันตัดกันไม่ได้
6
4 • เป็นเส้นที่ต่อเนื่องไม่ขาดตอน
IC

0 สิ นค้า X
1 2 3
6
▪ เส้นงบประมาณ (Budget Line): เส้นที่แสดงให้เห็นถึงจานวน ต่างๆของสินค้า 2
ชนิด ซึ่งสามารถซื้อได้ด้วยเงินจานวนหนึ่งที่ กาหนดให้ ณ ราคาตลาดขณะนัน้

สิ นค้า y M: รายได้ของผู้บริโภค
Py: ราคาสิ นค้า Y
M/Py Px: ราคาสิ นค้า x

เส้ นงบประมาณ slope = Px/Py

สิ นค้าx
0 M/Px

7
▪ ดุลยภาพของผู้บริโภคจะเกิดขึน้ เมื่อผู้บริโภคใช้เงินที่มอี ยูจ่ ากัดซื้อ สินค้า 2 ชนิด และทา
ให้เขาได้รบั ความพอใจสูงสุด
สิ นค้าy
ดุ ลยภาพผูบ้ ริ โภค slope IC = slope BL
M/Py
MRSxy =- Y = Px /Py
X
E
IC

สิ นค้าx
0 M/Px

You might also like