You are on page 1of 9

MICRO ECONOMICS

Demand = ความต้องการซื้อหรือบริการ ณ ระดับราคาต่างๆกัน โดยมีความ “ตั้งใจจะซื้อและ


ความสามารถที่จะซื้อ”

ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์
หรือพูดง่าย ๆ ว่า อะไรบ้างหละ ที่เป็นปัจจัยที่เราจะตัดสินใจที่จะซื้อของ
1. ราคาของสินค้าที่จะซื้อ
2. รายได้ของตัวเรา
3. ราคาสินค้าอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ex. จะซื้อโค้ก ต้องเปรียบเทียบราคาของเป๊บซี่ก่อน
4. รสนิยมของตัวเรา
5. ฤดูกาล ex. ฤดูอกหัก ต้องการคนปลอบใจ
หรือเรียกเท่ ๆ ว่า “ฟังก์ชั่นอุปสงค์” Qx = f( Px , Y , Py ,T , S , . . . )
“เมื่อราคาเพิ่มขึ้น จะอยากได้สินค้านั้นน้อยลง”  Law of Demand
ราคา นายแดง นายดา นายขาว อุปสงค์ตลาด
5 10 5 15 30
4 20 10 18 48
3 30 15 21 66
2 40 20 24 84
1 50 25 25 100
ซึ่งเมื่อรวมทุกอุปสงค์ของแต่ละคนรวมกันแล้วจะเรียกว่า “อุปสงค์ตลาด : Market Demand”
(ราคา 5 บาท นายแดงต้องการซื้อ 10 ชิ้น นายดาต้องการซื้อ 5 ชิ้น และนายขาวต้องการซื้อ 15 ชิ้น)
SO… ที่ราคา 5 บาท ตลาดจะต้องการทั้งหมด 30 ชิน้
ควำมยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand : Ed)

นิยาม : เมื่ออัตราราคาเปลี่ยนแปลงไป...% จะส่งผลให้อัตราความต้องการซื้อเปลี่ยนแปลงไป …%


พูดง่าย ๆ คือ “เมื่อราคาเปลี่ยนแปลงไป เราตอบสนองยังไงกับราคาที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งถ้าหาก
ทางเลือกเราเยอะ เราก็จะไม่ค่อยได้รับผลกระทบ แสดงว่าเรามีความยืดหยุ่นสูง”
Ex เมื่อราคาของน้าเปล่าเพิ่มขึ้น 50% เราอาจจะซื้อน้อยลงไม่มาก (ถ้าหนูๆไม่งกจนเกินไป) แต่เมื่อ
ราคาของเป๊บซี่เพิ่มขึ้น 50% เราอาจจะไม่กินเลยก็ได้ แล้วอะไรหล่ะ?? ที่เป็นปัจจัยกาหนดสิ่งเหล่านี้

ประเภทของความยืดหยุ่นต่ออุปสงค์
1. ควำมหยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรำคำ (Price Elasticity of Demand : Ep) คือ
เมื่ออัตราราคาเปลี่ยนแปลงไป...% จะส่งผลให้อัตราความต้องการซื้อเปลี่ยนแปลงไป …%

การคานวณความยืดหยุ่นแบบจุด การคานวณความยืดหยุ่นแบบช่วง
∆Q P1 ∆Q P1+P2
𝐸𝑑 = × 𝐸𝑑 = ×
∆P Q1 ∆P Q1+Q2
TIP : โดยค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาจะเป็นลบเสมอ เนื่องจาก Law of Demand
ตัวอย่าง เมื่อมังคุดราคา 25 บาท/กิโลกรัม นายตู่จะซื้อมังคุด จานวน 30 กิโลกรัมไปฝากนายแม้ว ต่อมาราคา
เพิ่มขึ้นเป็น 30 บาทต่อกิโลกรัม จึงซื้อมังคุดลดลงเป็น 20 กิโลมกรัม จงคานวณหาความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อ
ราคาทั้งแบบจุดและแบบช่วง

การแปลความหมาย 

การวิเคราะห์ค่าความยืดหยุ่นมี 2 กรณีคือ
1) กรณี Ep < 1 “เมื่อราคาเปลี่ยนแปลงไปมาก แต่ปริมาณเปลี่ยนแปลงน้อย” หรือเรียกได้ว่าเป็นสินค้า
จาเป็น ex. เกลือ น้าตาล ยาสีฟัน
2) กรณี Ep>1 “เมื่อราคาเปลี่ยนแปลงไปน้อย แต่ปริมาณเปลีย่ นแปลงไปมาก” หรือเรียกได้ว่า
เป็นสินค้าฟุ่มเฟือย ex. ไก่ทอดเคเอฟซี ราคาตั๋วเครื่องบิน นาฬิกา

ลักษณของความยืดหยุ่น มีทั้งหมด 5 รูปแบบหลัก ๆ คือ


1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์เท่ากับศูนย์ หรือไม่มีความยืดหยุ่นเลย (Perfectly Inelasticity)
2. ความหยืดหยุ่นมีค่าน้อยกว่าหนึง่ (Ed<1) หรือยืดหยุ่นน้อย (Inelasticity)

3. ความยืดหยุ่นมีค่าเท่ากับหนึง่

4. ความยืดหยุ่นมีค่ามากกว่าหนึง่ (Ed>1) หรือความยืดหยุ่นมาก (Elasticity)

5. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์เท่ากับอินฟินิตี้ หรือยืดหยุ่นมากสุดๆไปเลย (Perfectly elasticity)


เพิ่มเติมจ้า : รายรับรวมของผู้ผลิต และ ความยืดหยุ่น

2. ควำมยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรำยได้ คือ
เมื่ออัตรารายได้เปลี่ยนแปลงไป...% จะส่งผลให้อตั ราความต้องการซื้อเปลี่ยนแปลงไป …%
เมื่อมีเงินมากขึ้น จะตอบสนองต่อสินค้ายังไง ex บางคนมีเงินมากขึ้นอาจเปลี่ยนจากกินข้าวราดแกง
เป็นข้าวราดแกงพรีเมียม (รายได้เพิ่มขึ้น แต่ความต้องการกินข้าวราดแกงลดลง)

การคานวณความยืดหยุ่นแบบจุด การคานวณความยืดหยุ่นแบบช่วง
∆Q I1 ∆Q I1+I2
𝐸𝑖 = × 𝐸𝑖 = ×
∆𝐼 Q1 ∆I Q1+Q2

ตัวอย่าง เดิมนายสมโชคทาอาชีพผู้พทิ ักษ์รักษาความปลอดภัยของบริษัทแห่งหนึ่ง มีรายได้ 8000 บาทต่อเดือน


โดยมีพฤติกรรมกินข้าวแกง 60 มื้อต่อเดือน และกินข้าวแกงพรีเมียม 20 มื้อต่อเดือน ต่อมานายสมโชคได้เลือ่ น
ตาแหน่ง เป็นสามีของบริษัทข้างต้น ได้รับเงินเดือนประจาตาแหน่งเพิม่ ทาให้มรี ายได้ 15000 บาทต่อเดือน ทาให้
นายสมโชคกินข้าวแกงเหลือเพียง 20 มื้อต่อเดือน แต่กลับกินข้าวแกงพรีเมียมเพิ่มขึ้นเป็น 100 มื้อต่อเดือน จงหา
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรายได้ (EIncome) ของทัง้ ข้าวแกงและข้าวแกงพรีเมียม
การแปลความหมาย 
ดังนั้นข้าวแกงเป็นสินค้าด้อย(Inferior Goods)และข้าวแกงพรีเมียมเป็นสินค้าปกติ (Normal Goods)

การวิเคราะห์ค่าความยืดหยุ่นมี 2 กรณีคือ
1) กรณี EI เป็นบวก “เมื่อรายได้เพิ่มขึ้น บริโภคเพิม่ ขึ้น” หรือเรียกได้ว่าเป็นสินค้าปกติ (Normal
Goods) ex เสื้อผ้า กระเป๋า
2) กรณี EI เป็นลบ “เมื่อรายได้เพิ่มขึ้น บริโภคน้อยลง” หรือเรียกได้ว่าเป็นสินค้าด้อย (Inferior
Goods) ex อาหารกากๆ

3. ควำมยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรำคำสินค้ำชนิดอื่น (ควำมยืดหยุ่นไขว้) คือ


เมื่ออัตราราคาของสินค้า x เปลี่ยนแปลงไป ...% จะส่งผลให้อัตราความต้องการซื้อสินค้าy
เปลี่ยนแปลงไป …%
เมื่อราคาของสินค้าที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลง เราจะตอบสนองอย่างไรกับอีกสินค้า ex เมื่อราคาเนื้อไก่
สูงขึ้น เราอาจจะไปบริโภคเนื้อหมูแทน
การคานวณความยืดหยุ่นแบบจุด การคานวณความยืดหยุ่นแบบช่วง
∆Q𝑥 Py ∆Qx Py1+Py2
𝐸𝑖 = × 𝐸𝑖 = ×
∆𝑃𝑦 Qx ∆Py Qx1+Qx2
ตัวอย่าง เดิมราคาของเป้บซี่อยู่ที่ 15 บาทต่อขวด มีคนบริโภคจานวน 3000 หน่วยต่อสาขา และโค้กราคาอยู่ที่ 14 บาทต่อขวด มี
คนบริโภคจานวน 3500 หน่วยต่อสาขา ต่อมาบริษัทเป้บซี่ต้องการลดราคาเพื่อครองส่วนแบ่งทางการตลาด ราคาใหม่ของเป้บซี่จึง
อยู่ที่ 12 บาทต่อขวด ทาให้มีคนบริโภคโค้กน้อยลงเหลือ 2000 หน่วยต่อสาขา จงหาความยืดหยุ่นไขว้ของเป๊บซี่ต่อโค้ก

การแปลความหมาย 
ดังนั้นสรุปได้ว่าโค้กและเป๊บซี่เป็นสินค้าทดแทนกัน
การวิเคราะห์ค่าความยืดหยุ่นมี 2 กรณีคือ
1. กรณี Exy เป็นบวก “เมื่อราคาของสินค้า X เพิ่มขึ้น บริโภค Y เพิ่มขึ้น” หรือเรียกได้ว่าเป็นสินค้าทดแทน
กันได้ ex) Grab Taxi และ Uber , Uniqlo และ H&M
2. กรณี Exy เป็นลบ “เมื่อราคาของสินค้า X เพิ่มขึ้น บริโภค Y ลดลง” หรือเรียกได้ว่าเป็นสินใช้ประกอบกัน
ex) รถยนต์และน้ามัน , มิกเซอร์และเหล้า

(Tip : เมื่ออัตราส่วนเปลี่ยนแปลงไป … % จะส่งผลให้อัตราเศษเปลี่ยนแปลงไป …%)

You might also like