You are on page 1of 42

บทที่ 5

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบ้ ริโภค
5.1 วิธีทศี่ ึกษาจากอรรถประโยชน์
5.1.1 ความพอใจทีว่ ดั เป็ นหน่ วยได้
5.1.2 กฏการลดน้ อยถอยลงของอรรถประโยชน์ เพิม่
5.1.3 วิธีการหาดุลยภาพของผู้บริโภค
5.1.4 การสร้ างเส้ นอุปสงค์ โดยวิธีอรรถประโยชน์
5.1.5 ส่ วนเกินของผู้บริโภค
5.2 ทฤษฎีอุปสงค์ ของผู้บริโภค แสดงโดยเส้ นพอใจเท่ ากัน
5.2.1 ข้ อสมมติของเส้ นความพอใจเท่ ากัน
5.2.2 เส้ นความพอใจเท่ ากัน
5.2.3 เส้ นงบประมาณหรือเส้ นราคา
5.2.4 วิธีการหาดุลยภาพของผู้บริโภค โดยวิธีของเส้ นความพอใจเท่ ากัน
5.2.5 ผลของการเปลีย่ นแปลงของรายได้ กบั ดุลยภาพของผู้บริโภค
5.2.6 ผลของการเปลีย่ นแปลงของราคาสิ นค้ ากับดุลยภาพของผู้บริโภค
5.2.7 การสร้ างเส้ นอุปสงค์ โดยใช้ เส้ นความพอใจเท่ ากัน
บทที่ 5
ทฤษฎีพฤติกรรมผูบ้ ริโภค
วิธีการศึกษาพฤติกรรมของผูบ้ ริโภค มี 2 แบบ
ก) วิธีที่ศึกษาจากอรรถประโยชน์
ข) วิธีที่ศึกษาจากเส้นความพอใจเท่ากัน
5.1 วิธีที่ศึกษาจากอรรถประโยชน์
(Utility Approach)

5.1.1 ความพอใจที่วดั เป็ นหน่ วยได้


สมมุติว่า ความพอใจหรืออรรถประโยชน์ (Utility)
ที่ผบู้ ริโภคได้รบั จากการบริโภคสินค้าและบริการนัน้ เป็ นสิ่ง
ที่วดั ได้เป็ น ตัวเลข ที่แน่ นอน(Cardinal Scale) หน่ วย
ที่ได้เรียกว่า Util และยังชี้ให้เห็นวิธีของอรรถประโยชน์ นัน้
ราคาและปริมาณมีความสัมพันธ์ในลักษณะกลับกันด้วย
วิธีการศึกษาอรรถประโยชน์
มีข้อสมมุติในการวิเคราะห์ ดังนี้ :-
ก) อรรถประโยชน์ รวม (Total Utility) ที่ผบู้ ริโภคได้รบั
ขึน้ อยู่กบั ปริมาณสินค้าต่างๆ
U=(Qx , Qy)

ข) ผูบ้ ริโภคจะเลือกซื้อสินค้าเพื่อจะให้ได้อรรถประโยชน์ รวม


สูงสุด ภายใต้งบประมาณซึ่งจำกัด
ค) อรรถประโยชน์ เพิ่ม (Marginal Utility)
การเปลี่ยนแปลงของอรรถประโยชน์ รวมต่อการเปลี่ยน
แปลงของสินค้าที่บริโภคชนิดใดชนิดหนึ่ งเพิ่มอีก 1 หน่ วย
โดยกำหนดให้สิ่งอื่นๆ อยู่คงที่ (Ceteris paribus)

TUหน่ วยหลัง  TUหน่ วยหน้ า TU dTU


MU   
Qหน่ วยหลัง  Qหน่ วยหน้ า Q dQ
5.1.2 กฎการลดน้ อยถอยลงของอรรถประโยชน์ เพิ่ม
(Law of Diminishing Marginal Utility)

กฎการลดน้ อยถอยลงของอรรถประโยชน์ เพิม่


กฎทีอ่ ธิบายธรรมชาติ หรือปกติวสิ ั ยของมนุษย์ เมือ่ บริโภคสิ นค้ าและบริการ
เพิม่ ขึน้ ทีละหน่ วย ตอนแรกความพอใจจะเพิม่ ขึน้ ในอัตราทีเ่ พิม่ ขึน้ ต่ อมา
ความพอใจจะเพิม่ ขึน้ ในอัตราทีล่ ดลงต่ อไปความพอใจจะติดลบ
อรรถประโยชน์ เพิ่ม (Marginal Utility) ของสินค้าที่บริโภค
เพิ่มขึน้ แต่ละหน่ วยจะลดลง คือ คุณสมบัติการลดน้ อยถอยลง
(Diminishing) ของอรรถประโยชน์ เพิ่ม
ตัวอย่าง สมมุติ นาย ก. สามารถวัดความพอใจของตนเองออกมาเป็ นตัว
เลขที่แน่ นอนในการบริโภคสินค้า X แต่ละหน่ วยดังนี้
อรรถประโยชน์ รวม อรรถประโยชน์ เพิม่
Qx (TUX)
TU
MUX = XX
0 0 -
1 4 4
ช่ วง I MU เป็ นบวก
2 10 6 และเพิ่มขึ้น
3 17 7
4 22 5
ช่ วง II MU เป็ นบวก
5 24 2 แต่ลดลง
6 24 0 Law of diminishing
MU
7 21 -3
ช่ วง III MU เป็ นลบ
อรรถประโยชน์ (TU, MU)

30
25  

20   TU
15  Law of
Diminisshing
10 
 Marginal Utility

5 
ปริมาณสิ นค้ า X
1 2 3 4 5 6 7 8
MU
ช่ วง I ช่ วง II ช่ วง III
5.1.3 วิธีการหาดุลยภาพของผูบ
้ ริโภค
(Consumer Equilibrium)
พิจารณาว่าผูบ้ ริโภคควรจะเลือกซื้อสินค้าและบริการ
จำนวนเท่าไหร่ จึงจะทำให้ได้อรรถประโยชน์ รวมสูงสุด ภายใต้
ข้อสมมุติคือ
1. รายได้คงที่ สมมุติมีรายได้ 10 บาท
2. รสนิยมคงที่ โดยกำหนดตารางอรรถประโยชน์ รวมหรือ
อรรถประโยชน์ เพิ่มของสินค้า X และ Y เป็ นตัวเลขซึ่งคงที่
3. ราคาสินค้าคงที่ สมมุติราคาสินค้า X ราคาหน่ วยละ 1
บาท สินค้า Y ราคาหน่ วยละ 2 บาท
ตารางที่ 5.1 อรรถประโยชน์ เพิ่มของสินค้า X และสินค้า Y

สิ นค้ า x หน่ วยละ 1 บาท สิ นค้ า Y หน่ วยละ 2 บาท


จำนวนสิ นค้ า
MUX MUX/PX MUY MUY/PY
1 10 10 24 12
2 8 8 20 10
3 7 7 18 9
4 6 6 16 8
5 5 5 12 6
6 4 4 6 3
ผูบ้ ริโภคจะซื้อสินค้า X จำนวน 2 หน่ วย และสินค้า Y
จำนวน 4 หน่ วย แล้วจะทำให้ผบู้ ริโภคคนนี้ ได้
อรรถประโยชน์ รวมสูงที่สดุ (Maximize Utility) = 96 Util
โดยมีหลักการหา คือ ซื้อจนกระทังอรรถประโยชน์
่ เพิ่ม
(MU) ต่อราคาสำหรับสินค้าทุกชนิดที่เขาบริโภคเท่ากัน
หมด คือ
MU X MU Y
  8 โดยเงิน 10 บาทหมดพอดี
PX PY
5.1.4 การสร้ างเส้ นอุปสงค์โดยวิธีอรรถประโยชน์
เส้ นอุปสงค์ เส้ นทีแ่ สดงความสั มพันธ์ ระหว่ างราคาและ
ปริมาณทีผ่ ู้ซื้อต้ องการซื้อ ณ ระดับราคาต่ างๆ
ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง นั่นคือ :-
เส้ นอุปสงค์ ของสิ นค้ า X
Q D X  f (PX , Y , T , PY )

เส้ นอุปสงค์ ของสิ นค้ า Y


Q D Y  f (PY , Y , T , PX )
จากดุลยภาพของผู้บริโภคในหัวข้ อ (5.13) เราทราบว่ า
MU X MU Y
  8
PX PY
ต่ อมาสมมติเราต้ องการหาเส้ นอุปสงค์ ของผู้บริโภคทีม่ ตี ่ อสิ นค้ า Y เราก็
ต้ องสมมติว่า ถ้ าสิ นค้ า Y (PY) ถูกลง จะมีผลทำให้ ดุลยภาพเปลีย่ นอย่ างไร ?
MU X MU Y

PX PY
เมือ่ PY ผู้บริโภคต้ องการแสวงหาความพอใจสู งสุ ด ก็ต้องปรับดุลยภาพ
ใหม่ คือ ซื้อสิ นค้ า QY ก็จะทำให้ อรรถประโยชน์ หน่ วยสุ ดท้ ายของสิ นค้ า Y ลดลง
เพียงพอทีจ่ ะทำให้ อรรถประโยชน์ ของเงินหนึ่งบาททีจ่ ่ ายไปในการซื้อสิ นค้ า Y กลับ
เข้ าสู่ ระดับดุลยภาพเดิม หรือ :- PY   Q Y 
สามารถแสดงการหาจากตารางดุลยภาพใหม่ ดงั นี้
ตารางที่ 5.2 แสดงการหาดุลยภาพของผู้บริโภคเมือ่ ราคา X = 1 บาท , Y = 1 บาท
สิ นค้ า x หน่ วยละ 1 บาท สิ นค้ า Y หน่ วยละ 1 บาท
จำนวนสิ นค้ า
MUX MUX/PX MUY MUY/PY
1 10 10 24 24
2 8 8 20 20
3 7 7 18 18
4 6 6 16 16
5 5 5 12 12
6 4 4 6 6
MU X MU Y
ซื้อจนกระทัง่   6 โดยเงิน 10 บาทหมดพอดี
PX PY
ดุลยภาพของผู้บริโภคคือ
PX = 1 บาท ซื้อ X เท่ ากับ 4 หน่ วย
PY = 1 บาท ซื้อ Y เท่ ากับ 6 หน่ วย
ดังนั้นเราหาเส้ นอุปสงค์ ของสิ นค้ า Y ได้ คือ QY = f (PY, Y, T, PX)
จากตารางที่ 5.1 เมือ่ สิ นค้ า Y ราคา 2 บาท ผู้บริโภคซื้อ 4 หน่ วย (A)
จากตารางที่ 5.2 เมือ่ สิ นค้ า Y ราคา 1 บาท ผู้บริโภคซื้อ 6 หน่ วย (B)
ราคาสิ นค้ า Y

3
A
2
B
1
Demand
ปริมาณสิ นค้ า Y
1 2 3 4 5 6
เส้ นอุปสงค์ สินค้ า Y
5.1.5. ส่ วนเกินของผู้บริโภค (Consumer’s Surplus)
ส่ วนเกินของผู้บริโภค (consumer’s surplus) ความแตกต่ างระหว่ าง
ราคาทีผ่ ้ ูบริโภคเต็มใจจ่ ายเพือ่ ให้ ได้ สินค้ านั้น กับราคาจริงๆ ทีผ่ ้ ูบริโภคจ่ ายไป
ราคาสิ นค้ า X ราคาสิ นค้ า X
S
20 Consumer's Surplus
15
10 10

D D
0 ตลาด ปริมาณสิ นค้ า X 1 2 3 ปริมาณสิ นค้ า X

ราคาทีผ่ ู้บริโภคเต็มใจจ่ าย ดูได้ จากเส้ นอุปสงค์


ราคาทีจ่ ่ ายจริง ราคาทีถ่ ูกกำหนดจากตลาด (ราคาทีอ่ ุปสงค์ ตัดกับอุปทาน)
ฉะนั้น consumer’s surplus คือ 45 - 30 = 15 บาท หมายถึงพืน้ ทีเ่ หนือราคา
ดุลยภาพ ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ของเส้ นอุปสงค์ คือ พืน้ ทีแ่ ลเงา
5.2. ทฤษฎีอุปสงค์ ของผู้บริโภค แสดงโดยเส้ นพอใจเท่ ากัน
เส้ นทีแ่ สดงพอใจเท่ ากัน แสดงอรรถประโยชน์ ทวี่ ดั เป็ นตัวเลข (cardinal)
ไม่ ได้ แต่ แสดงการเปรียบเทียบความพอใจในรู ปของการเรียงลำดับ (ordinal)
ความพอใจได้ เท่ านั้น โดยผู้บริโภคจะมีฟังก์ชั่นความพอใจ (a preference
function) ทีส่ ร้ างขึน้ เพือ่ เป็ นระบบการเลือก

5.2.1. ข้ อสมมติของเส้ นความพอใจเท่ ากัน


โดยมีข้อสมมติว่า ผู้บริโภคเป็ นคนมีเหตุมผี ล (Rational) โดยหลักการ
ของการมีเหตุผล สามารถแสดงออกให้ เห็นได้ ดงั นี้
(1) สามารถเปรี ยบเทียบความพอใจของตนเองออกมาได้ 3 ลักษณะ ดังนี้
(โดยสมมติถ้ามีสินค้ า 2 ตระกร้ า คือ A และ B)
ก) ชอบ A > B
ข) ชอบ A = B
ค) ชอบ A < B
(2) หลักของความคงเส้ นคงวา (Consistency) คือ เมือ่ ผู้บริโภคเลือกหรือ
ตัดสิ นใจอย่ างใดอย่ างหนึ่งใน 3 อย่ างข้ างต้ นแล้ว จะต้ องเป็ นไปตามนั้นแน่ นอน
คือ

}
ก) ชอบ A > B
ทั้ง 3 ข้ อ จะเป็ นจริง เวลาเดียว ไม่ ได้ ต้ อง
ข) ชอบ A = B
ข้ อใดข้ อหนึ่งตลอดช่ วงทีพ่ จิ ารณา
ค) ชอบ A < B
(3) รสนิยมจะมีลกั ษณะถ่ายทอดได้ (Transitivity) คือ มีลกั ษณะทีค่ งเส้ นคงวา
ถ้ าชอบ A > B
และชอบ B > C
แสดงว่ าต้ องชอบ A > C ด้ วย (ถ่ ายทอด)

(4) ความพอใจไม่ มีจดุ อิ่มตัว (Never satiated) คือ ผู้บริโภคย่ อม


ชอบชุ ดสิ นค้ าทีม่ มี าก มากกว่ าชุ ดทีม่ สี ิ นค้ าน้ อย ตัวอย่ าง

}
X = 10
A
Y = 10
X = 10 แสดงว่ าต้ องชอบ A > B
B
Y=5
จากหลักเหตุผล 4 ข้ อข้ างต้ น อาจเป็ นข้ อจำกัดเพราะในโลกของความ
เป็ นจริงนั้น อาจไม่ เป็ นจริงดังกล่าว พอจะตั้งข้ อสั งเกตุได้ ดงั นี้
(1) เราอาจไม่สามารถ เลือก แต่สิ่งทีด่ กี บั ทีด่ กี ว่า แต่บางขณะอาจต้อง
เลือกอย่ างใดอย่ างหนึ่ง เช่ น สละอวัยวะส่ วนหนึ่งไป เพือ่ ชีวติ รอด
(2) ในโลกของความเป็ นจริง ความสัมพันธ์ อาจไม่เป็ นแบบถ่ายทอดได้
(transitivity) เช่ น การแข่ งขันฟุตบอลโลกทีม่ กี ารพลิกล๊อค เช่ น ทีม A ชนะทีม B
แต่ ทมี B ชนะทีม C ทีม A อาจแพ้ทมี C ได้ ไม่ คงเส้ นคงวา
(3) ในโลกของความเป็ นจริง การบริโภคทีเ่ พิม่ ขึน้ อาจทำให้ เกิดความ
ทุกข์ เพิม่ หรือความพอใจลดลง (แทนทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ ) เช่ น การดืม่ เบียร์ ทเี่ พิม่ ขึน้
แต่ สมมติว่าถ้ าเรายอมรับหลักเหตุผล 4 ประการข้ างต้ น เราก็จะได้ เส้ น
ความพอใจเท่ ากันเป็ นตัวแทนความพอใจของผู้บริโภค
5.2.2. เส้ นความพอใจเท่ ากัน (Indifferent Curve)
คือเส้ นทีแ่ สดงความสั มพันธ์ ของสิ นค้ า 2 ชนิด ทีใ่ ห้ ความพอใจแก่ ผู้บริโภคเท่ ากัน
ตารางที่ 5.3 แสดงเส้ นความพอใจเท่ ากัน
สิ นค้ า Y (IC1)

30 A สิ นค้า X สิ นค้ า Y สิ นค้าใน


Y
25 B ตระกร้ า
Y C
20 5 30 A
Y
15 D 6 25 B
Y E IC3 8 20 C
10
5
Y
12X 4 6 12
F IC2 12 15 D
X X X X IC1 18 10 E
สิ นค้ า X
0 5 6 8 12 18 30 30 5 F
X1X2X3 X4 X5 X6
คุณสมบัตขิ องเส้ นความพอใจเท่ ากัน
(1) มีความชันเป็ นลบ (-)
(2) เว้ าเข้ าหาจุดกำเนิด (origin) ค่ าความชันมีค่าลดลง เรียกว่ า
อัตราส่ วนการทดแทนกันของสิ นค้ า X ต่ อสิ นค้ า Y มีค่าลดลง (Marginal rate
of substitution of X for Y diminishing : MRSXY diminishing) พิสูจน์
-Y
โดย MRS XY  สินค้า Y

X 30
25
Y
Y
A
B

- Y
C

-5
20
Y D
15

ค่ าความชัน ณ จุด B หรือ MRSXY ณ B  


Y E IC3
10
Y F IC2

X1X 2 1
5 12 4 6 12
XX X X X IC1
สินค้า X
0 5 6 8 12 18 30
X1X2X3 X4 X5 X6

-Y -5
ค่ าความชัน ณ จุด C หรือ MRSXY ณ C  
X2X 3 2
- Y 5
ค่ าความชัน ณ จุด D หรือ MRSXY ณ D  
X 3X 4 4 สินค้า Y

30 A
Y
B

- Y
25

5 20
Y C

ค่ าความชัน ณ จุด E หรือ MRSXY ณ E  


Y D
15
Y E IC3
10

X4X5 6
Y F IC2
5 12 4 6 12
XX X X X IC1
สินค้า X
0 5 6 8 12 18 30
X1X2X3 X4 X5 X6

- Y 5
ค่ าความชัน ณ จุด F หรือ MRSXY ณ F  
X5X6 12
ทำนองเดียวกันพิจารณาอัตราส่ วนการทดแทนกันของสิ นค้ า Y และ X เรียก
Marginal rate of substitution of Y for X diminishing :
MRSYX diminishing พิสูจน์ ทำนองเดียวกัน
-X
MRS YX 
Y
(3) เส้ นความพอใจเท่ ากัน เส้ นทีอ่ ยู่เหนือกว่ าให้ ความพอใจมากกว่ า ตาม

หลักเหตุผล ชอบชุ ดทีม่ สี ิ นค้ ามาก มากกว่ าชุ ดทีม่ สี ิ นค้ าน้ อย
สิ นค้ า Y สิ นค้า Y

Y Y2
IC2 Y1 IC2
IC1 IC1
0 สิ นค้ า X สิ นค้า X
X1 X2 0 X
(4) เส้ นความพอใจเท่ ากัน จะไม่ ตดั กัน เพราะถ้ าตัดกันจะขัดหลักเหตุผล
สิ นค้า Y

A
B
C IC1
IC2
0 สิ นค้า X

จากรู ป A= B เพราะอยู่บน IC1


A= C เพราะอยู่บน IC2
แต่ จากข้ อ (3) B > C
ฉะนั้น จึงขัดแย้ งกัน แสดงว่ าตัดกันไม่ ได้
5.2.3 เส้ นงบประมาณหรือเส้ นราคา (Budget line หรือ Price line)
วิธีหาเส้ นงบประมาณ จะต้ องกำหนดให้ :-
1) งบประมาณคงที่ สมมติเท่ ากับ 60 บาท
2) ราคาสิ นค้ า X และ Y คงที่ สมมติราคา X = 1 บาท ราคา Y = 2 บาท
สิ นค้ า Y
B นำงบประมาณทั้งหมด 60 บาท ซื้อสิ นค้ า Y ได้ =
30 A Py 60
 30 หน่ วย ได้ จุด A
2
20 B
Budget Line
เส้ นงบประมาณ นำงบประมาณทั้งหมด 60 บาท ซื้อสิ นค้ า X ได้ =
C 60
10
B  60 หน่ วย ได้ จุด D
Px 1
D 
สิ นค้ า X
10 20 30 40 50 60 เชื่อม AD ได้ เส้ นงบประมาณ (Budget line)
เส้ นงบประมาณ เส้ นทีแ่ สดงความสั มพันธ์ ระหว่ างชุดตระกร้ าของสิ นค้ า
(Budget line) 2 ชนิด ทีส่ ามารถซื้อได้ ด้วยจำนวนเงินเท่ ากัน

ค่ าความชันของเส้ น Budget line - OA



OD
-B
PY  หรือ 602 
ดังนั้น เส้ นงบประมาณ (Budget 
line) จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ าเส้ นP ราคา
B
PX  หรือ 601 
(Price line) เพราะเท่ ากับ PY - X - B PX
 
PY B
- PX

PY
การเคลือ่ นที่ (shift) ของเส้ นงบประมาณ ขึน้ อยู่กบั

(1) ปริมาณงบประมาณ (รายได้ทเี่ ป็ นตัวเงินของผู้บริโภค)


QY สมมติมงี บประมาณ 60 บาท ราคา X = 1
บาท ราคา Y = 2 บาท ได้ งบประมาณ AB
E 60
เส้ น AB เคลือ่ นที่ (shift) เป็ น EF ถ้ างบ
A 30 ราย ประมาณเพิม ่ จาก 60 บาท เป็ น
ร ได้เ
C 15 ายได พมิ่ 120 บาท
้ ลด
  
30 60 120 QX
0 เส้ น AB เคลือ่ นที่ (shift) เป็ น CD ถ้ างบ
D B F ประมาณลดลงจาก 60 บาท เป็ น
30 บาท
กรณีนีจ้ ะพบว่ าค่ าความชัน (slope) ของเส้ นงบประมาณคงเดิมหรือเส้ นงบประมาณใหม่ จะขนานกับเส้ นงบประมาณเดิม
(2) การเปลีย่ นแปลงของราคาสิ นค้ า 2 ชนิดในสั ดส่ วนเดียวกัน
(หรือรายได้ แท้ จริงของผู้บริโภคเปลีย่ น)
E
60
50 กรณีนีจ้ ะเห็นว่ าค่ าความชัน (slope)
ของเส้ นงบประมาณ คงเดิม
40
รายไ
A 30 ด้แท
้ จริง
สูงข
20 รายไ นึ้ เส้ นงบประมาณเส้ นใหม่ จะขนาน
C ด้แท
10 ้ จริง
ลด ล

กับเส้ นเดิม
  
10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120
D B F

เส้นงบประมาณ AB โดยมีรายได้ = 60 บาท ราคาสิ นค้า X 1 บาท Y = 2 บาท


สมมติท้ งั ราคาสิ นค้า X และ Y ลดลงครึ งหนึ่ง คือรายได้ 60 บาท X 50 สตางค์ Y = 1 บาท
ก็จะได้ เส้ นงบประมาณ AB shift เป็ น EF (รายได้ แท้ จริงสู งขึน้ )
แต่ถา้ ราคา X และ Y เพิม่ ขึ้นเท่าตัว คือรายได้ 60 บาท X = 2 บาท , Y = 4 บาท
ก็จะได้ เส้ นงบประมาณ AB shift เป็ น CD (รายได้ แท้ จริงลดลง)
(3) การเปลีย่ นแปลงของราคาสิ นค้ าชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือทั้ง 2 อย่ าง ไม่
ได้ สัดส่ วนกัน แต่ เป็ นการเปลีย่ นแปลงในราคาเปรียบเทียบ
สมมติงบประมาณ 60 บาท ราคาสิ นค้า X = 1 บาท ราคาสิ นค้า Y = 2 บาท
ก. กรณีราคาสิ นค้ า X (PX) เปลีย่ นแปลงโดยราคาสิ นค้ า Y คงที่ (PY)

30 A
20
10 ราคาสิ นค้า
ราคาสิ นค้า X ถูกลง
X แพงขึน้
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120
B" B B'

กรณีราคาสิ นค้ า X เพิม่ หรือลดเท่ าตัว ขณะทีร่ าคาสิ นค้ า Y คงที่


PX เพิม่ จาก 1 บาทเป็ น 2 บาท เส้ นงบประมาณ AB จะเคลือ่ นย้ าย (shift) เป็ น AB//
เส้ นงบประมาณใหม่ จะชัน (slope) มากขึน้
PX ลดลงจาก 1 บาท เป็ น 50 สตางค์ เส้ นงบประมาณ AB จะเคลือ่ นย้ าย (shift) จาก AB/ ดังนั้นกรณีนี้
เส้ นงบประมาณใหม่ จะมีความชัน (slope) ลดลง
ข. กรณีราคาสิ นค้ า Y (PY) เปลีย่ นแปลงโดยราคาสิ นค้ า X (PX) คงที่

ทำนองเดียวกับกรณี ก. คือให้ ราคาสิ นค้ า Y เพิม่


60 A" หรือลดลงเท่ าตัว โดยราคาสิ นค้ า X คงที่
50 ถ้ าราคาสินค้ า Y แพงขึน้ จาก 2 บาท เป็ น 4
40 บาท เส้ นงบประมาณ :
ราคาสิ นค้า
AB ก็จะเคลือ่ นย้ าย (shift) เป็ น A/B
30 A Y ถูกลง
เส้ นงบประมาณใหม่ จะชัน (slope) เพิม่ ขึน้
20 A' ราคาสิ นค้า
Y แพงขึน้
ถ้ าราคาสินค้ า Y ถูกลงจาก 2 บาท เป็ น 1
10 บาท เส้ นงบประมาณ :
B
10 20 30 40 50 60 AB ก็จะเคลือ่ น (shift) เป็ น A//B เส้ นงบ
ประมาณใหม่ จะมีค่าความชัน (slope) ลดลง
ค. กรณีทรี่ าคาสิ นค้ า X (PX) และราคาสิ นค้ า Y (PY) เปลีย่ นแปลงไม่ เท่ ากัน

30 A

20
A'
10
B
0 10 20 30 40 50 60
B'
สมมติราคาสิ นค้ า X ถูกลงจาก 1 บาท เป็ น 2 บาท ขณะทีร่ าคาสิ นค้ า Y แพงขึน้ จาก 2
บาท เป็ น 6 บาท (โดยงบประมาณเดิมเท่ ากับ 60 บาท ราคาสิ นค้ า X (PX) = 1 บาท และราคา
สิ นค้ า Y = 2 บาท)
ดังนั้น กรณีนีเ้ ส้ นงบประมาณใหม่ จะมีค่าความชัน (slope) ไม่ เท่ าเดิม
5.2.4. วิธีการหาดุลยภาพของผู้บริโภค โดยวิธีของเส้ น
ความพอใจเท่ ากัน (Consumer equilibrium)
วิธีการหาดุลยภาพ หลักการก็เหมือนกับการหาดุลยภาพของผู้บริโภค
โดยวิธีอรรถประโยชน์ คือมีข้อสมมติ 3 ข้ อ เช่ นกัน คือ :-
เส้ น
งบประมาณ { 1) รายได้ คงที่ สมมติเท่ ากับ 60 บาท
2) ราคาสิ นค้ า X (PX) เท่ ากับ 1 บาท และราคาสิ นค้ า Y (PY)
เท่ ากับ 2 บาท เท่ ากัน สมมติให้ คงที่
3) สมมติให้ ตารางความพอใจเท่ ากันของผู้บริโภคคนหนึ่ง
เส้ น
ความพอใจ
เท่ ากัน
{ แสดงเป็ นตัวเลขข้ างล่างนี้ เขียนเป็ นเส้ นความพอใจ
เท่ ากันดังในรู ปเป็ นชุ ดหนึ่ง
ตารางที่ 5.4 แสดงเส้ นความ สิ นค้ าใน สิ นค้ า X สิ นค้ า Y
พอใจเท่ ากัน (IC2) ตะกร้ า
A 12 30
B 20 25
C 30 15
D 50 10
E 60 8

สิ นค้ า Y

30
F .H A ดุลยภาพของผู้บริโภค
20

. C.G
B MU X MU Y
PX

PY
10 K .D I .E ICICIC

3
2
1
0 10 20 30 40 50 60J สิ นค้ า X
เงือ่ นไขหรือหลักการหาดุลยภาพ
(1) เมือ่ งบประมาณจำกัด เขาจะซื้อเกินจากเส้ นงบประมาณ (Budget line) ที่
จำกัดไม่ ได้ คือ ซื้อได้ บนเส้ นงบประมาณ FHCIJ แสดงว่ าใช้ เงินหมด
(2) จุดทีด่ ที สี่ ุ ดจะอยู่บนเส้ นงบประมาณ ก็คอื จุด C ซึ่งคือจุดเส้ นความพอใจเท่ากัน
สั มผัส กับเส้ นงบประมาณ สิ นค้ า Y

จุด C ตระกร้ าทีม่ สี ิ นค้ าที่ทำให้ ผู้บริโภคได้ รับ 30F H A B ดุลยภาพของผู้บริโภค


MU X MU Y
G 
20
ความพอใจสู งทีส่ ุ ดเท่ าทีเ่ ป็ นไปได้ คือสู งกว่ าทุกๆ จุดของ C PX PY
10 K D E IC3
เส้ น Budget line I ICIC
1
2

-  Y -PX 0 10 20 30 40 50 60J สิ นค้ า X


จุด C จุดที่ MRS XY  X  PY
ความลาดความชันของเส้ นความพอใจเท่ ากับ ความลาดชันของเส้ นงบประมาณ โดยความลาด
ความชันของเส้ นความพอใจเท่ ากัน คือ MRS  -Y  -PX
XY X PY
ปริมาณสิ นค้ า Y

Y2 A
Y 
Y1 B

หากลดการบริโภค Y ลง = Y ความพอใจลดลงเท่ าไหร่


C IC
X
0 X1 X2 ปริมาณสิ นค้ า X

จากรู ปการลดการบริโภคสิ นค้ า Y ลง = Yความพอใจลดลงเท่ าไหร่ (ใช้ หลักของ


อรรถประโยชน์ มาอธิบาย)
จาก MUY ถ้ าลดการบริโภคสิ นค้ า Y ลง 1 หน่ วยความพอใจลด MUY ถ้ า
ลดการบริโภคสิ นค้ า Y ลง หน่ Yวยความพอใจลด Y  MU Y

แต่ เมือ่ เพิม่ การบริโภคสิ นค้ า X จำนวน X ความพอใจเพิม่ เท่ าไหร่


จาก MUX ถ้ าเพิม่ การบริโภคสิ นค้ า X จำนวน 1 หน่ วยความพอใจเพิม่ MUX ถ้ า
เพิม่ การบริโภค X จำนวน 
หน่Xวยความพอใจเพิม่ X  MU X
ปริมาณสิ นค้ า Y

Y2 A
Y 
Y1 B
C IC
X
0 X1 X2 ปริมาณสิ นค้ า X

การเคลือ่ นย้ ายจาก A B อยู่บนเส้ นความพอใจเดิม หมายถึง


ความพอใจทีล่ ด = ความพอใจทีเ่ พิม่
MU Y  Y  MU X  X

Y MU X
ดังนั้น MRS XY  
X MU Y
Y - PX
เมือ่ ความลาดความชันของเส้ นงบประมาณ 
X PY
ดังนั้นความลาดความชันของเส้ นความพอใจ = ความลาดความชันของเส้ นงบประมาณ
Y MU X - PX MU X MU Y
MRS XY   
X MU Y PY ฉะนั้น PX PY

สิ นค้ า Y

30
F .H A ดุลยภาพของผู้บริโภค
20

. C.G
B MU X MU Y
PX

PY .
10 K .D I .E ICICIC

3
2
1
0 10 20 30 40 50 60J สิ นค้ า X
5.2.5. ผลของการเปลีย่ นแปลงของรายได้ กบั ดุลยภาพของผู้บริโภค
กรณี ICC เป็ นบวก กรณี ICC เป็ นลบ
ปริมาณสิ นค้ า Y ปริมาณสิ นค้ า Y
Income Consumption Curve
ICC
Income Consumption Curve
ICC R
IC3

Y3
IC3 Q IC2
Y2
IC2
Y1
IC1 P IC1
X1 X2 X3 ปริมาณสิ นค้ า X X3 X2 X1 ปริมาณสิ นค้ า X

รายได้ เพิม่ บริโภคสิ นค้ า X เพิม่ รายได้ เพิม่ บริโภคสิ นค้ า X ลดลง
แสดงดุลยภาพของผู้บริโภคเมือ่ รายได้ เปลีย่ น (ICC)
5.2.6. ผลของการเปลีย่ นแปลงของราคาสิ นค้ ากับดุลยภาพของผู้บริโภค
สิ นค้ า Y

Price Consumption Curve


PCC

R
Q IC3
P
IC2
IC1
สิ นค้ า X
0 A B C

แสดงดุลยภาพของผู้บริโภคเมือ่ ราคาสิ นค้ าเปลีย่ น (PCC)


5.2.7. การสร้ างเส้ นอุปสงค์ โดยใช้ เส้ นความพอใจเท่ ากัน
ปริมาณสิ นค้ า Y
เดิม รายได้ 60 บาท
30A PCC (Price Consumption Curve) ราคา X = 1 บาท
E1
20 E2 ราคา Y = 2 บาท
IC
IC
10
X 2 X1 C B ดุลยภาพ จุด E1
ปริมาณสิ นค้ า X
0 10 20 30 40 50 60 ซื้อ X = 20 หน่ วย

ราคาสิ นค้ า X
2 D ใหม่ รายได้ 60 บาท
ราคา X = 2 บาท
1 C ราคา Y = 2 บาท
X 2 X1
Demand ดุลยภาพ จุด E2
ปริมาณสิ นค้ า X
0 10 20 30 ซื้อ X = 10 หน่ วย
Q D  f (PX , Y, T, PY )
X

การหาเส้ นอุปสงค์
จากดุลยภาพของผู้บริโภค เดิม ณ E1 ความต้ องการซื้อสิ นค้ า X =
฿  60
20 หน่ วย ราคาสิ นค้ า X จะเท่ ากับ 60 = 1 บาท ลากลงข้ างล่ าง ณ
ปริมาณสิ นค้ า X = 20 หน่ วย จุดจุดเดียว ราคาเท่ ากับ 1 คือ C ลากเส้ นตรง
ไม่ ได้ ต้ องสมมติดุลยภาพใหม่ เมือ่ ราคาสิ นค้ า X(PX ) แพงขึน้ เป็ น 2 บาท
ได้ ดุลยภาพใหม่ คือ E2 ความต้ องการซื้อ X = 10 หน่ วย ลากเส้ นลงข้ างล่ าง ณ
ปริมาณสิ นค้ า X = 10 หน่ วย ราคาเท่ ากับ 2 บาท ได้ จุด D เชื่อมต่ อ CD ก็
จะได้ เส้ นอุปสงค์ มคี วามชันเป็ นลบ (Negative slope)

You might also like