You are on page 1of 43

PAT 1 (มี.ค.

64) 1
17 May 2021

PAT 1 (มี.ค. 64)


รหัสวิชา 71 วิชา ความถนัดทางคณิตศาสตร์ (PAT 1)
วันเสาร์ที่ 20 มีนาคม 2564 เวลา 13.00 - 16.00 น.

ตอนที่ 1 ข้อ 1 – 35 ข้อละ 6 คะแนน


1. พืน้ ของห้องเก็บสินค้าของโรงงานแห่งหนึง่ เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าที่มีเส้นทแยงมุมยาวกว่าด้านยาว 2 เมตร
และด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 14 เมตร ถ้าผูจ้ ดั การโรงงานต้องการปรับปรุงพืน้ ของห้องนี ้ โดยช่างคิดค่าแรง
ตารางเมตรละ 120 บาท
ผูจ้ ดั การโรงงานจะต้องจ่ายเงินค่าแรงในการปรับปรุงพืน้ ของห้องเก็บสินค้านีเ้ ป็ นเงินกี่บาท
1. 14,400 2. 17,280 3. 28,800 4. 31,200 5. 37,440

2. กาหนดให้ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มบวก เซตของจานวนจริง 𝑥 ทัง้ หมดที่ทาให้


(𝑥 + 3)2 + (𝑥 + 3)4 + (𝑥 + 3)6 + ⋯ + (𝑥 + 3)2𝑛 + ⋯
เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้าคือข้อใด
1. (−4 , −2) 2. (−∞ , −2) 3. [−2 , 1)
4. (−1 , 1) 5. (2 , 4)

3. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงบวก โดยที่ 𝑎≠1 และ 𝑏≠1


1 𝑥
ถ้า 𝑓(𝑥) = ( )
𝑎
และ 𝑔(𝑥) = 𝑏 𝑥 เป็ นฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียลที่มีลกั ษณะกราฟดังรูป
𝑌 𝑌

𝑓 𝑔

𝑋 𝑋

กราฟของฟังก์ชนั 𝑓 กราฟของฟังก์ชนั 𝑔

เงื่อนไขในข้อใดที่ทาให้กราฟของ 𝑓 และ 𝑔 สอดคล้องกับรูปข้างต้น


1. 0 < 𝑎 < 1 และ 0 < 𝑎𝑏 < 1 2. 0 < 𝑎 < 1 และ 𝑎𝑏 > 1
3. 0 < 𝑎 < 1 และ 𝑎𝑏 > 1 4. 𝑎 > 1 และ 𝑎𝑏 > 1
5. 𝑎 > 1 และ 0 < 𝑎𝑏 < 1
2 PAT 1 (มี.ค. 64)

4. โรคโควิด-19 เป็ นโรคระบาดที่เกิดจากเชือ้ ไวรัสโคโรนาสายพันธุใ์ หม่ 2019 ซึง่ สามารถแพร่เชือ้ จากคนสูค่ นและ
ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ ข้อมูลการระบาดของโรคโควิด-19 ของประเทศที่อยูใ่ นทวีปยุโรป
จานวน 9 ประเทศ ในช่วง 90 วันแรก หลังจากพบผูต้ ิดเชือ้ รายแรกของประเทศนัน้ แสดงดังตารางต่อไปนี ้
จานวน จานวน อัตราส่วนของ
ประเทศ ประชากร ผูต้ ิดเชือ้ สะสม จานวนผูต้ ดิ เชือ้ สะสม
(ล้านคน) (คน) ต่อจานวนประขากรล้านคน
ฟิ นแลนด์ 5.54 4,695 847.36
ฝรั่งเศส 65.27 119,151 1,825.41
เยอรมนี 83.78 154,175 1,840.15
อิตาลี 60.46 201,505 3,332.76
นอร์เวย์ 5.42 8,352 1,540.61
โปแลนด์ 37.85 24,395 644.58
โปรตุเกส 10.20 31,596 3,098.65
สเปน 46.75 215,183 4,602.37
สวีเดน 10.10 20,302 2,010.24

จากข้อมูลในตาราง ข้อใดถูกต้อง
1. ประเทศที่มีจานวนประชากรน้อยที่สดุ มีจานวนผูต้ ิดเชือ้ สะสมน้อยที่สดุ
2. ประเทศที่มีจานวนประชากรมากที่สดุ มีจานวนผูต้ ิดเชือ้ สะสมมากที่สดุ
3. ประเทศที่มีจานวนผูต้ ดิ เชือ้ สะสมน้อยที่สดุ มีอตั ราส่วนของจานวนผูต้ ิดเชือ้ สะสม
ต่อจานวนประชากรล้านคน น้อยที่สดุ
4. ประเทศที่มีจานวนผูต้ ดิ เชือ้ สะสมมากที่สดุ มีอตั ราส่วนของจานวนผูต้ ิดเชือ้ สะสม
ต่อจานวนประชากรล้านคน มากที่สดุ
5. ประเทศที่มีอตั ราส่วนของจานวนผูต้ ิดเชือ้ สะสมต่อจานวนประชากรล้านคนน้อยที่สดุ
มีจานวนประชากรน้อยที่สดุ

5. เอกต้องการฝากเงิน 200 บาท เข้าบัญชีธนาคารทุกวันที่ 1 ของเดือน ติดต่อกันเป็ นเวลา 6 เดือน โดยธนาคารให้


อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 6 ต่อปี และคิดดอกเบีย้ แบบทบต้นทุกเดือน
ถ้าเอกเปิ ดบัญชีเงินฝากและเริม่ ฝากเงินครัง้ แรกในวันที่ 1 เมษายน 2563 แล้วในวันที่ 31 มีนาคม 2564 เอกจะมี
เงินในบัญชีธนาคารรวมทัง้ หมดกี่บาท โดยที่ไม่มีการถอนเงินในระหว่างนี ้
200((1.005)13 − (1.005)7 ) 200((1.005)13 − 1.005) 200((1.005)7 − 1.005)
1. 1.005 − 1
2. 1.005 − 1
3. 1.005 − 1
200((1.06)13 − (1.06)7 ) 200((1.06)13 − 1.06)
4. 1.06 − 1
5. 1.06 − 1
PAT 1 (มี.ค. 64) 3

6. ร้านค้าแห่งหนึง่ มีพนักงานในแผนกขายและแผนกบัญชี รวม 12 คน โดยร้านค้าจ่ายเงินโบนัสให้ทงั้ สองแผนกเท่ากัน


แผนกละ 35,000 บาท และในแต่ละแผนก พนักงานแต่ละคนได้เงินโบนัสคนละเท่าๆ กัน
ถ้าพนักงานแผนกขายได้เงินโบนัสมากกว่าพนักงานแผนกบัญชีคนละ 2,000 บาท
แล้วพนักงานของแผนกขายมีจานวนน้อยกว่าพนักงานของแผนกบัญชีกี่คน
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8 5. 10

7. ในการจัดการแข่งขันวิง่ การกุศลประกอบด้วยการวิ่ง 3 ประเภท ตามระยะทาง คือ มินิมาราธอน (10.5 กิโลเมตร)


ฮาล์ฟมาราธอน (21 กิโลเมตร) และมาราธอน (42 กิโลเมตร) โดยมีคา่ สมัคร ดังนี ้
มินิมาราธอน ค่าสมัครคนละ 400 บาท
ฮาล์ฟมาราธอน ค่าสมัครคนละ 600 บาท
มาราธอน ค่าสมัครคนละ 800 บาท
ถ้ามีผเู้ ข้าร่วมการแข่งขันทัง้ หมด 1,500 คน โดยแต่ละคนสามารถสมัครได้เพียงประเภทเดียวเท่านัน้ รายได้จากค่า
สมัครประเภทฮาล์ฟมาราธอน เท่ากับสองเท่าของรายได้จากค่าสมัครมินิมาราธอน และผูจ้ ดั งานได้รายได้จากค่า
สมัครทัง้ หมด 800,000 บาท
ข้อใดเป็ นเมทริกซ์แต่งเติมที่ใช้ในการหาจานวนผูส้ มัครแต่ละประเภท
1 1 1 1,500 1 1 1 1,500
1. [ 800 600 0 | 0 ] 2. [ 400 0 −1,600 | 0 ]
400 600 800 800,000 400 600 800 800,000
1 1 1 1,500 1 1 1 1,500
3. [ 800 −600 0 | 0 ] 4. [ 400 −1,200 0 | 0 ]
800 600 400 800,000 400 600 800 800,000
1 1 1 1,500
5. [ 800 −600 0 | 0 ]
400 600 800 800,000
4 PAT 1 (มี.ค. 64)

8. ชมรมหมากรุกในโรงเรียนแห่งหนึง่ มีสมาชิกจานวน 9 คน ที่มีความสูง นา้ หนัก และ อายุ ดังตารางต่อไปนี ้


ความสูง นา้ หนัก อายุ
นักเรียน
(เซนติเมตร) (กิโลกรัม) (ปี )
A 182 65 17
B 180 70 16
C 175 64 16
D 171 69 15
E 167 58 16
F 163 54 17
G 160 50 17
H 158 46 16
I 155 48 15

พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) นักเรียนคนทีม่ ีความสูงเท่ากับมัธยฐานของความสูง มีนา้ หนักเท่ากับมัธยฐานของนา้ หนัก
ข) นักเรียนคนทีม่ ีความสูงน้อยกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 20 ของความสูง มีนา้ หนักมากกว่านา้ หนักของ
นักเรียนคนทีม่ ีความสูงเท่ากับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 20 ของความสูง
ค) นักเรียนทุกคนที่มีนา้ หนักมากกว่าควอร์ไทล์ที่ 3 ของนา้ หนัก มีอายุมากกว่า 15 ปี
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง

9. กาหนดพาราโบลามีโฟกัสอยูท่ จี่ ดุ (8, 1) และ 𝑥 = 10 เป็ นเส้นไดเรกตริกซ์


ให้ 𝑃1 และ 𝑃2 เป็ นจุดตัดของพาราโบลากับแกน 𝑌
ถ้า 𝐸 เป็ นวงรีที่ผา่ นจุด (8, 1) และมีโฟกัสอยูท่ ี่จดุ 𝑃1 และ 𝑃2 แล้วความยาวแกนเอกของวงรี 𝐸 เท่ากับเท่าใด
1. 10 2. 12 3. 16 4. 20 5. 22
PAT 1 (มี.ค. 64) 5

10. เทศบาลแห่งหนึง่ ออกแบบสะพานข้ามแม่นา้ ให้มีราวเหล็กโค้งเป็ นรูปพาราโบลา เชื่อมต่อระหว่างเสาของสะพาน


สองต้น ดังรูป
เสาของสะพาน เสาของสะพาน

12 เมตร 12 เมตร
6 เมตร
พืน้ ของสะพาน
50 เมตร
200 เมตร

ระยะห่างที่นอ้ ยที่สดุ ของราวเหล็กกับพืน้ ของสะพานเท่ากับกี่เมตร


1. 1.5 2. 2 3. 2.4 4. 3 5. 4

11. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) นิเสธของข้อความ “สาหรับจานวนจริง 𝑥 ทุกจานวน ถ้า 𝑥 เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซา้ แล้ว 𝑥 เป็ น
จานวนอตรรกยะ” คือ “มีจานวนจริง 𝑥 ที่ 𝑥 เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซา้ และ 𝑥 เป็ นจานวนอตรรกยะ”
ข) กาหนดให้ 𝑝 , 𝑞 และ 𝑟 เป็ นประพจน์ [(~𝑞 → ~𝑟) ∧ (~𝑟 → 𝑞)] → (𝑝 ∨ 𝑞) เป็ นสัจนิรนั ดร์
ค) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจานวนจริง ∀𝑥[√𝑥 2 ≥ 𝑥] → ∃𝑥[√𝑥 2 ≤ 𝑥] มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง

12. กาหนดให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง


𝑝 แทนประพจน์ที่มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
และ 𝑞 แทนประพจน์ “ผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดในเรนจ์ของความสัมพันธ์
{ (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑥 2 + (𝑦 2 − 9)2 = 0 } เท่ากับ 3”
ประพจน์ในข้อใดมีคา่ ความจริงเป็ นเท็จ
1. (𝑝 ↔ 𝑞) ∨ ~(𝑝 ∧ 𝑞) 2. (𝑞 ↔ ~𝑝) ∧ (𝑞 → 𝑝) 3. (𝑝 → 𝑞) ↔ (𝑞 ∨ 𝑞)
4. (𝑝 → 𝑞) → (𝑞 → ~𝑝) 5. (𝑞 → ~𝑝) → (𝑝 → 𝑞)
6 PAT 1 (มี.ค. 64)

13. บัตรสีแดงจานวน 5 ใบ ได้แก่ บัตรหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5


และบัตรสีนา้ เงินจานวน 7 ใบ ได้แก่ บัตรหมายเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7
เอมสุม่ เลือกบัตรสองใบจากบัตรสีแดงหนึง่ ใบและบัตรสีนา้ เงินหนึง่ ใบ เพื่อนามาสร้างเป็ นจานวนทีม่ ีสองหลัก
ความน่าจะเป็ นทีเ่ อมจะได้จานวนที่มีสองหลักเป็ นจานวนคูเ่ ท่ากับเท่าใด
1. 37 2. 7029
3. 25 4. 356 3
5. 70

14. กาหนดรูปสิบเหลีย่ มด้านเท่าแนบในวงกลม ถ้าสร้างส่วนของเส้นตรงเชื่อมระหว่างจุดยอด 2 จุดใดๆ ของ


รูปสิบเหลีย่ มนี ้ แล้วจานวนของส่วนของเส้นตรงที่ไม่เป็ นด้านของรูปสิบเหลีย่ มและไม่ผา่ นจุดศูนย์กลางของวงกลม
มีทงั้ หมดกี่เส้น
1. 30 2. 35 3. 40 4. 75 5. 80

15. ร้านเบเกอรีแห่งหนึง่ ขายคุกกีบ้ รรจุเป็ นกล่องขนาดเดียวกัน พบว่า กาไรต่อกล่องเป็ นฟั งก์ชนั พหุนามกาลังสองของ
จานวนกล่องที่ขายได้ตอ่ วัน โดยที่
 ในวันที่รา้ นขายคุกกีไ้ ด้ 20 กล่อง ร้านจะได้กาไร 20 บาทต่อกล่อง
 ในวันที่รา้ นขายคุกกีไ้ ด้ 10 กล่อง ร้านจะมีรายได้จากการขายคุกกีเ้ ท่ากับต้นทุน
 ในวันที่รา้ นขายคุกกีไ้ ม่ได้เลย ร้านจะขาดทุน 40 บาทต่อกล่อง
ร้านเบเกอรีจะขายคุกกีไ้ ด้วนั ละกี่กล่อง จึงจะมีกาไรต่อกล่องมากที่สดุ
1. 15 2. 20 3. 25 4. 30 5. 35
PAT 1 (มี.ค. 64) 7

16. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 12 cos (𝜋𝑥 2


) และ 𝑔(𝑥) = 2 sin(2𝑥) พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
𝑔
ก) ฟั งก์ชนั 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนช่วง [0 , 2]
ข) แอมพลิจดู ของฟั งก์ชนั 𝑔 เป็ น 4 เท่าของแอมพลิจดู ของฟั งก์ชนั 𝑓
ค) คาบของฟังก์ชนั 𝑓 เป็ น 2 เท่าของคาบของฟังก์ชนั 𝑔
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง

17. เครือ่ งเล่นชิน้ หนึง่ ประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก 2 ส่วน คือ กระดานลืน่ และตาข่าย สาหรับปี นป่ าย
โดยกระดานลืน่ (𝐴𝐵 ̅̅̅̅) ยาว 1.5 เมตร และทามุม 15 องศา กับพืน้ ราบ ดังรู ป
𝐶

𝐵 𝐷
1.5 เมตร

พืน้ ราบ 𝐴 15°

เมื่อขึงลวดจากจุด 𝐶 ไปยังจุด 𝐴 จะได้แนวของเส้นลวดทามุม 45 องศา กับด้าน 𝐶𝐷


และขึงลวดจากจุด 𝐶 ไปยังจุด 𝐵 จะได้แนวของเส้นลวดทามุม 15 องศา กับด้าน 𝐶𝐷
จุดสูงสุดของเครือ่ งเล่น (จุด 𝐶) อยูส่ งู จากพืน้ ราบกี่เมตร
(กาหนดให้ จุด 𝐴 จุด 𝐵 จุด 𝐶 และจุด 𝐷 อยูใ่ นระนาบเดียวกัน)
√6 3√2 3√6 3√3 3√6
1. 4
2. 4
3. 2
4. 2
5. 4
8 PAT 1 (มี.ค. 64)

18. วันที่ 1 มีนาคม 2564 อลินซือ้ ห้องในคอนโดมิเนียมแห่งหนึง่ ราคา 600,000 บาท โดยจ่ายเงินดาวน์จานวนหนึง่
และผ่อนชาระค่าห้องส่วนทีเ่ หลือเป็ นจานวนเงินเดือนละ 10,000 บาท เป็ นเวลา 48 เดือน โดยผ่อนชาระทุกสิน้
เดือน ถ้าผูข้ ายกาหนดอัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 12 ต่อปี โดยคิดดอกเบีย้ แบบทบต้นทุกเดือน แล้วอลินจ่ายเงินดาวน์
จานวนกี่บาท
10,000(1 − (1.01)−48 ) 10,000((1.01)−1 − (1.01)−49 )
1. 1 − (1.01)−1
2. 1 − (1.01)−1
10,000(1 − (1.01)−48 ) 10,000((1.01)−1 − (1.01)−49 )
3. 600,000 −
1 − (1.01)−1
4. 600,000 −
1 − (1.01)−1
10,000((1.12)−1 − (1.12)−49 )
5. 600,000 − 1 − (1.12)−1

19. ร้านแห่งหนึง่ ขายไอศกรีมแท่ง 2 รส คือ รสกะทิและรสส้ม โดยกาไรจากการขายไอศกรีมรสส้มแต่ละแท่งมากกว่ากาไร


จากการขายไอศกรีมรสกะทิแต่ละแท่งอยู่ 1 บาท ถ้าในวันที่ 14 มีนาคม 2564 ร้านนีข้ ายไอศกรีมทัง้ สองรสรวมกัน
ได้ 26 แท่ง และได้กาไรจากการขายไอศกรีมทัง้ หมด 120 บาท โดยกาไรจากการขายไอศกรีมรสส้มเป็ น 2 เท่าของ
กาไรจากการขายไอศกรีมรสกะทิ แล้วในวันดังกล่าว ร้านนีข้ ายไอศกรีมรสกะทิได้จานวนกี่แท่ง
1. 5 2. 8 3. 10 4. 13 5. 16

20. สถาบันแห่งหนึง่ ทาการศึกษาการขยายพันธุข์ องแบคทีเรีย 2 ชนิด คือ แบคทีเรีย A และแบคทีเรีย B โดย


 ทาการตรวจนับจานวนแบคทีเรีย A ทุกวัน เวลา 12.00 น. พบว่าจานวนแบคทีเรียจะเพิม ่ ขึน้ เป็ น 2 เท่า
ของจานวนแบคทีเรียที่ตรวจนับในครัง้ ก่อนหน้า
 ทาการตรวจนับจานวนแบคทีเรีย B ทุกๆ 2 วัน เวลา 12.00 น. พบว่าจานวนแบคทีเรียจะเพิม ่ ขึน้
เป็ น 5 เท่าของจานวนแบคทีเรียที่ตรวจนับในครัง้ ก่อนหน้า
ถ้าเริม่ ตรวจนับจานวนแบคทีเรีย A ครัง้ แรกในวันที่ 1 พฤษภาคม 2563 พบแบคทีเรีย A จานวน 1,000 เซลล์ และ
เริม่ ตรวจนับจานวนแบคทีเรีย B ครัง้ แรกในวันที่ 5 พฤษภาคม 2563 พบแบคทีเรีย B จานวน 1,000 เซลล์
แล้วจานวนแบคทีเรีย B มากกว่าจานวนแบคทีเรีย A ครัง้ แรกที่มกี ารตรวจนับในวันใด (กาหนดให้ log 2 ≈ 0.3)
1. วันที่ 9 พฤษภาคม 2563 2. วันที่ 29 พฤษภาคม 2563
3. วันที่ 31 พฤษภาคม 2563 4. วันที่ 2 มิถนุ ายน 2563
5. วันที่ 6 มิถนุ ายน 2563
PAT 1 (มี.ค. 64) 9

21. กาหนดให้รูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มีมมุ 𝐵 เป็ นมุมฉาก และ ̅̅̅̅


𝐵𝐷 ตัง้ ฉากกับ ̅̅̅̅
𝐴𝐶 ดังรูป
𝐴
𝐷

𝐶
𝐵

ถ้า 𝐴𝐶
̅̅̅̅ มีความยาวเป็ น 𝑛 เท่าของความยาวของ 𝐵𝐷
̅̅̅̅ เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มบวก
แล้ว 𝑛 cos(𝐴 − 𝐶) เท่ากับเท่าใด
1. 4 2. 2 3. 1 4. 0 5. −2

22. ตึกหนึง่ และตึกสองตัง้ อยูบ่ นพืน้ ราบในแนวเส้นตรงเดียวกัน โดยตึกสองสูงกว่าตึกหนึง่ และมีแนวรัว้ กัน้ ระหว่าง
ตึกทัง้ สอง ซึง่ ระยะห่างจากแนวรัว้ ถึงตึกสองเท่ากับ 12 เมตร ชาลียืนอยูบ่ นดาดฟ้าของตึกหนึง่ (จุด 𝑃) มองเห็นยอด
ตึกสอง (จุด 𝑄) เป็ นมุมเงย 45 องศา มองเห็นฐานตึกสอง (จุด 𝑅) เป็ นมุมก้ม 30 องศา และมองเห็นฐานของ
แนวรัว้ (จุด 𝑆) เป็ นมุมก้ม 60 องศา ดังรูป
𝑄

ตึกสอง
45°
แนวเส้นระดับสายตา
60° 30°
𝑃
ตึกหนึ่ง
𝑆
พืน้ ราบ
12 เมตร 𝑅

ถ้าชาลีสงู 180 เซนติเมตร และจุด 𝑃 จุด 𝑄 จุด 𝑅 และจุด 𝑆 อยูใ่ นระนาบเดียวกัน


แล้วตึกสองสูงกว่าตึกหนึง่ ประมาณกี่เมตร
1. 18 2. 19.8 3. 13.8 + 6√3
4. 25.8 5. 13.8 + 8√3
10 PAT 1 (มี.ค. 64)

23. ถ้า 𝑧1 = cos (𝜋5) + 𝑖 sin (𝜋5) เป็ นรากที่สบิ ของจานวนเชิงซ้อนจานวนหนึง่


ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ใช่รากที่สบิ ของจานวนเชิงซ้อนจานวนนี ้
1. cos (4𝜋5
4𝜋
) + 𝑖 sin ( 5 ) 2. cos (𝜋2) + 𝑖 sin (𝜋2) 3. cos(𝜋) + 𝑖 sin(𝜋)
7𝜋 7𝜋
4. cos(0) + 𝑖 sin(0) 5. cos ( 5 ) + 𝑖 sin ( 5 )

24. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนช่วงเปิ ด (0 , 6) และกราฟของ 𝑓 ′ เป็ นดังรูป


𝑓 ′ (𝑥)
2

𝑥
0 1 2 3 4 5 6
−1

−2

ข้อใดไม่ถกู ต้อง
1. 𝑓 มีจดุ วิกฤตที่ 𝑥 = 1
2. 𝑓 มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1 และ 𝑥 = 4
3. 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่าสุดสัมบูรณ์บนช่วง [2 , 5]
4. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มบนช่วง (1 , 3)
5. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ค่าคงตัวบนช่วง (0 , 1)

1
25. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 60 𝑥(𝑥 2 − 49) เมื่อ 𝑥 เป็ นจานวนจริง
และให้ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นพืน้ ที่ของบริเวณที่แรเงา ดังรูป
𝑌
𝑓

(𝑝, 1) 𝐴 (𝑞, 1)
𝑦=1
𝐵
𝑋
0 𝐶
𝑦 = −1
(𝑟, −1) (𝑠, −1)

ข้อใดไม่ถกู ต้อง
0 7 𝑞
1. ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 2. 𝐴 = ∫ (𝑓(𝑥) − 1) 𝑑𝑥
−7 0 𝑝
0 7
3. 𝐵 = ∫ (1 − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 4. 𝐴 + 𝐵 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
−7 0
𝑠 7
5. 𝐶 = ∫ (𝑓(𝑥) + 1)𝑑𝑥 − ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
𝑟 0
PAT 1 (มี.ค. 64) 11

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 26 – 27


การว่ายนา้ แบบผลัดผสม เป็ นการแข่งขันว่ายนา้ ที่แต่ละทีมประกอบด้วยนักว่ายนา้ จานวน 4 คน โดยนักว่ายนา้
ในทีมแต่ละคนจะต้องว่ายนา้ คนละหนึง่ ท่า ดังนี ้
คนที่ 1 ว่ายท่ากรรเชียง คนที่ 2 ว่ายท่ากบ
คนที่ 3 ว่ายท่าผีเสือ้ คนที่ 4 ว่ายท่าฟรีสไตล์
ชมรมว่ายนา้ “เงือกสยาม ฉลามไทย” มีสมาชิกจานวน 6 คน คือ แก้ม ข้าว คิม เงาะ เจต และฉัตร

26. ถ้าชมรมว่ายนา้ “เงือกสยาม ฉลามไทย” ต้องการจัดสมาชิกของชมรม 4 คน เพื่อเป็ นทีมเข้าร่วมแข่งขันว่ายนา้ แบบ


ผลัดผสม โดยที่สมาชิกในชมรมทุกคนสามารถว่ายนา้ ได้ทกุ ท่าของการว่ายนา้ แล้วชมรมจะมีวิธีในการจัดสมาชิกเพื่อ
แข่งขันว่ายนา้ แบบผลัดผสมที่แตกต่างกันทัง้ หมดกี่วิธี
1. 15 2. 32 3. 36 4. 360 5. 720

27. ถึงแม้วา่ สมาชิกในชมรมจะสามารถว่ายนา้ ได้ทกุ ท่าของการว่ายนา้ แต่สมาชิกแต่ละคนมีทา่ ว่ายนา้ ที่ตนเองถนัด


ดังข้อมูลในตารางต่อไปนี ้
ท่าการว่ายนา้ ในการแข่งขัน รายชื่อสมาชิกที่มีความถนัดในการว่ายนา้ แต่ละท่า
ท่ากรรเชียง แก้ม
ท่ากบ ข้าว คิม
ท่าผีเสือ้ เงาะ เจต
ท่าฟรีสไตล์ แก้ม เงาะ เจต ฉัตร

ถ้าชมรมว่ายนา้ นีต้ อ้ งการจัดสมาชิกของชมรม 4 คน เพื่อเป็ นทีมเข้าร่วมแข่งขันว่ายนา้ แบบผลัดผสม โดยที่แต่ละคน


ได้วา่ ยนา้ ในท่าที่ตนเองถนัด แล้วจะมีวธิ ีในการจัดสมาชิกเพื่อแข่งขันว่ายนา้ แบบผลัดผสมที่แตกต่างกันทัง้ หมดกี่วิธี
1. 4 2. 8 3. 9 4. 15 5. 16
12 PAT 1 (มี.ค. 64)

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 28 – 29


วิธีการตรวจโควิด-19 ที่ใช้ในประเทศไทยมีหลายวิธี แต่ละวิธีใช้เวลา และมีคา่ ใช้จา่ ยที่แตกต่างกัน นักวิจยั ไทย
กลุม่ หนึง่ พัฒนาชุดตรวจโควิด-19 ขึน้ มาสองชุด คือ ชุด A และชุด B โดยได้นาไปใช้ทดลองกับผูท้ เี่ ดินทางเข้ามาใน
ประเทศไทยจานวน 50 คน
ผูท้ ี่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยกลุม่ ที่ 1 จานวน 20 คน ได้รบั การตรวจโควิด-19 ด้วยชุดตรวจ A พบว่า มี
ผูป้ ่ วยโควิด-19 จานวน 3 คน
ผูท้ ี่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยกลุม่ ที่ 2 จานวน 30 คน ได้รบั การตรวจโควิด-19 ด้วยชุดตรวจ B พบว่า มี
ผูป้ ่ วยโควิด-19 จานวน 12 คน
หลังจากนัน้ ผูป้ ่ วยโควิด-19 ทัง้ 15 คน ได้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล

28. ถ้าต้องการเลือกผูป้ ่ วยโควิด-19 ที่ได้รบั การตรวจด้วยชุดตรวจ A จานวน 2 คน และ ต้องการเลือกผูป้ ่ วยโควิด-19 ที่
ได้รบั การตรวจด้วยชุดตรวจ B จานวน 7 คน แล้วนักวิจยั จะมีวิธีเลือกผูป้ ่ วยทัง้ หมดกี่วิธี
1. (32) × (12 7
) 2. (32) + (12
7
) 3. (20
2
) × (30
7
)
4. (20
2
) + (30
7
) 5. (15
9
)

29. ชุดตรวจ A ที่นกั วิจยั พัฒนาขึน้ มา พบว่า มีความคลาดเคลือ่ นในการทดสอบ โดยชุดตรวจ A ใช้ตรวจกับผูป้ ่ วย
โควิด-19 ทุกๆ 100 คน ผลการตรวจจะผิดพลาดจานวน 1 คน (ตรวจไม่พบเชือ้ โควิด-19)
ถ้านักวิจยั ได้ใช้ชดุ ตรวจ A ตรวจผูป้ ่ วยโควิด-19 จานวน 15 คน ดังกล่าวอีกครัง้
แล้วความน่าจะเป็ นที่ผลการตรวจนีจ้ ะเกิดความผิดพลาดเพียงคนเดียวเท่ากับเท่าใด
14 1
1. 225 2. 15 3. (15)(0.9)14(0.1)
4. (15)(0.99)(0.01)14 5. (15)(0.99)14(0.01)

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 30 – 31


ร้านขายขนมปั งแห่งหนึง่ สามารถผลิตขนมปั งได้ไม่เกินวันละ 60 ก้อน โดยมีตน้ ทุนการผลิตขนมปั ง
ก้อนละ 20 บาท และมีคา่ ใช้จ่ายประจาคงที่ เช่น ค่าจ้างคนงาน ค่าแก๊ส ค่าไฟฟ้า เท่ากับ 1,600 บาทต่อวัน
ร้านแห่งนีต้ งั้ ราคาขายขนมปังก้อนละ 140 − 2𝑥 บาท เมื่อ 𝑥 แทนจานวนขนมปั งที่ผลิตในแต่ละวัน (ก้อน)

30. ร้านขายขนมปั งแห่งนีต้ อ้ งผลิตขนมปั งจานวนน้อยที่สดุ วันละกี่กอ้ นจึงจะได้กาไร หากร้านแห่งนีข้ ายขนมปั งที่ผลิตได้
หมดทุกวัน
1. 20 2. 21 3. 30 4. 39 5. 40
PAT 1 (มี.ค. 64) 13

31. วันที่หนึง่ ร้านขายขนมปั งแห่งนีไ้ ด้ผลิตขนมปั ง 25 ก้อน และขายหมดในวันเดียว โดยมีตน้ ทุนการผลิตและค่าใช้จา่ ย


ประจาคงที่เท่าเดิม
วันที่สอง ร้านขายขนมปั งแห่งนีจ้ า้ งคนงานเพิ่ม 1 คน และผลิตขนมปั งได้ 30 ก้อน ทาให้คา่ ใช้จา่ ยประจาคงที่
เพิ่มขึน้ จากเดิมอีก 100 บาท และขายหมดในวันเดียว
กาไรที่ได้จากการขายขนมปั งในวันที่สองเปลีย่ นแปลงจากกาไรที่ได้จากการขายขนมปั งในวันที่หนึง่ ตรงกับข้อใด
1. กาไรเพิ่มขึน้ 50 บาท 2. กาไรเพิ่มขึน้ 100 บาท 3. กาไรเพิ่มขึน้ 150 บาท
4. กาไรลดลง 50 บาท 5. กาไรลดลง 150 บาท

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 32 – 33


ทรงกลม คือ เซตของจุดทัง้ หมดในระบบพิกดั ฉากสามมิติที่หา่ งจากจุดๆ หนึง่ ที่ตรึงอยูก่ บั ทีเ่ ป็ นระยะทางคงตัว
จุดที่ตรึงอยูก่ บั ที่นเี ้ รียกว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม และส่วนของเส้นตรงทีม่ ีจดุ ศูนย์กลางและจุดบนทรงกลมเป็ นจุด
ปลายเรียกว่า รัศมีของทรงกลม
กาหนดทรงกลมรัศมียาว 9 หน่วย มีจดุ ศูนย์กลางอยูท่ จี่ ดุ 𝑂(0, 0, 0) จุด 𝑃1, 𝑃2 และ 𝑃3 อยูบ่ นทรงกลม
6 −6 7
โดยที่ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃1 = [−6] , ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃2 = [ 3 ] และ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃3 = [ 4 ]
3 6 −4
0
32. ถ้า 𝑘1 และ 𝑘2 เป็ นจานวนจริงที่ทาให้เวกเตอร์ 𝑘1 ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃1 + 𝑘2 ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃2 = [−1]
3
แล้วผลคูณของ 𝑘1 และ 𝑘2 เท่ากับเท่าใด
1. −1 2. − 19 3. 1
9
4. 1 5. 9

33. กาหนดให้ 𝜃 เป็ นมุมระหว่าง ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑


𝑂𝑃1 และ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑ 𝑂𝑃3 ข้อใดถูกต้อง
𝑂𝑃2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
1. 0° < 𝜃 < 45° 2. 45° < 𝜃 < 90° 3. 𝜃 = 90°
4. 90° < 𝜃 < 180° 5. 𝜃 = 180°
14 PAT 1 (มี.ค. 64)

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 34 – 35


ในการวางแผนระบบการเดินรถไฟระหว่างสถานีสองสถานี คือ สถานี ก และ สถานี ข ซึง่ อยูห่ า่ งกันเป็ น
ระยะทาง 𝑆 เมตร ในแนวเส้นตรง โดยรถไฟเริม่ ต้นเคลือ่ นที่จากหยุดนิ่งที่สถานี ก ไปจนหยุดนิง่ อีกครัง้ ที่สถานี ข
2
รถไฟมีความเร่งสูงสุดเท่ากับ 𝐴 เมตรต่อวินาที โดยรถไฟจะเคลือ่ นที่แบบระบบขับเคลือ่ นโดยอัตโนมัติเป็ น 3 ช่วง
ดังนี ้
2
 ช่วงแรก ช่วงเวลา 𝑇 วินาทีแรก รถไฟมีความเร่งเพิ่มขึน้ ในอัตราสม่าเสมอ จาก 0 ถึง 𝐴 เมตรต่อวินาที
 ช่วงกลาง รถไฟจะเคลือ่ นที่ดว้ ยความเร็วคงตัว
 ช่วงท้าย ช่วงเวลา 𝑇 วินาที ก่อนรถไฟถึงสถานี ข รถไฟจะชะลอตัวในลักษณะทีค ่ วามเร่งลดลงในอัตรา
2
สม่าเสมอจาก 𝐴 ถึง 0 เมตรต่อวินาที
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาและความเร่งของรถไฟนีท้ ี่เคลือ่ นที่จากสถานี ก ไปยังสถานี ข เป็ นดังนี ้
ความเร่ง (เมตรต่อวินาที2 )

เวลา (วินาที)
0
𝑇 𝑇
สถานี ก สถานี ข

34. ในช่วงเวลาที่รถไฟเคลือ่ นที่ดว้ ยความเร็วคงตัวนัน้ รถไฟวิ่งด้วยความเร็วคงตัวกี่เมตรต่อวินาที


𝐴𝑇 𝐴𝑇 3
1. 𝐴 2. 𝐴𝑇 3. 2
4. 𝐴𝑇 2 5. 3

35. รถไฟเคลือ่ นที่จากสถานี ก ถึงสถานี ข ใช้เวลากี่วินาที


1. 𝐴𝑆 + 𝑇 2. 𝐴𝑇 𝑆
+𝑇 3. 𝐴𝑇𝑆 2 + 𝑇 4. 2𝑆
𝐴𝑇
+
4𝑇
3
5. 3𝑆
𝐴𝑇 3
+
5𝑇
3
PAT 1 (มี.ค. 64) 15

ตอนที่ 2 ข้อ 36 – 45 ข้อละ 9 คะแนน


36. โรงเรียนแห่งหนึง่ สารวจความชอบของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่าย ซึง่ ประกอบด้วยฐานวิทยาศาสตร์และ
ฐานคณิตศาสตร์ พบว่า
มีนกั เรียนร้อยละ 9 ไม่ชอบกิจกรรมทัง้ สองฐาน
มีนกั เรียนร้อยละ 61 ชอบกิจกรรมฐานวิทยาศาสตร์
มีนกั เรียนร้อยละ 35 ชอบกิจกรรมทัง้ สองฐาน
ถ้าลุม่ นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่ายนีม้ า 1 คน แล้วความน่าจะเป็ นที่นกั เรียนคนนีช้ อบกิจกรรมฐานคณิตศาสตร์
เท่ากับเท่าใด

37. นิดซือ้ นา้ ดื่ม ข้าวสาร และปลากระป๋ อง ไปบริจาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย ดังนี ้


ครัง้ ที่ 1 ซือ้ นา้ ดื่ม 2 แพ็ค ข้าวสาร 2 กิโลกรัม และปลากระป๋ อง 5 แพ็ค คิดเป็ นเงิน 800 บาท
ครัง้ ที่ 2 ซือ้ นา้ ดื่ม 4 แพ็ค ข้าวสาร 10 กิโลกรัม และปลากระป๋ อง 3 แพ็ค คิดเป็ นเงิน 1,000 บาท
ครัง้ ที่ 3 ซือ้ นา้ ดื่ม 7 แพ็ค ข้าวสาร 3 กิโลกรัม และปลากระป๋ อง 1 แพ็ค คิดเป็ นเงิน 660 บาท
ถ้าครัง้ ที่ 4 ซือ้ นา้ ดื่ม 5 แพ็ค ข้าวสาร 5 กิโลกรัม และปลากระป๋ อง 7 แพ็ค โดยราคาของนา้ ดื่ม ข้าวสาร และปลา
กระป๋ อง ไม่เปลีย่ นแปลง แล้วในการซือ้ ครัง้ ที่ 4 นิดจะต้องจ่ายเงินกี่บาท

38. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = log 𝑎 𝑥


𝑔(𝑥) = log 𝑎 (𝑥 − 𝑏)
ℎ(𝑥) = (log 𝑎 𝑥) + 𝑐
เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง โดยที่ 𝑎 > 1 และ 𝑏 < 1
ถ้า 𝑓(2) = 1 , 𝑔(1) = 2 และ ℎ(1) = 5 แล้วค่าของ ℎ(13𝑎 − 2𝑏) เท่ากับเท่าใด
16 PAT 1 (มี.ค. 64)

39. กาหนดให้ 𝑃(8, −7) เป็ นจุดบนเส้นตรง 𝑙1 ซึง่ มีสมการเป็ น 𝑥+𝑦 = 1


𝑙2 เป็ นเส้นตรงซึง่ มีสมการเป็ น – 𝑥 + 𝑦 = 1
และ 𝑅 เป็ นจุดตัดของเส้นตรง 𝑙1 กับ 𝑙2
5√2
ถ้า 𝑄 เป็ นจุดบนเส้นตรง 𝑙2 โดยที่ ̅̅̅̅
𝑅𝑄 ยาว 2 หน่วย
แล้วรูปสามเหลีย่ มที่ปิดล้อมด้วย 𝑙1 , 𝑙2 และ ̅̅̅̅
𝑃𝑄 มีพน
ื ้ ที่กี่ตารางหน่วย

40. จากการสารวจความสูงของนักเรียน 1,000 คน พบว่า ความสูงของนักเรียนมีการแจกแจงปกติที่มคี า่ เฉลีย่ เท่ากับ


160 เซนติเมตร และความแปรปรวนเท่ากับ 25 เซนติเมตร2
กาหนดตารางแสดงพืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ดังนี ้

𝑧 0 0 𝑧
𝑧 −2.60 −1.40 −0.28 0.00 0.28 1.40 2.60
พืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน 0.005 0.081 0.390 0.5 0.610 0.919 0.995

จากข้อมูลดังกล่าว คาดว่าจะมีนกั เรียนที่มคี วามสูงมากกว่า 167 เซนติเมตร อยูจ่ านวนกี่คน


PAT 1 (มี.ค. 64) 17

41. ในช่วงเทศกาลวันปี ใหม่ ร้านเบเกอรีแห่งหนึง่ ผลิตเค้กสูตรพิเศษทีม่ ีขอ้ จากัดในการผลิต จึงจะผลิตตามสั่งได้ไม่เกิน


12 ก้อน โดยมีกาไรจากการขายเค้ก 𝑛 ก้อน เท่ากับ 300𝑛 − 45𝑛2 + 2𝑛3 บาท
ร้านเบเกอรีแห่งนีจ้ ะได้กาไรมากที่สดุ เมื่อขายเค้กกี่กอ้ น

42. กาหนดให้ 𝑥𝑖 แทนคะแนนของนักเรียนคนที่ 𝑖 เมื่อ 𝑖 ∈ {1, 2, 3, … , 46} ครูคานวณค่าเฉลีย่ เลขคณิตได้เท่ากับ


46
55 คะแนน จากนัน้ จึงคานวณ ∑ (𝑥𝑖 − 55)2 แล้วจึงนามาคานวณความแปรปรวนได้เท่ากับ 30 คะแนน2
𝑖=1
ต่อมาครูพบว่า ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเดิมไม่ถกู ต้อง เนื่องจากเกิดจากการหารที่ผิดพลาด โดยค่าเฉลีย่ เลขคณิตที่ถกู ต้อง
เท่ากับ 60 คะแนน คะแนนสอบของวิชานีม้ คี วามแปรปรวนทีถ่ กู ต้องเท่ากับเท่าใด

43. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มที่ทาให้


พหุนาม 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑥 + 6 เป็ นตัวประกอบของพหุนาม 𝑥 4 − 10𝑥 3 + 25𝑥 2 + 𝑏
ค่าของ |𝑎𝑏| เท่ากับเท่าใด
18 PAT 1 (มี.ค. 64)

44. กาหนดให้ 𝐴 เป็ นเซตของจานวนเชิงซ้อนทัง้ หมดที่สอดคล้องกับ |𝑧 − 2 + 𝑖| = |3 − 4𝑖|


และ 𝐵 = { |𝑧 − 8 − 7𝑖| | 𝑧 ∈ 𝐴 }
ค่ามากที่สดุ ของสมาชิกในเซต 𝐵 เท่ากับเท่าใด

45. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่𝑓(𝑥) = {𝑥 + 5 เมื่อ 𝑥 > 𝑎 และ 𝑎 > 0
𝑥 + 1 เมื่อ 𝑥 ≤ 𝑎
และให้ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
ถ้า 𝑥→𝑎
lim− (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) − lim+ (𝑓 ∘ 𝑔)(√𝑥)
𝑥→𝑎
= 2 แล้วค่าของ 𝑎 เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (มี.ค. 64) 19

เฉลย
1. 3 11. 4 21. 2 31. 4 41. 5
2. 1 12. 5 22. 2 32. 3 42. 5
3. 1 13. 2 23. 2 33. 4 43. 144
4. 4 14. 1 24. 5 34. - 44. 15
5. 1 15. 3 25. 3 35. - 45. 2
6. 1 16. 2 26. 4 36. 0.65
7. 5 17. 5 27. 2 37. 1,340
8. 3 18. 4 28. 1 38. 10
9. 4 19. 3 29. 5 39. 20
10. 5 20. 3 30. 2 40. 81

แนวคิด
1. พืน้ ของห้องเก็บสินค้าของโรงงานแห่งหนึง่ เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าที่มีเส้นทแยงมุมยาวกว่าด้านยาว 2 เมตร
และด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 14 เมตร ถ้าผูจ้ ดั การโรงงานต้องการปรับปรุงพืน้ ของห้องนี ้ โดยช่างคิดค่าแรง
ตารางเมตรละ 120 บาท
ผูจ้ ดั การโรงงานจะต้องจ่ายเงินค่าแรงในการปรับปรุงพืน้ ของห้องเก็บสินค้านีเ้ ป็ นเงินกี่บาท
1. 14,400 2. 17,280 3. 28,800 4. 31,200 5. 37,440
ตอบ 3
สมมติให้ดา้ นกว้าง = 𝑥 เมตร
ด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 14 เมตร → จะได้ดา้ นยาว = 𝑥 + 14 เมตร
เส้นทแยงมุมยาวกว่าด้านยาว 2 เมตร → จะได้เส้นทแยงมุม = 𝑥 + 14 + 2 = 𝑥 + 16 เมตร
จากพีทากอรัส จะได้
𝑥 + 16 𝑥 2 + (𝑥 + 14)2 = (𝑥 + 16)2 (น + ล)2 = น2 + 2นล + ล2
𝑥
𝑥 + 𝑥 + 28𝑥 + 196 = 𝑥 2 + 32𝑥 + 256
2 2

𝑥 2 − 4𝑥 − 60 = 0
𝑥 + 14
(𝑥 − 10)(𝑥 + 6) = 0
𝑥 = 10 , −6 ความกว้าง เป็ นลบไม่ได้

ดังนัน้ กว้าง = 10 เมตร , ยาว = 10 + 14 = 24 เมตร → คิดเป็ นพืน้ ที่ = 10 × 24 ตารางเมตร


จะได้ ค่าแรง = 10 × 24 × 120 = 28,800 บาท

2. กาหนดให้ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มบวก เซตของจานวนจริง 𝑥 ทัง้ หมดที่ทาให้


(𝑥 + 3)2 + (𝑥 + 3)4 + (𝑥 + 3)6 + ⋯ + (𝑥 + 3)2𝑛 + ⋯
เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้าคือข้อใด
1. (−4 , −2) 2. (−∞ , −2) 3. [−2 , 1)
4. (−1 , 1) 5. (2 , 4)
ตอบ 1
คูณ (𝑥 + 3)2 คูณ (𝑥 + 3)2

(𝑥 + 3)2 + (𝑥 + 3)4 + (𝑥 + 3)6 + ⋯ + (𝑥 + 3)2𝑛 + ⋯


จะเห็นว่าแต่ละพจน์ที่มาบวกกัน ถูกคูณเพิ่มจากพจน์ก่อนหน้าทีละ (𝑥 + 3)2
20 PAT 1 (มี.ค. 64)

ดังนัน้ อนุกรมนีเ้ ป็ นอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ ที่มีอตั ราส่วนร่วม 𝑟 = (𝑥 + 3)2


ซึง่ จากสูตร อนุกรมเรขาคณิตอนันต์จะลูเ่ ข้าเมือ่ |𝑟| < 1
(𝑥 + 3)2 ไม่มีทางติดลบ |(𝑥 + 3)2 | < 1
จึงถอดค่าสัมบูรณ์ได้เท่าเดิมเสมอ (𝑥 + 3)2 < 1
2
𝑥 + 6𝑥 + 9 < 1
𝑥 2 + 6𝑥 + 8 < 0
(𝑥 + 4)(𝑥 + 2) < 0
+ − +
→ จะได้คาตอบคือ (−4, −2)
−4 −2

3. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงบวก โดยที่ 𝑎≠1 และ 𝑏≠1


1 𝑥
ถ้า 𝑓(𝑥) = (𝑎) และ 𝑔(𝑥) = 𝑏 𝑥 เป็ นฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียลที่มีลกั ษณะกราฟดังรูป
𝑌 𝑌

𝑓 𝑔

𝑋 𝑋

กราฟของฟังก์ชนั 𝑓 กราฟของฟังก์ชนั 𝑔

เงื่อนไขในข้อใดที่ทาให้กราฟของ 𝑓 และ 𝑔 สอดคล้องกับรูปข้างต้น


1. 0 < 𝑎 < 1 และ 0 < 𝑎𝑏 < 1 2. 0 < 𝑎 < 1 และ 𝑎𝑏 > 1
3. 0 < 𝑎 < 1 และ 𝑎𝑏 > 1 4. 𝑎 > 1 และ 𝑎𝑏 > 1
5. 𝑎 > 1 และ 0 < 𝑎𝑏 < 1
ตอบ 1
1
กราฟของ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นแบบพุง่ ขึน้ ทัง้ คู่ → เป็ นแบบ ฐาน > 1 ทัง้ คู่ → 𝑎
> 1 และ 𝑏>1
1
0 > 1−𝑎
𝑎−1
0 > 𝑎
+ − +
→ 0 < 𝑎 < 1 …(∗)
0 1

𝑌 𝑓
𝑔
และจากรูปกราฟที่โจทย์กาหนด จะเห็นว่า 𝑓 พุง่ ขึน้ สูงว่า 𝑔 เมื่อ 𝑥 เป็ นบวก
ดังนัน้ จะสรุปได้วา่ ฐานชอง 𝑓 > ฐานของ 𝑔
1
> 𝑏
𝑎 𝑎 เป็ นบวก → ไม่ตอ้ งกลับ > เป็ น <
1 > 𝑎𝑏
𝑏 ก็เป็ นบวกด้วย
1 > 𝑎𝑏 > 0
𝑋
รวมกับ (∗) จะตรงกับเงื่อนไขในข้อ 1
PAT 1 (มี.ค. 64) 21

4. โรคโควิด-19 เป็ นโรคระบาดที่เกิดจากเชือ้ ไวรัสโคโรนาสายพันธุใ์ หม่ 2019 ซึง่ สามารถแพร่เชือ้ จากคนสูค่ นและ
ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ ข้อมูลการระบาดของโรคโควิด-19 ของประเทศที่อยูใ่ นทวีปยุโรป
จานวน 9 ประเทศ ในช่วง 90 วันแรก หลังจากพบผูต้ ิดเชือ้ รายแรกของประเทศนัน้ แสดงดังตารางต่อไปนี ้
จานวน จานวน อัตราส่วนของ
ประเทศ ประชากร ผูต้ ิดเชือ้ สะสม จานวนผูต้ ดิ เชือ้ สะสม
(ล้านคน) (คน) ต่อจานวนประขากรล้านคน
ฟิ นแลนด์ 5.54 4,695 847.36
ฝรั่งเศส 65.27 119,151 1,825.41
เยอรมนี 83.78 154,175 1,840.15
อิตาลี 60.46 201,505 3,332.76
นอร์เวย์ 5.42 8,352 1,540.61
โปแลนด์ 37.85 24,395 644.58
โปรตุเกส 10.20 31,596 3,098.65
สเปน 46.75 215,183 4,602.37
สวีเดน 10.10 20,302 2,010.24

จากข้อมูลในตาราง ข้อใดถูกต้อง
1. ประเทศที่มีจานวนประชากรน้อยที่สดุ มีจานวนผูต้ ิดเชือ้ สะสมน้อยที่สดุ
2. ประเทศที่มีจานวนประชากรมากที่สดุ มีจานวนผูต้ ิดเชือ้ สะสมมากที่สดุ
3. ประเทศที่มีจานวนผูต้ ดิ เชือ้ สะสมน้อยที่สดุ มีอตั ราส่วนของจานวนผูต้ ิดเชือ้ สะสม
ต่อจานวนประชากรล้านคน น้อยที่สดุ
4. ประเทศที่มีจานวนผูต้ ดิ เชือ้ สะสมมากที่สดุ มีอตั ราส่วนของจานวนผูต้ ิดเชือ้ สะสม
ต่อจานวนประชากรล้านคน มากที่สดุ
5. ประเทศที่มีอตั ราส่วนของจานวนผูต้ ิดเชือ้ สะสมต่อจานวนประชากรล้านคนน้อยที่สดุ
มีจานวนประชากรน้อยที่สดุ
ตอบ 4
จากตัวเลือก จะเห็นว่าโจทย์ถามเกี่ยวกับประเทศที่มีคา่ ทัง้ 3 ช่องน้อยสุด หรือมากสุด
หาค่าน้อยสุด กับมากสุด ในแต่ละค่าได้ดงั ตาราง
ประชากร ติดเชือ้ อัตราส่วน
น้อยสุด นอร์เวย์ ฟิ นแลนด์ โปแลนด์
มากสุด เยอรมนี สเปน สเปน

จะเห็นว่า สเปน มีผตู้ ิดเชือ้ มากสุด และมีอตั ราส่วนผูต้ ิดเชือ้ มากสุดด้วย → ตอบ 4
22 PAT 1 (มี.ค. 64)

5. เอกต้องการฝากเงิน 200 บาท เข้าบัญชีธนาคารทุกวันที่ 1 ของเดือน ติดต่อกันเป็ นเวลา 6 เดือน โดยธนาคารให้


อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 6 ต่อปี และคิดดอกเบีย้ แบบทบต้นทุกเดือน
ถ้าเอกเปิ ดบัญชีเงินฝากและเริม่ ฝากเงินครัง้ แรกในวันที่ 1 เมษายน 2563 แล้วในวันที่ 31 มีนาคม 2564 เอกจะมี
เงินในบัญชีธนาคารรวมทัง้ หมดกี่บาท โดยที่ไม่มีการถอนเงินในระหว่างนี ้
200((1.005)13 − (1.005)7 ) 200((1.005)13 − 1.005) 200((1.005)7 − 1.005)
1. 1.005 − 1
2. 1.005 − 1
3. 1.005 − 1
200((1.06)13 − (1.06)7 ) 200((1.06)13 − 1.06)
4. 1.06 − 1
5. 1.06 − 1
ตอบ 1
ดอกเบีย้ ต่อปี 6%
คิดดอกเบีย้ ทบต้นทุกเดือน = ปี ละ 12 ครัง้ → จะได้ดอกเบีย้ ต่องวด =
จานวนครัง้ ต่อปี
=
12
= 0.5%

ระยะเวลาที่ฝาก ตัง้ แต่ 1 เม.ย. 2563 ถึง 31 มี.ค. 2564 = 12 เดือน


0.5 12
ดังนัน้ 200 บาทก้อนแรก เมื่อผ่านไป 12 เดือน จะมีมลู ค่า 200 (1 + 100) = 200(1.005)12
200 บาทก้อนที่ 2 จะอยูใ่ นธนาคารแค่ 11 เดือน จะมีมลู ค่า = 200(1.005)11
200 บาทก้อนที่ 3 จะอยูใ่ นธนาคารแค่ 10 เดือน จะมีมลู ค่า = 200(1.005)10
⋮ +3 −3

200 บาทก้อนที่ 6 จะอยูใ่ นธนาคารแค่ 7 เดือน จะมีมลู ค่า = 200(1.005)7


(โจทย์บอกว่าฝากติดต่อกันแค่ 6 เดือน)
ดังนัน้ จะได้เงินรวม = 200(1.005)7 + 200(1.005)8 + … + 200(1.005)12
𝑎 𝑛 𝑟 − 𝑎1 200(1.005)12 (1.005) − 200(1.005)7
ใช้สตู รอนุกรมเรขาคณิต 𝑟−1
จะได้เงินรวม 1.005 − 1
200( (1.005)13 − (1.005)7 )
=
1.005 − 1

6. ร้านค้าแห่งหนึง่ มีพนักงานในแผนกขายและแผนกบัญชี รวม 12 คน โดยร้านค้าจ่ายเงินโบนัสให้ทงั้ สองแผนกเท่ากัน


แผนกละ 35,000 บาท และในแต่ละแผนก พนักงานแต่ละคนได้เงินโบนัสคนละเท่าๆ กัน
ถ้าพนักงานแผนกขายได้เงินโบนัสมากกว่าพนักงานแผนกบัญชีคนละ 2,000 บาท
แล้วพนักงานของแผนกขายมีจานวนน้อยกว่าพนักงานของแผนกบัญชีกี่คน
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8 5. 10
ตอบ 1
สมมติให้แผนกขาย มี 𝑥 คน
ได้โบนัสแผนกละ 35,000 บาท คนละเท่าๆ กัน → แผนกขายได้โบนัสคนละ 35000 𝑥
บาท …(1)
มีพนักงานรวม 12 คน → จะเหลือแผนกบัญชี 12 − 𝑥 คน
35000
→ ได้โบนัส 35,000 บาท แผนกบัญชีได้โบนัสคนละ 12−𝑥 บาท …(2)

แผนกขายได้มากกว่า คนละ 2,000 บาท


จาก (1) และ (2) จะได้ 35000 35000
− 12−𝑥 = 2000
35(12 − 2𝑥) = 2𝑥(12 − 𝑥) ดึงตัวร่วม 2
𝑥 35 (6 − 𝑥) = 𝑥(12 − 𝑥) ออกมาตัด
÷35000 ตลอด 1

1
=
2000 210 − 35𝑥 = 12𝑥 − 𝑥 2
𝑥 12−𝑥 35000
𝑥 2 − 47𝑥 + 210 = 0
12−𝑥 − 𝑥 2
𝑥(12−𝑥)
= 35
(𝑥 − 42)(𝑥 − 5) = 0
𝑥 = 42 , 5
PAT 1 (มี.ค. 64) 23

แต่พนักงานรวมมีแค่ 12 คน ดังนัน้ 𝑥 จะมากกว่า 12 ไม่ได้ → เหลือ 𝑥=5 ค่าเดียว


นั่นคือ แผนกขายมี 5 คน และแผนกบัญชีมี 12 − 5 = 7 คน
ดังนัน้ แผนกขายมีนอ้ ยกว่า 7 − 5 = 2 คน

7. ในการจัดการแข่งขันวิง่ การกุศลประกอบด้วยการวิ่ง 3 ประเภท ตามระยะทาง คือ มินิมาราธอน (10.5 กิโลเมตร)


ฮาล์ฟมาราธอน (21 กิโลเมตร) และมาราธอน (42 กิโลเมตร) โดยมีคา่ สมัคร ดังนี ้
มินิมาราธอน ค่าสมัครคนละ 400 บาท
ฮาล์ฟมาราธอน ค่าสมัครคนละ 600 บาท
มาราธอน ค่าสมัครคนละ 800 บาท
ถ้ามีผเู้ ข้าร่วมการแข่งขันทัง้ หมด 1,500 คน โดยแต่ละคนสามารถสมัครได้เพียงประเภทเดียวเท่านัน้ รายได้จากค่า
สมัครประเภทฮาล์ฟมาราธอน เท่ากับสองเท่าของรายได้จากค่าสมัครมินิมาราธอน และผูจ้ ดั งานได้รายได้จากค่า
สมัครทัง้ หมด 800,000 บาท
ข้อใดเป็ นเมทริกซ์แต่งเติมที่ใช้ในการหาจานวนผูส้ มัครแต่ละประเภท
1 1 1 1,500 1 1 1 1,500
1. [ 800 600 0 | 0 ] 2. [ 400 0 −1,600 | 0 ]
400 600 800 800,000 400 600 800 800,000
1 1 1 1,500 1 1 1 1,500
3. [ 800 −600 0 | 0 ] 4. [ 400 −1,200 0 | 0 ]
800 600 400 800,000 400 600 800 800,000
1 1 1 1,500
5. [ 800 −600 0 | 0 ]
400 600 800 800,000
ตอบ 5
สมมติให้มีคนสมัคร มินิมาราธอน = 𝑥 คน ฮาล์ฟมาราธอน = 𝑦 คน และ มาราธอน = 𝑧 คน
เนื่องจากมีทงั้ หมด 1,500 คน ดังนัน้ 𝑥 + 𝑦 + 𝑧 = 1,500 …(1)
และจากค่าสมัครที่โจทย์กาหนด จะได้รายได้จากมินิมาราธอน = 400𝑥 บาท ฮาล์ฟมาราธอน = 600𝑦 บาท
และ มาราธอน = 800𝑧 บาท
โจทย์กาหนดให้ รายได้คา่ สมัคร ฮาล์ฟมาราธอน = 2 เท่าของมินิมาราธอน
600𝑦 = 2(400𝑥)
0 = 800𝑥 − 600𝑦 สลับข้าง และจัดให้เป็ นรูปของ 𝑥, 𝑦, 𝑧
800𝑥 − 600𝑦 + 0𝑧 = 0 …(2)

และจากรายได้คา่ สมัครทัง้ หมด = 800,000 บาท จะได้ 400𝑥 + 600𝑦 + 800𝑧 = 800,000 …(3)
1 1 1 1,500
จาก (1), (2) และ (3) จะได้เมทริกซ์แต่งเติมคือ [ 800 −600 0 | 0 ]
400 600 800 800,000
24 PAT 1 (มี.ค. 64)

8. ชมรมหมากรุกในโรงเรียนแห่งหนึง่ มีสมาชิกจานวน 9 คน ที่มีความสูง นา้ หนัก และ อายุ ดังตารางต่อไปนี ้


ความสูง นา้ หนัก อายุ
นักเรียน
(เซนติเมตร) (กิโลกรัม) (ปี )
A 182 65 17
B 180 70 16
C 175 64 16
D 171 69 15
E 167 58 16
F 163 54 17
G 160 50 17
H 158 46 16
I 155 48 15

พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) นักเรียนคนทีม่ ีความสูงเท่ากับมัธยฐานของความสูง มีนา้ หนักเท่ากับมัธยฐานของนา้ หนัก
ข) นักเรียนคนทีม่ ีความสูงน้อยกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 20 ของความสูง มีนา้ หนักมากกว่านา้ หนักของ
นักเรียนคนทีม่ ีความสูงเท่ากับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 20 ของความสูง
ค) นักเรียนทุกคนที่มีนา้ หนักมากกว่าควอร์ไทล์ที่ 3 ของนา้ หนัก มีอายุมากกว่า 15 ปี
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 3
ก) มี 9 คน → มัธยฐานจะอยูต่ าแหน่งที่ 𝑁+1 2
9+1
= 2 = 5
จะเห็นว่าความสูงในตาราง เรียงจากมากไปน้อยอยูแ่ ล้ว → ตาแหน่งที่ 5 คือ 167 ของ E
เรียงนา้ หนัก เพื่อหาตาแหน่งที่ 5 → 46 , 48 , 50 , 54 , 58 → ตาแหน่งที่ 5 คือ 58 ของ E เหมือนกัน → ก) ถูก
ข) 𝑃20 อยูต่ าแหน่งที่ 20(𝑁+1)
100
20(9+1)
= 100 = 2 จะได้ 𝑃20 ของความสูง = 158
นักเรียนที่สงู น้อยกว่า 158 คือ I (หนัก 48) , นักเรียนที่สงู เท่ากับ 158 คือ H (หนัก 46)
จะเห็นว่า I หนักมาก H → ข) ถูก
ค) 𝑄3 อยูต่ าแหน่งที่ 3(𝑁+1)
4
3(9+1)
= 4 = 7.5 → คนที่มากกว่านี ้ คือคนที่ 8 กับคนที่ 9 แค่สองคนเท่านัน ้
สองคนที่หนักที่สดุ คือ B (หนัก 70) และ D (หนัก 69) ซึง่ มีอายุ 16 และ 15 ปี ไม่ได้มากกว่า 15 ทุกคน → ค) ผิด
PAT 1 (มี.ค. 64) 25

9. กาหนดพาราโบลามีโฟกัสอยูท่ จี่ ดุ (8, 1) และ 𝑥 = 10 เป็ นเส้นไดเรกตริกซ์


ให้ 𝑃1 และ 𝑃2 เป็ นจุดตัดของพาราโบลากับแกน 𝑌
ถ้า 𝐸 เป็ นวงรีที่ผา่ นจุด (8, 1) และมีโฟกัสอยูท่ ี่จดุ 𝑃1 และ 𝑃2 แล้วความยาวแกนเอกของวงรี 𝐸 เท่ากับเท่าใด
1. 10 2. 12 3. 16 4. 20 5. 22
ตอบ 4
จากโจทย์ จะวาดพาราโบลาได้ดงั รูป
จุดโฟกัส (8, 1) อยุห่ า่ งจากเส้นไดเรคตริกซ์ 𝑥 = 10 อยู่ 10 − 8 = 2 หน่วย
(8,1)
ดังนัน้ จุดศูนย์กลางจะอยูถ่ ดั จากจุด (8, 1) ไปทางขวา 1 หน่วย
(เนื่องจากจุดศูนย์กลาง จะอยูต่ รงกลางระหว่างจุดโฟกัส กับเส้นไดเรคตริกซ์)
𝑥 = 10
จะได้จดุ ศูนย์กลางพาราโบลาคือ (ℎ, 𝑘) = (9, 1) และระยะโฟกัส 𝑐 = 1
แทนในสมการพาราโบลาตะแคงซ้าย (𝑦 − 𝑘)2 = −4𝑐(𝑥 − ℎ) จะได้ (𝑦 − 1)2 = −4(1)(𝑥 − 9)
หา 𝑃1 และ 𝑃2 จากจุดที่พาราโบลาตัดกับแกน 𝑌 → แทน 𝑥 = 0 (𝑦 − 1)2 = −4(1)(0 − 9)
(𝑦 − 1)2 = 36
𝑦−1 = +6 , −6
𝑦 = +7 , −5
จะได้ 𝑃1 และ 𝑃2 คือ (0, 7) และ (0, −5)
จุดศูนย์กลางวงรี จะอยูต่ รงกลางจุดโฟกัส 𝑃1 และ 𝑃2 → จะได้จดุ ศูนย์กลางวงรี = (0, 7+(−5)
2
) = (0, 1)
วาดจุดศูนย์กลาง , 𝑃1 , 𝑃2 และจุดผ่าน (8, 1) จะได้วงรีดงั รูป
จะเห็นว่า จุดผ่าน (8, 1) บังเอิญอยูแ่ นวเดียวกับจุดศูนย์กลางพอดี 7
8
ดังนัน้ จะได้ความยาวแกนโท 𝑏 = 8 1 (8, 1)

จากรูป จะได้ระยะโฟกัส 𝑐 = 7 − 1 = 6
−5
ดังนัน้ 𝑎 = √𝑏2 + 𝑐 2 = √82 + 62 = √100 = 10
จะได้ความยาวแกนเอก = 2𝑎 = 2(10) = 20

10. เทศบาลแห่งหนึง่ ออกแบบสะพานข้ามแม่นา้ ให้มีราวเหล็กโค้งเป็ นรูปพาราโบลา เชื่อมต่อระหว่างเสาของสะพาน


สองต้น ดังรูป
เสาของสะพาน เสาของสะพาน

12 เมตร 12 เมตร
6 เมตร
พืน้ ของสะพาน
50 เมตร
200 เมตร

ระยะห่างที่นอ้ ยที่สดุ ของราวเหล็กกับพืน้ ของสะพานเท่ากับกี่เมตร


1. 1.5 2. 2 3. 2.4 4. 3 5. 4
ตอบ 5

(−100, 12)
𝑌
(100, 12) วางแกน 𝑋 𝑌 ตรงกลางพืน้ สะพาน จะได้พิกดั ต่างๆ ดังรูป
เนื่องจากจุดยอดอยูบ่ นแกน 𝑌 จะมีพิกดั 𝑥 เป็ น 0 เสมอ
(50, 6)
(ℎ, 𝑘)
𝑋
ดังนัน้ จะได้ ℎ = 0
26 PAT 1 (มี.ค. 64)

ราวเหล็กเป็ นพาราโบลาหงาย จะมีรูปสมการคือ (𝑥 − ℎ)2 = 4𝑐(𝑦 − 𝑘) ℎ=0


𝑥2 = 4𝑐(𝑦 − 𝑘)
กราฟผ่าน (50, 6) → แทนในสมการจะได้ 502 = 4𝑐(6 − 𝑘) …(1)
กราฟผ่าน (100, 12) → แทนในสมการจะได้ 1002 = 4𝑐(12 − 𝑘) …(2)
1002 4𝑐(12−𝑘)
(2) ÷ (1) : 502
= 4𝑐(6−𝑘)
12−𝑘
4 = 6−𝑘
24 − 4𝑘 = 12 − 𝑘
12 = 3𝑘
4 = 𝑘
จะได้ระยะที่ราวเหล็กอยูใ่ กล้พนื ้ สะพานมากที่สดุ = 𝑘 = 4

11. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) นิเสธของข้อความ “สาหรับจานวนจริง 𝑥 ทุกจานวน ถ้า 𝑥 เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซา้ แล้ว 𝑥 เป็ น
จานวนอตรรกยะ” คือ “มีจานวนจริง 𝑥 ที่ 𝑥 เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซา้ และ 𝑥 เป็ นจานวนอตรรกยะ”
ข) กาหนดให้ 𝑝 , 𝑞 และ 𝑟 เป็ นประพจน์ [(~𝑞 → ~𝑟) ∧ (~𝑟 → 𝑞)] → (𝑝 ∨ 𝑞) เป็ นสัจนิรนั ดร์
ค) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจานวนจริง ∀𝑥[√𝑥 2 ≥ 𝑥] → ∃𝑥[√𝑥 2 ≤ 𝑥] มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 4
ก) นิเสธของ “สาหรับจานวนจริง 𝑥 ทุกจานวน ถ้า 𝑥 เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซา้ แล้ว 𝑥 เป็ นจานวนอตรรกยะ”
~ ∀𝑥 ∈ ℝ [ 𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥) ]
~ ∀𝑥 ∈ ℝ [ ~𝑃(𝑥) ∨ 𝑄(𝑥) ]
∃𝑥 ∈ ℝ [ 𝑃(𝑥) ∧ ~𝑄(𝑥) ]
มีจานวนจริง 𝑥 ที่ 𝑥 เขียนได้ในรู ปทศนิยมไม่ซา้ และ 𝑥 ไม่เป็ นจานวนอตรรกยะ → ก) ผิด
ข) สมมติให้ [(~𝑞 → ~𝑟) ∧ (~𝑟 → 𝑞)] → (𝑝 ∨ 𝑞) เป็ นเท็จ แล้วแกะรอยย้อนหา 𝑝, 𝑞, 𝑟
F
T → F
T ∧ T F∨F
~F → ~𝑟 ~𝑟 → F 𝑞 ต้องเป็ น F
T → ~𝑟 F
T
ขัดแย้ง แปลว่าเป็ นเท็จไม่ได้ จึงเป็ นสัจนิรนั ดร์ → ข) ถูก
ค) จากสมบัติของรากที่สอง จะได้ √𝑥 2 = |𝑥| ซึง่ จะ ≥ 𝑥 เสมอ ดังนัน้ ∀𝑥[√𝑥 2 ≥ 𝑥] เป็ นจริง
และถ้าแทน 𝑥 = 0 จะได้ √𝑥 2 ≤ 𝑥 เป็ นจริง ดังนัน้ ∃𝑥[√𝑥 2 ≤ 𝑥] เป็ นจริง
√02 ≤ 0
ดังนัน้ ∀𝑥[√𝑥 2 ≥ 𝑥] → ∃𝑥[√𝑥 2 ≤ 𝑥] ≡ T → T ≡ T ค) ถูก
PAT 1 (มี.ค. 64) 27

12. กาหนดให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง


𝑝 แทนประพจน์ที่มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
และ 𝑞 แทนประพจน์ “ผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดในเรนจ์ของความสัมพันธ์
{ (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑥 2 + (𝑦 2 − 9)2 = 0 } เท่ากับ 3”
ประพจน์ในข้อใดมีคา่ ความจริงเป็ นเท็จ
1. (𝑝 ↔ 𝑞) ∨ ~(𝑝 ∧ 𝑞) 2. (𝑞 ↔ ~𝑝) ∧ (𝑞 → 𝑝) 3. (𝑝 → 𝑞) ↔ (𝑞 ∨ 𝑞)
4. (𝑝 → 𝑞) → (𝑞 → ~𝑝) 5. (𝑞 → ~𝑝) → (𝑝 → 𝑞)
ตอบ 5
หา 𝑞 : เนื่องจากผลยกกาลังสอง จะไม่มที างติดลบ
ดังนัน้ ถ้า 𝑥 2 + (𝑦 2 − 9)2 = 0 แสดงว่าทัง้ 𝑥2 และ (𝑦 2 − 9)2 ต้องเป็ น 0 ทัง้ คู่
เรนจ์ คือหาค่า 𝑦 : (𝑦 2 − 9)2 = 0
𝑦2 = 9
𝑦 = 3 , −3
จะได้เรนจ์ = { 3, −3 } ซึง่ มีผลบวกสมาชิก = 3 + (−3) = 0 ดังนัน้ 𝑞 เป็ นเท็จ
1. (𝑝 ↔ 𝑞) ∨ ~(𝑝 ∧ 𝑞) 2. (𝑞 ↔ ~𝑝) ∧ (𝑞 → 𝑝) 3. (𝑝 → 𝑞) ↔ (𝑞 ∨ 𝑞)
(T ↔ F) ∨ ~(T ∧ F) (F ↔ ~T) ∧ (F → T) (T → F) ↔ (F ∨ F)
F ∨ ~ F T ∧ T F ↔ F
T T T
4. (𝑝 → 𝑞) → (𝑞 → ~𝑝) 5. (𝑞 → ~𝑝) → (𝑝 → 𝑞)
(T → F) → (F → ~T) (F → ~T) → (T → F)
F → T → F
T F

13. บัตรสีแดงจานวน 5 ใบ ได้แก่ บัตรหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5


และบัตรสีนา้ เงินจานวน 7 ใบ ได้แก่ บัตรหมายเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7
เอมสุม่ เลือกบัตรสองใบจากบัตรสีแดงหนึง่ ใบและบัตรสีนา้ เงินหนึง่ ใบ เพื่อนามาสร้างเป็ นจานวนทีม่ ีสองหลัก
ความน่าจะเป็ นทีเ่ อมจะได้จานวนที่มีสองหลักเป็ นจานวนคูเ่ ท่ากับเท่าใด
1. 37 2. 70 29
3. 25 4. 35 6
5. 703

ตอบ 2
จานวนแบบทัง้ หมด : เลือกบัตรสีแดง ได้ 5 แบบ เลือกบัตรสีนา้ เงินได้ 7 แบบ
และเรียงบัตรทีเ่ ลือกมาทัง้ 2 ใบ เป็ นหลักสิบกับหลักหน่วย ได้ 2! แบบ
จะได้จานวนแบบทัง้ หมด = 5 × 7 × 2! = 70 แบบ
จานวนแบบที่เป็ นเลขคู่ : เป็ นจานวนคูเ่ มื่อหลักหน่วยเป็ นคู่ หลักสิบเป็ นอะไรก็ได้ → จะแบ่งกรณีตามสีของหลักหน่วย
กรณีหลักหน่วยเป็ นบัตรสีนา้ เงิน → หลักหน่วยเป็ น 2, 4, 6 ได้ 3 แบบ หลักสิบเป็ นสีแดงอะไรก็ได้ ได้ 5 แบบ
จะได้จานวนแบบ = 3 × 5 = 15 แบบ
กรณีหลักหน่วยเป็ นบัตรสีเดง → หลักหน่วยเป็ น 2, 4 ได้ 2 แบบ หลักสิบเป็ นสีนา้ เงินอะไรก็ได้ ได้ 7 แบบ
จะได้จานวนแบบ = 2 × 7 = 14 แบบ
29
จะได้จานวนแบบที่เป็ นเลขคู่ = 15 + 14 = 29 แบบ → จะได้ความน่าจะเป็ น = 70
28 PAT 1 (มี.ค. 64)

14. กาหนดรูปสิบเหลีย่ มด้านเท่าแนบในวงกลม ถ้าสร้างส่วนของเส้นตรงเชื่อมระหว่างจุดยอด 2 จุดใดๆ ของ


รูปสิบเหลีย่ มนี ้ แล้วจานวนของส่วนของเส้นตรงที่ไม่เป็ นด้านของรูปสิบเหลีย่ มและไม่ผา่ นจุดศูนย์กลางของวงกลม
มีทงั้ หมดกี่เส้น
1. 30 2. 35 3. 40 4. 75 5. 80
ตอบ 1
จุดยอดของสิบเหลีย่ มด้านเท่าแนบในวงกลม จะไม่มีจดุ ยอด 3 จุดไหนอยูบ่ นแนวเส้นตรงเดียวกันเลย
มีจดุ ยอด 10 จุด ถ้าเลือกมา 2 จุดเพื่อลากส่วนของเส้นตรงเชื่อม
10×9
จะสร้างได้ (10
2
) = 2! = 45 เส้น
สิบเหลีย่ ม มีดา้ น 10 ด้าน ดังนัน้ ใน 45 เส้นนี ้ จะเป็ นด้านของสิบเหลีย่ ม 10 เส้น
สิบเหลีย่ ม มีจดุ 10 จุด เป็ นเลขคู่ ดังนัน้ แต่ละจุด จะมีคจู่ ดุ ที่อยูต่ รงข้าม ในแนวเส้นตรง
ที่ผา่ นจุดศูนย์กลาง รวมทัง้ หมด 5 คู่
ดังนัน้ ใน 45 เส้นนี ้ จะเป็ นเส้นทีผ่ า่ นจุดศูนย์กลางวงกลม 5 เส้น
จะเหลือเส้นที่ไม่ใช่ดา้ นสิบเหลีย่ ม และไม่ผา่ นจุดศูนย์กลางวงกลม = 45 − 10 − 5 = 30 เส้น

15. ร้านเบเกอรีแห่งหนึง่ ขายคุกกีบ้ รรจุเป็ นกล่องขนาดเดียวกัน พบว่า กาไรต่อกล่องเป็ นฟั งก์ชนั พหุนามกาลังสองของ
จานวนกล่องที่ขายได้ตอ่ วัน โดยที่
 ในวันที่รา้ นขายคุกกีไ้ ด้ 20 กล่อง ร้านจะได้กาไร 20 บาทต่อกล่อง
 ในวันที่รา้ นขายคุกกีไ้ ด้ 10 กล่อง ร้านจะมีรายได้จากการขายคุกกีเ้ ท่ากับต้นทุน
 ในวันที่รา้ นขายคุกกีไ้ ม่ได้เลย ร้านจะขาดทุน 40 บาทต่อกล่อง
ร้านเบเกอรีจะขายคุกกีไ้ ด้วนั ละกี่กล่อง จึงจะมีกาไรต่อกล่องมากที่สดุ
1. 15 2. 20 3. 25 4. 30 5. 35
ตอบ 3
ฟั งก์ชนั พหุนามกาลังสอง จะอยูใ่ นรูป 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐
20 กล่อง กาไร 20 บาท/กล่อง 10 กล่อง เท่าทุน ขายไม่ได้ ขาดทุน 40 บาท/กล่อง
2)
20 = 𝑎(20 + 𝑏(20) + 𝑐 (คือ กาไร 0 บาท/กล่อง) (คือ 0 กล่อง กาไร −40 บาท/กล่อง
20 = 400𝑎 + 20𝑏 + 𝑐 …(1)
0 = 𝑎(102 ) + 𝑏(10) + 𝑐 −40 = 𝑎(02 ) + 𝑏(0) + 𝑐
0 = 100𝑎 + 10𝑏 + 𝑐 …(2) −40 = 𝑐
แทนใน (1) และ (2)
20 = 400𝑎 + 20𝑏 − 40 0 = 100𝑎 + 10𝑏 − 40
60 = 400𝑎 + 20𝑏 40 = 100𝑎 + 10𝑏
3 = 20𝑎 + 𝑏 …(3) 4 = 10𝑎 + 𝑏 …(4)
(3) – (4) : −1 = 10𝑎
1 1
− 10 = 𝑎 → แทนใน (4) : 4 = 10(− 10) + 𝑏
5 = 𝑏
𝑏 5
𝑎 ติดลบ → 𝑓 จะมีคา่ สูงสุด เมื่อ 𝑥 = − 2𝑎 = − 1 = 25
2(− )
10
PAT 1 (มี.ค. 64) 29

16. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 12 cos (𝜋𝑥 2


) และ 𝑔(𝑥) = 2 sin(2𝑥) พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
𝑔
ก) ฟั งก์ชนั 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนช่วง [0 , 2]
ข) แอมพลิจดู ของฟั งก์ชนั 𝑔 เป็ น 4 เท่าของแอมพลิจดู ของฟั งก์ชนั 𝑓
ค) คาบของฟังก์ชนั 𝑓 เป็ น 2 เท่าของคาบของฟังก์ชนั 𝑔
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 2
ก) 𝑔𝑓 จะหาค่าไม่ได้เมื่อ 𝑓(𝑥) = 0
1 𝜋𝑥
2
cos ( 2 ) = 0
𝜋𝑥
cos ( 2 ) = 0
𝜋𝑥 𝜋 3𝜋
2
= ±2 , ± 2 , …
𝑥 = ±1 , ±3 , …

จะเห็นว่า 𝑔𝑓 หาค่าไม่ได้ที่ 𝑥 = 1 ดังนัน้ 𝑔𝑓 จะไม่ตอ่ เนื่องบนช่วง [0, 2] → ก) ผิด


ข) แอมพลิจดู 𝑔 เป็ น 4 เท่าของแอมพลิจดู 𝑓 𝑦 = 𝐴 sin(𝐵𝑥 + 𝐶)
2 = 4(
1
)  → ข) ถูก 𝑦 = 𝐴 cos(𝐵𝑥 + 𝐶) แอมพลิจดู = |𝐴|
2
ค) คาบ 𝑓 เป็ น 2 เท่าของคาบ 𝑔
2𝜋 2𝜋 𝑦 = 𝐴 sin(𝐵𝑥 + 𝐶) 2𝜋
𝜋 = 2( ) คาบ = |𝐵|
2 𝑦 = 𝐴 cos(𝐵𝑥 + 𝐶)
2
4 = 2( 𝜋 )  → ค) ผิด

17. เครือ่ งเล่นชิน้ หนึง่ ประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก 2 ส่วน คือ กระดานลืน่ และตาข่าย สาหรับปี นป่ าย
โดยกระดานลืน่ (𝐴𝐵 ̅̅̅̅) ยาว 1.5 เมตร และทามุม 15 องศา กับพืน้ ราบ ดังรู ป
𝐶

𝐵 𝐷
1.5 เมตร
𝐴 15°
พืน้ ราบ

เมื่อขึงลวดจากจุด 𝐶 ไปยังจุด 𝐴 จะได้แนวของเส้นลวดทามุม 45 องศา กับด้าน 𝐶𝐷


และขึงลวดจากจุด 𝐶 ไปยังจุด 𝐵 จะได้แนวของเส้นลวดทามุม 15 องศา กับด้าน 𝐶𝐷
จุดสูงสุดของเครือ่ งเล่น (จุด 𝐶) อยูส่ งู จากพืน้ ราบกี่เมตร
(กาหนดให้ จุด 𝐴 จุด 𝐵 จุด 𝐶 และจุด 𝐷 อยูใ่ นระนาบเดียวกัน)
√6 3√2 3√6 3√3 3√6
1. 4
2. 4
3. 2
4. 2
5. 4
30 PAT 1 (มี.ค. 64)

ตอบ 5
𝐶
ลาก 𝐶𝐴
̅̅̅̅ ดังรู ป → ใน ∆𝐴𝐶𝐸 จะเหลือ 𝐶𝐴̂𝐸 = 180° − 45° − 90° = 45°
45°
จะได้ 𝐶𝐴̂𝐵 = 45° − 15° = 30°
15°
แต่จะเห็นว่า 𝐴𝐶̂ 𝐵 = 45° − 15° = 30° = 𝐶𝐴̂𝐵 𝑦

ดังนัน้ ∆𝐴𝐵𝐶 เป็ น ∆ หน้าจั่ว โดย 𝐵𝐴 = 𝐵𝐶 = 1.5 𝐵 𝐷


𝑥
ใน ∆𝐴𝐵𝐹 : 1.5 = sin 15° ใน ∆𝐵𝐶𝐷 : 𝐵𝐶
𝑦
= cos 15°
1.5
𝑥 𝑥
15°
𝑥 = 1.5 sin 15° 𝑦 = 1.5 cos 15° 𝐴 𝐹 𝐸

จะได้ 𝐶𝐸 = 𝑥 + 𝑦 = 1.5 sin 15° + 1.5 cos 15°


= 1.5(cos 75° + cos 15°)
75°+15° 75°−15°
= 1.5 (2 cos 2
cos 2 )
√2 √3 3√6
= 1.5 (2 2 2
) = 4

18. วันที่ 1 มีนาคม 2564 อลินซือ้ ห้องในคอนโดมิเนียมแห่งหนึง่ ราคา 600,000 บาท โดยจ่ายเงินดาวน์จานวนหนึง่
และผ่อนชาระค่าห้องส่วนทีเ่ หลือเป็ นจานวนเงินเดือนละ 10,000 บาท เป็ นเวลา 48 เดือน โดยผ่อนชาระทุกสิน้
เดือน ถ้าผูข้ ายกาหนดอัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 12 ต่อปี โดยคิดดอกเบีย้ แบบทบต้นทุกเดือน แล้วอลินจ่ายเงินดาวน์
จานวนกี่บาท
10,000(1 − (1.01)−48 ) 10,000((1.01)−1 − (1.01)−49 )
1. 1 − (1.01)−1
2. 1 − (1.01)−1
10,000(1 − (1.01)−48 ) 10,000((1.01)−1 − (1.01)−49 )
3. 600,000 − 1 − (1.01)−1
4. 600,000 − 1 − (1.01)−1
10,000((1.12)−1 − (1.12)−49 )
5. 600,000 − 1 − (1.12)−1
ตอบ 4
จะแปลงเงินผ่อนแต่ละงวดทีจ่ ะเกิดในอนาคต ให้ยอ้ นมูลค่ากลับไปเป็ นมูลค่า ณ วันซือ้ เพื่อหาเงินตาวน์
ทบต้นทุกเดือน = ปี ละ 12 ครัง้ จะได้ดอกเบีย้ ต่องวด = 12%
12
= 1% → 𝑟 = 0.01 ดังนัน ้ 1 + 𝑟 = 1.01
เริม่ ซือ้ สิน้ เดือน 1 สิน้ เดือน 2 … สิน้ เดือน 48
10,000 10,000 … 10,000
10,000(1.01) −1 1 เดือน ⋮
10,000(1.01)−2 2 เดือน

10,000(1.01)−48 48 เดือน

รวมมูลค่าเงินผ่อน ณ วันซือ้ = 10,000(1.01)−1 + 10,000(1.01)−2 + … + 10,000(1.01)−48


เป็ นอนุกรมเรขาคณิต ซึง่ มี 𝑎1 = 10,000(1.01)−1 , 𝑟 = (1.01)−1 , และ 𝑎𝑛 = 10,000(1.01)−48
𝑎1 − 𝑎𝑛 𝑟 10,000(1.01)−1 − 10,000(1.01)−48 (1.01)−1
ใช้สตู รอนุกรมเรขาคณิต 1−𝑟
จะได้มลู ค่ารวมของเงินผ่อนคือ 1 − (1.01)−1
10,000((1.01)−1 − (1.01)−49 )
=
1 − (1.01)−1
จาก ค่าคอนโด = เงินดาวน์ + เงินผ่อน → จะได้เงินดาวน์ = ค่าคอนโด − เงินผ่อน
10,000((1.01)−1 − (1.01)−49 )
= 600,000 − 1 − (1.01)−1
PAT 1 (มี.ค. 64) 31

19. ร้านแห่งหนึง่ ขายไอศกรีมแท่ง 2 รส คือ รสกะทิและรสส้ม โดยกาไรจากการขายไอศกรีมรสส้มแต่ละแท่งมากกว่ากาไร


จากการขายไอศกรีมรสกะทิแต่ละแท่งอยู่ 1 บาท ถ้าในวันที่ 14 มีนาคม 2564 ร้านนีข้ ายไอศกรีมทัง้ สองรสรวมกัน
ได้ 26 แท่ง และได้กาไรจากการขายไอศกรีมทัง้ หมด 120 บาท โดยกาไรจากการขายไอศกรีมรสส้มเป็ น 2 เท่าของ
กาไรจากการขายไอศกรีมรสกะทิ แล้วในวันดังกล่าว ร้านนีข้ ายไอศกรีมรสกะทิได้จานวนกี่แท่ง
1. 5 2. 8 3. 10 4. 13 5. 16
ตอบ 3
สมมติให้ขายกะทิได้กาไรทัง้ หมด 𝑥 บาท
โจทย์ให้กาไรจากรสส้มเป็ น 2 เท่าของกาไรจากกะทิ → จะได้กาไรของรสส้ม = 2𝑥 บาท
โจทย์ให้กาไรรวม 120 บาท → 𝑥 + 2𝑥 = 120
3𝑥 = 120
𝑥 = 40
ดังนัน้ กาไรทัง้ หมดจากกะทิ = 40 บาท และกาไรทัง้ หมดจากรสส้ม = 2(40) = 80 บาท
สมมติให้ขายกะทิได้ 𝑦 แท่ง …(1)
แต่กาไรทัง้ หมดจากกะทิ = 40 บาท แสดงว่ากะทิได้กาไรแท่งละ 40 𝑦
บาท
โจทย์ให้กาไรจากรสส้ม มากกว่ากะทิ แท่งละ 1 บาท แสดงว่ารสส้มกาไรแท่งละ 40 𝑦
+ 1 บาท
80 80𝑦
แต่กาไรทัง้ หมดจากรสส้มคือ 80 บาท ดังนัน้ ขายรสส้มได้ 40 + 1 = 40+𝑦 แท่ง …(2)
𝑦

โจทย์บอกว่าขายไอศกรีมได้ทงั้ หมด 26 แท่ง → จาก (1) และ (2) จะได้ 𝑦 +


80𝑦
40+𝑦
= 26
40𝑦 + 𝑦 2 + 80𝑦 = 1040 + 26𝑦
𝑦 2 + 94𝑦 − 1040 = 0
(𝑦 − 10)(𝑦 + 104) = 0
𝑦 = 10 , −104 จานวนแท่ง เป็ นลบไม่ได้

20. สถาบันแห่งหนึง่ ทาการศึกษาการขยายพันธุข์ องแบคทีเรีย 2 ชนิด คือ แบคทีเรีย A และแบคทีเรีย B โดย


 ทาการตรวจนับจานวนแบคทีเรีย A ทุกวัน เวลา 12.00 น. พบว่าจานวนแบคทีเรียจะเพิม ่ ขึน้ เป็ น 2 เท่า
ของจานวนแบคทีเรียที่ตรวจนับในครัง้ ก่อนหน้า
 ทาการตรวจนับจานวนแบคทีเรีย B ทุกๆ 2 วัน เวลา 12.00 น. พบว่าจานวนแบคทีเรียจะเพิม ่ ขึน้
เป็ น 5 เท่าของจานวนแบคทีเรียที่ตรวจนับในครัง้ ก่อนหน้า
ถ้าเริม่ ตรวจนับจานวนแบคทีเรีย A ครัง้ แรกในวันที่ 1 พฤษภาคม 2563 พบแบคทีเรีย A จานวน 1,000 เซลล์ และ
เริม่ ตรวจนับจานวนแบคทีเรีย B ครัง้ แรกในวันที่ 5 พฤษภาคม 2563 พบแบคทีเรีย B จานวน 1,000 เซลล์
แล้วจานวนแบคทีเรีย B มากกว่าจานวนแบคทีเรีย A ครัง้ แรกที่มกี ารตรวจนับในวันใด (กาหนดให้ log 2 ≈ 0.3)
1. วันที่ 9 พฤษภาคม 2563 2. วันที่ 29 พฤษภาคม 2563
3. วันที่ 31 พฤษภาคม 2563 4. วันที่ 2 มิถนุ ายน 2563
5. วันที่ 6 มิถนุ ายน 2563
ตอบ 3
วัน 1 พ.ค. 2 พ.ค. 3 พ.ค. 4 พ.ค. 5 พ.ค. 6 พ.ค. 7 พ.ค. 8 พ.ค. 9 พ.ค. …
A 1,000 2,000 4,000 8,000 16,000 32,000 64,000 128,000 256,000 ...
B 1,000 5,000 25,000 …

เทียบกันได้เฉพาะวันทีม่ ีการตรวจนับแบคทีเรียทัง้ 2 ชนิด (คือ วันที่ 5 พ.ค. , 7 พ.ค. , 9 พ.ค., …)


32 PAT 1 (มี.ค. 64)

ดังนัน้ จะสนใจนับเฉพาะจานวนแบคทีเรียในวันที่ 5 พ.ค. , 7 พ.ค. , 9 พ.ค., … ดังรูป


𝑛 1 2 3 …
วัน 5 พ.ค. 7 พ.ค. 9 พ.ค. … 𝑎𝑛 = 𝑎1 𝑟 𝑛−1
A 16,000 64,000 256,000 ...
B 1,000 5,000 25,000 …

A เป็ นลาดับเราขาคณิตที่มี 𝑎1 = 16,000 และ 𝑟=4 → จะได้จานวน 𝐴 คือ 16,000(4𝑛−1 )


B เป็ นลาดับเราขาคณิตที่มี 𝑎1 = 1,000 และ 𝑟=5 → จะได้จานวน 𝐵 คือ 1,000(5𝑛−1 )
ดังนัน้ B จะมากกว่า A เมื่อ
1,000(5𝑛−1 ) > 16,000(4𝑛−1 ) 8
1,000 4𝑛−1
−4 log 2 > (𝑛 − 1) log
10
> 3
16,000 5𝑛−1 −4 log 2 > (𝑛 − 1)(log 2 − log 10)
1 4 𝑛−1 −4 log 2 > (𝑛 − 1)(3 log 2 − log 10)
16
> (5) โจทย์ให้ log 2 ≈ 0.3
−4(0.3) > (𝑛 − 1)(3(0.3) − 1 )
1 4 𝑛−1
log 16 > log (5) −1.2 > (𝑛 − 1)( −0.1 ) ย้าย −0.1 ไปหาร
8 𝑛−1 12 < 𝑛−1 ต้องกลับเครือ่ งหมาย >
log 2−4 > log ( ) 13 < 𝑛
10

ดังนัน้ B จะมากกว่า A เป็ นครัง้ แรก เมื่อ 𝑛 = 14


𝑛 1 2 3 …
วัน 5 พ.ค. 7 พ.ค. 9 พ.ค. …
𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑

จะเห็นว่าวันเป็ นลาดับเลขคณิตที่มี 𝑎1 = 5 และ 𝑑 = 2


ใช้สตู รลาดับเลขคณิต เมื่อ 𝑛 = 14 จะได้ วัน = 5 + (14 − 1)(2) = 31

21. กาหนดให้รูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มีมมุ 𝐵 เป็ นมุมฉาก และ ̅̅̅̅


𝐵𝐷 ตัง้ ฉากกับ ̅̅̅̅
𝐴𝐶 ดังรูป
𝐴
𝐷

𝐶
𝐵

ถ้า 𝐴𝐶
̅̅̅̅ มีความยาวเป็ น 𝑛 เท่าของความยาวของ 𝐵𝐷
̅̅̅̅ เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มบวก
แล้ว 𝑛 cos(𝐴 − 𝐶) เท่ากับเท่าใด
1. 4 2. 2 3. 1 4. 0 5. −2
ตอบ 2

𝑛ℎ
𝐴 สมมติความยาวด้านดังรูป (โจทย์ให้ ̅̅̅̅
𝐴𝐶 ยาว 𝑛 เท่าของ ̅̅̅̅
𝐵𝐷)
𝐷
จะเห็นว่าหา sin 𝐶 ได้จาก ∆ สองรูป
ℎ 𝑐
ℎ 𝑐
∆𝐶𝐵𝐷 จะได้ sin 𝐶 = 𝑎 ∆𝐶𝐵𝐴 จะได้ sin 𝐶 = 𝑛ℎ
𝐶 𝑎 𝐵 ℎ 𝑐
=
𝑎 𝑛ℎ
𝑛ℎ2 = 𝑎𝑐 …(∗)
PAT 1 (มี.ค. 64) 33

𝑛 cos(𝐴 − 𝐶) = 𝑛(cos 𝐴 cos 𝐶 + sin 𝐴 sin 𝐶)


𝑐 𝑎 𝑎 𝑐
= 𝑛 ( 𝑛ℎ 𝑛ℎ + 𝑛ℎ 𝑛ℎ )
2𝑎𝑐
= 𝑛( )
𝑛2 ℎ 2 จาก (∗)
2𝑛ℎ 2
= 𝑛( 𝑛2 ℎ2
) = 2

22. ตึกหนึง่ และตึกสองตัง้ อยูบ่ นพืน้ ราบในแนวเส้นตรงเดียวกัน โดยตึกสองสูงกว่าตึกหนึง่ และมีแนวรัว้ กัน้ ระหว่าง
ตึกทัง้ สอง ซึง่ ระยะห่างจากแนวรัว้ ถึงตึกสองเท่ากับ 12 เมตร ชาลียืนอยูบ่ นดาดฟ้าของตึกหนึง่ (จุด 𝑃) มองเห็นยอด
ตึกสอง (จุด 𝑄) เป็ นมุมเงย 45 องศา มองเห็นฐานตึกสอง (จุด 𝑅) เป็ นมุมก้ม 30 องศา และมองเห็นฐานของ
แนวรัว้ (จุด 𝑆) เป็ นมุมก้ม 60 องศา ดังรูป
𝑄

ตึกสอง
45°
แนวเส้นระดับสายตา
60° 30°
𝑃
ตึกหนึ่ง
𝑆
พืน้ ราบ
12 เมตร 𝑅

ถ้าชาลีสงู 180 เซนติเมตร และจุด 𝑃 จุด 𝑄 จุด 𝑅 และจุด 𝑆 อยูใ่ นระนาบเดียวกัน


แล้วตึกสองสูงกว่าตึกหนึง่ ประมาณกี่เมตร
1. 18 2. 19.8 3. 13.8 + 6√3
4. 25.8 5. 13.8 + 8√3
ตอบ 2

𝑄 กาหนดจุดและความยาวดังรูป
(จากสมบัตมิ มุ แย้ง จะได้มมุ ที่พนื ้ ราบเป็ น 60° และ 30° ตามลาดับ)
ℎ ℎ
จาก ∆𝐴𝐵𝑆 : tan 60° = 𝐵𝑆 จาก ∆𝐴𝐵𝑅 : tan 30° = 𝐵𝑅
ℎ 1 ℎ
√3 = 𝐵𝑆
=
√3 𝐵𝑅

𝐴 45° 𝐵𝑆 = 𝐵𝑅 = √3ℎ …(∗)
𝐶 √3
60° 30° 𝑆𝑅 = 𝐵𝑅 − 𝐵𝑆
𝑃
ℎ ℎ ℎ
12 = √3ℎ − 3

60° 𝑆 30° 3ℎ − ℎ
𝐵 𝑅 12 =
12 เมตร √3
6√3 = ℎ
พิจารณา ∆𝐴𝑄𝐶 จะเหลือ 𝑄̂ = 180° − 90° − 45° = 45° = 𝑄𝐴̂𝐶 ดังนัน
้ ∆𝐴𝑄𝐶 เป็ น ∆ หน้าจั่ว
จะได้ 𝑄𝐶 = 𝐴𝐶 = 𝐵𝑅 = √3ℎ (จาก (∗))
= √3(6√3) = 18
ดังนัน้ ตึกสอง สูงกว่าตึกหนึง่ = 𝑄𝐶 + ความสูง (เมตร) ของชาลี 𝐴𝑃
180
= 18 + 100
= 19.8
34 PAT 1 (มี.ค. 64)

23. ถ้า 𝑧1 = cos (𝜋5) + 𝑖 sin (𝜋5) เป็ นรากที่สบิ ของจานวนเชิงซ้อนจานวนหนึง่


ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ใช่รากที่สบิ ของจานวนเชิงซ้อนจานวนนี ้
1. cos (4𝜋5
4𝜋
) + 𝑖 sin ( 5 ) 2. cos (𝜋2) + 𝑖 sin (𝜋2) 3. cos(𝜋) + 𝑖 sin(𝜋)
7𝜋 7𝜋
4. cos(0) + 𝑖 sin(0) 5. cos ( 5 ) + 𝑖 sin ( 5 )
ตอบ 2
จากขัน้ ตอนการหารากที่ 𝑛 ของจานวนเชิงซ้อน รากที่ 10 ตัวอื่นๆ หาได้จากการเพิ่มมุมของ 𝑧1 (คือ 𝜋5 ) ไปทีละ 2𝜋
10
𝜋
=5
จะได้มมุ ของรากตัวถัดๆ ไป คือ 2𝜋 5
3𝜋 4𝜋
, 5 , 5 ,…
ดังนัน้ ข้อที่ไม่สามารถเขียนมุมในรูป 𝑛𝜋
5
ได้ จะไม่ใช่รากที่ 10 ของจานวนเชิงซ้อนนี ้
4𝜋 𝜋 ?𝜋
1. 5  2. 2 ≠ 5 3. 𝜋 = 5𝜋 5
 4. 0 = 0𝜋 5
 5. 7𝜋5

24. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนช่วงเปิ ด (0 , 6) และกราฟของ 𝑓 ′ เป็ นดังรูป


𝑓 ′ (𝑥)
2

𝑥
0 1 2 3 4 5 6
−1

−2

ข้อใดไม่ถกู ต้อง
1. 𝑓 มีจดุ วิกฤตที่ 𝑥 = 1
2. 𝑓 มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1 และ 𝑥 = 4
3. 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่าสุดสัมบูรณ์บนช่วง [2 , 5]
4. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มบนช่วง (1 , 3)
5. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ค่าคงตัวบนช่วง (0 , 1)
ตอบ 5
ข้อนีต้ อ้ งระวังให้ดี เพราะกราฟทีโ่ จทย์ให้ เป็ นกราฟของ 𝑦 = 𝑓 ′ (𝑥) ไม่ใช่ 𝑦 = 𝑓(𝑥) การใช้งานจะไม่เหมือนกัน
1. จุดวิกฤติ คือจุดที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 0 หรือ 𝑓 ′ (𝑥) หาค่าไม่ได้
จะเห็นว่าที่ 𝑥 = 1 กราฟ 𝑓 ′(𝑥) ไม่มีจดุ (วงกลมกลวงๆ คือไม่มีจดุ ) ดังนัน้ 𝑓 ′ (𝑥) หาค่าไม่ได้ → 1. ถูก
2. ค่าต่าสุดสัมพัทธ์ เกิดเมื่อ 𝑓 ′ (𝑥) เปลีย่ นจากลบ (กราฟอยูค่ รึง่ ล่างแกน 𝑋) เป็ นบวก (กราฟอยูค่ รึง่ บนแกน 𝑋)
จะเห็นว่าที่ 𝑥 = 1 กับ 𝑥 = 4 กราฟเปลีย่ นจากข้างลางขึน้ ข้างบน → 2. ถูก
3. โจทย์ให้กราฟต่อเนื่องบน (0, 6) แสดงว่า กราฟต่อเนื่องบน [2, 5] (𝑓(2) และ 𝑓(5) หาค่าได้)
𝑓 จึงต้องมีคา่ สูงสุดและต่าสุดสัมบูรณ์บน [2, 5] → 3. ถูก
4. บนช่วง (1 , 3) จะเห็นว่า 𝑓 ′ เป็ นบวก (กราฟอยูค่ รึง่ บนแกน 𝑋) ดังนัน้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่ม → 4. ถูก
5. บนช่วง (0 , 1) จะเห็นว่า 𝑓 ′ เป็ นลบ (กราฟอยูค่ รึง่ ล่างแกน 𝑋) ดังนัน้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ลด ไม่ใช่คา่ คงตัว → 5. ผิด
PAT 1 (มี.ค. 64) 35

1
25. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 60 𝑥(𝑥 2 − 49) เมื่อ 𝑥 เป็ นจานวนจริง
และให้ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นพืน้ ที่ของบริเวณที่แรเงา ดังรูป
𝑌
𝑓

(𝑝, 1) 𝐴 (𝑞, 1)
𝑦=1
𝐵
𝑋
0 𝐶
𝑦 = −1
(𝑟, −1) (𝑠, −1)

ข้อใดไม่ถกู ต้อง
0 7 𝑞
1. ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 2. 𝐴 = ∫ (𝑓(𝑥) − 1) 𝑑𝑥
−7 0 𝑝
0 7
3. 𝐵 = ∫ (1 − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 4. 𝐴 + 𝐵 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
−7 0
𝑠 7
5. 𝐶 = ∫ (𝑓(𝑥) + 1) 𝑑𝑥 − ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
𝑟 0
ตอบ 3
1
1. ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = ∫ 60
𝑥(𝑥 2 − 49) 𝑑𝑥
𝑥3 49𝑥
= ∫ 60
− 60
𝑑𝑥
𝑥4 49𝑥 2
= 240
− 120
+𝑘 → จะเห็นว่า 𝑥 ทุกตัว ถูกยกกาลังคูท่ งั้ หมด
= 𝐹(𝑥) แปลว่าจะแทน 𝑥 ด้วย 7 หรือ −7 ลงไป ก็ได้คา่ เท่ากัน
0 0
ดังนัน้ ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
−7 7 𝐹(0) − 𝐹(7)
7
= −(𝐹(7) − 𝐹(0))
= −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
0
→ ข้อ 1. ถูก
2. 𝐴 คือพืน้ ที่ระหว่าง 𝑦 = 𝑓(𝑥) และ 𝑦=1 ตัง้ แต่ 𝑥=𝑝 ถึง 𝑥=𝑞
𝑞
ดังนัน้ 𝐴 = ∫ (𝑓(𝑥) − 1) 𝑑𝑥 → 2. ถูก
𝑝
0
3. ∫ (1 − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 คือพืน้ ที่ระหว่าง 𝑦=1 และ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัง้ แต่ 𝑥 = −7 ถึง 𝑥 = 0
−7
1
เมื่อ 𝑥 = −7 จะได้ 𝑓(𝑥) =
60
(−7)((−7)2 − 49)
1
= 60
(−7)( 0 ) = 0 → จะได้ (−7, 0) ซึง่ เป็ นจุดตัดแกน 𝑋
0 𝑌
ดังนัน้ ∫ (1 − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 คือพืน้ ที่ที่แรเงาดังรูป 𝑓
−7 +

(พืน้ ที่เสีย้ วบน เป็ นลบ เพราะ 𝑦 = 1 อยูใ่ ต้ 𝑦 = 𝑓(𝑥)) 𝐵 +
𝑦=1
𝑋
เมื่อคิดเครือ่ งหมายบวกลบแล้ว ไม่เท่ากับพืน้ ที่ 𝐵 แน่นอน → 3. ผิด −7 0
0
4. 𝐴+𝐵 คือพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วย 𝑦 = 𝑓(𝑥) กับแกน 𝑋 ตัง้ แต่ −7 ถึง 0 ซึง่ จะเท่ากับ ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
−7
7
และจากที่ขอ้ 1. เป็ นจริง จะทาให้ 𝐴 + 𝐵 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 ด้วย → 4. ถูก
0
36 PAT 1 (มี.ค. 64)

1
5. เมื่อ 𝑥=7 จะได้ 𝑓(𝑥) = 60
(7)(72 − 49)
1
= 60
(7)( 0 ) = 0 → จะได้ (7, 0) ซึง่ เป็ นจุดตัดแกน 𝑋
7
จากรูป จะเห็นว่าพืน้ ที่รวม 𝐶+𝐷 จะหาได้จาก ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 𝑌
𝑓
0
แต่ 𝐶+𝐷 เป็ นพืน้ ที่ใต้แกน 𝑋 ต้องคูณลบ 0 𝐶 7
𝑋
7 𝑦 = −1
(𝑟, −1) 𝐷 (𝑠, −1)
นั่นคือ 𝐶 + 𝐷 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 …(∗)
0
และ 𝐷 คือพืน้ ที่ที่อยูร่ ะหว่าง 𝑦 = −1 และ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัง้ แต่ 𝑥=𝑟 ถึง 𝑥 = 𝑠
𝑠
ดังนัน้ 𝐷 = ∫ (−1 − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 → แทนใน (∗) :
𝑟 𝑠 7
𝐶 + ∫ (−1 − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
𝑟 0
𝑠 7
𝐶 = ∫ (1 + 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 − ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 → 5. ถูก
𝑟 0

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 26 – 27


การว่ายนา้ แบบผลัดผสม เป็ นการแข่งขันว่ายนา้ ที่แต่ละทีมประกอบด้วยนักว่ายนา้ จานวน 4 คน โดยนักว่ายนา้
ในทีมแต่ละคนจะต้องว่ายนา้ คนละหนึง่ ท่า ดังนี ้
คนที่ 1 ว่ายท่ากรรเชียง คนที่ 2 ว่ายท่ากบ
คนที่ 3 ว่ายท่าผีเสือ้ คนที่ 4 ว่ายท่าฟรีสไตล์
ชมรมว่ายนา้ “เงือกสยาม ฉลามไทย” มีสมาชิกจานวน 6 คน คือ แก้ม ข้าว คิม เงาะ เจต และฉัตร

26. ถ้าชมรมว่ายนา้ “เงือกสยาม ฉลามไทย” ต้องการจัดสมาชิกของชมรม 4 คน เพื่อเป็ นทีมเข้าร่วมแข่งขันว่ายนา้ แบบ


ผลัดผสม โดยที่สมาชิกในชมรมทุกคนสามารถว่ายนา้ ได้ทกุ ท่าของการว่ายนา้ แล้วชมรมจะมีวิธีในการจัดสมาชิกเพื่อ
แข่งขันว่ายนา้ แบบผลัดผสมที่แตกต่างกันทัง้ หมดกี่วิธี
1. 15 2. 32 3. 36 4. 360 5. 720
ตอบ 4
เลือก 1 คน จาก 6 คน มาเป็ นคนที่ 1 เลือกได้ 6 วิธี
เลือก 1 คน จาก 5 คนที่เหลือ มาเป็ นคนที่ 2 เลือกได้ 5 วิธี
เลือก 1 คน จาก 4 คนที่เหลือ มาเป็ นคนที่ 3 เลือกได้ 4 วิธี
รวม 6 × 5 × 4 × 3 = 360 วิธี
เลือก 1 คน จาก 3 คนที่เหลือ มาเป็ นคนที่ 4 เลือกได้ 3 วิธี

27. ถึงแม้วา่ สมาชิกในชมรมจะสามารถว่ายนา้ ได้ทกุ ท่าของการว่ายนา้ แต่สมาชิกแต่ละคนมีทา่ ว่ายนา้ ที่ตนเองถนัด


ดังข้อมูลในตารางต่อไปนี ้
ท่าการว่ายนา้ ในการแข่งขัน รายชื่อสมาชิกที่มีความถนัดในการว่ายนา้ แต่ละท่า
ท่ากรรเชียง แก้ม
ท่ากบ ข้าว คิม
ท่าผีเสือ้ เงาะ เจต
ท่าฟรีสไตล์ แก้ม เงาะ เจต ฉัตร
PAT 1 (มี.ค. 64) 37

ถ้าชมรมว่ายนา้ นีต้ อ้ งการจัดสมาชิกของชมรม 4 คน เพื่อเป็ นทีมเข้าร่วมแข่งขันว่ายนา้ แบบผลัดผสม โดยที่แต่ละคน


ได้วา่ ยนา้ ในท่าที่ตนเองถนัด แล้วจะมีวธิ ีในการจัดสมาชิกเพื่อแข่งขันว่ายนา้ แบบผลัดผสมที่แตกต่างกันทัง้ หมดกี่วิธี
1. 4 2. 8 3. 9 4. 15 5. 16
ตอบ 2
ท่ากรรเชียง เลือก แก้มได้แบบเดียว
ท่ากบ เลือก ข้าว หรือ คิม ได้ 2 แบบ
ท่าผีเสือ้ เลือก เงาะ หรือ เจต ได้ 2 แบบ
ท่าฟรีไสตล์ คนที่ถนัดจะมี แก้ม เงาะ เจต ฉัตร แต่ แก้มว่ายท่ากรรเชียงไปแล้ว
และ คนหนึง่ ระหว่างเงาะหรือเจต จะถูกเลือกไปว่ายท่าผีเสือ้
ดังนัน้ จะเหลือให้เลือกท่าฟรีไสตล์ได้ 2 แบบ คือ ฉัตร หรือ หนึง่ คนที่เหลือระหว่างเงาะหรือเจตที่ไม่ได้วา่ ยท่าผีเสือ้
จะได้จานวนแบบ = 1 × 2 × 2 × 2 = 8 แบบ

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 28 – 29


วิธีการตรวจโควิด-19 ที่ใช้ในประเทศไทยมีหลายวิธี แต่ละวิธีใช้เวลา และมีคา่ ใช้จา่ ยที่แตกต่างกัน นักวิจยั ไทย
กลุม่ หนึง่ พัฒนาชุดตรวจโควิด-19 ขึน้ มาสองชุด คือ ชุด A และชุด B โดยได้นาไปใช้ทดลองกับผูท้ เี่ ดินทางเข้ามาใน
ประเทศไทยจานวน 50 คน
ผูท้ ี่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยกลุม่ ที่ 1 จานวน 20 คน ได้รบั การตรวจโควิด-19 ด้วยชุดตรวจ A พบว่า มี
ผูป้ ่ วยโควิด-19 จานวน 3 คน
ผูท้ ี่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยกลุม่ ที่ 2 จานวน 30 คน ได้รบั การตรวจโควิด-19 ด้วยชุดตรวจ B พบว่า มี
ผูป้ ่ วยโควิด-19 จานวน 12 คน
หลังจากนัน้ ผูป้ ่ วยโควิด-19 ทัง้ 15 คน ได้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล

28. ถ้าต้องการเลือกผูป้ ่ วยโควิด-19 ที่ได้รบั การตรวจด้วยชุดตรวจ A จานวน 2 คน และ ต้องการเลือกผูป้ ่ วยโควิด-19 ที่
ได้รบั การตรวจด้วยชุดตรวจ B จานวน 7 คน แล้วนักวิจยั จะมีวิธีเลือกผูป้ ่ วยทัง้ หมดกี่วิธี
1. (32) × (12 7
) 2. (32) + (12
7
) 3. (20
2
) × (30
7
)
4. (20
2
) + (30
7
) 5. (15
9
)
ตอบ 1
มีผปู้ ่ วยที่ตรวจด้วย A จานวน 3 คน → เลือกมา 2 คน จะเลือกได้ (32) แบบ
มีผปู้ ่ วยที่ตรวจด้วย B จานวน 12 คน → เลือกมา 7 คน จะเลือกได้ (127
) แบบ
รวมทัง้ 2 ขัน้ ตอน จะเลือกได้ (2) × ( 7 ) แบบ
3 12
38 PAT 1 (มี.ค. 64)

29. ชุดตรวจ A ที่นกั วิจยั พัฒนาขึน้ มา พบว่า มีความคลาดเคลือ่ นในการทดสอบ โดยชุดตรวจ A ใช้ตรวจกับผูป้ ่ วย
โควิด-19 ทุกๆ 100 คน ผลการตรวจจะผิดพลาดจานวน 1 คน (ตรวจไม่พบเชือ้ โควิด-19)
ถ้านักวิจยั ได้ใช้ชดุ ตรวจ A ตรวจผูป้ ่ วยโควิด-19 จานวน 15 คน ดังกล่าวอีกครัง้
แล้วความน่าจะเป็ นที่ผลการตรวจนีจ้ ะเกิดความผิดพลาดเพียงคนเดียวเท่ากับเท่าใด
14 1
1. 225 2. 15 3. (15)(0.9)14(0.1)
4. (15)(0.99)(0.01)14 5. (15)(0.99)14(0.01)
ตอบ 5
1
ผิดพลาด 1 คน จาก 100 คน → ความน่าจะเป็ นที่จะไม่สาเร็จ = 100 = 0.01
→ จะได้ความน่าจะเป็ นที่จะสาเร็จ = 1 − 0.01 = 0.99
จากสมบัติของการแจกแจงทวินาม จะได้ 𝑃(𝑋 = 𝑥) = (𝑛𝑥)𝑝 𝑥 (1 − 𝑝)𝑛−𝑥
ถ้าตรวจ 15 คน แล้ว จะได้ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะผิดพลาด 1 คน (คือสาเร็จ 14 คน) = (15 14
)(0.99)14 (0.01)1
= 15(0.99)14 (0.01)1

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 30 – 31


ร้านขายขนมปั งแห่งหนึง่ สามารถผลิตขนมปั งได้ไม่เกินวันละ 60 ก้อน โดยมีตน้ ทุนการผลิตขนมปั ง
ก้อนละ 20 บาท และมีคา่ ใช้จ่ายประจาคงที่ เช่น ค่าจ้างคนงาน ค่าแก๊ส ค่าไฟฟ้า เท่ากับ 1,600 บาทต่อวัน
ร้านแห่งนีต้ งั้ ราคาขายขนมปังก้อนละ 140 − 2𝑥 บาท เมื่อ 𝑥 แทนจานวนขนมปั งที่ผลิตในแต่ละวัน (ก้อน)

30. ร้านขายขนมปั งแห่งนีต้ อ้ งผลิตขนมปั งจานวนน้อยที่สดุ วันละกี่กอ้ นจึงจะได้กาไร หากร้านแห่งนีข้ ายขนมปั งที่ผลิตได้
หมดทุกวัน
1. 20 2. 21 3. 30 4. 39 5. 40
ตอบ 2
ต้นทุนการผลิตก้อนละ 20 บาท → ผลิต 𝑥 ก้อน จะได้คา่ ผลิต = 20𝑥 บาท
เมื่อรวมกับค่าใช้จา่ ยประจาคงที่ 1600 บาท จะได้ตน้ ทุนทัง้ หมด = 20𝑥 + 1600
ขายก้อนละ 140 − 2𝑥 → ขายหมด 𝑥 ก้อน จะได้เงิน = (140 − 2𝑥)𝑥 = 140𝑥 − 2𝑥 2
จะได้กาไร เมื่อ ต้นทุน < เงินที่ขายขนมปังได้
20𝑥 + 1600 < 140𝑥 − 2𝑥 2
10𝑥 + 800 < 70𝑥 − 𝑥 2
𝑥 2 − 60 + 800 < 0
(𝑥 − 20)(𝑥 − 40) < 0
+ − +
→ จะกาไรเมื่อ 𝑥 ∈ (20, 40) → ต้องผลิตอย่างน้อย 21 ก้อน
20 40
PAT 1 (มี.ค. 64) 39

31. วันที่หนึง่ ร้านขายขนมปั งแห่งนีไ้ ด้ผลิตขนมปั ง 25 ก้อน และขายหมดในวันเดียว โดยมีตน้ ทุนการผลิตและค่าใช้จา่ ย


ประจาคงที่เท่าเดิม
วันที่สอง ร้านขายขนมปั งแห่งนีจ้ า้ งคนงานเพิ่ม 1 คน และผลิตขนมปั งได้ 30 ก้อน ทาให้คา่ ใช้จา่ ยประจาคงที่
เพิ่มขึน้ จากเดิมอีก 100 บาท และขายหมดในวันเดียว
กาไรที่ได้จากการขายขนมปั งในวันที่สองเปลีย่ นแปลงจากกาไรที่ได้จากการขายขนมปั งในวันที่หนึง่ ตรงกับข้อใด
1. กาไรเพิ่มขึน้ 50 บาท 2. กาไรเพิ่มขึน้ 100 บาท 3. กาไรเพิ่มขึน้ 150 บาท
4. กาไรลดลง 50 บาท 5. กาไรลดลง 150 บาท
ตอบ 4
วันแรก ผลิต 25 ก้อน → 𝑥 = 25 → จะได้กาไร = เงินที่ขายขนมปั งได้ − ต้นทุน
จากข้อ 30.
= (140𝑥 − 2𝑥 2 ) − (20𝑥 + 1600)
= 120𝑥 − 2𝑥 2 − 1600
= 120(25) − 2(25)2 − 1600
= 3000 − 1250 − 1600 = 150 บาท

วันที่สอง ผลิด 30 ก่อน → 𝑥 = 30 และค่าใช้จา่ ยประจาคงที่ เพิม่ ขึน้ 100 บาท จากเดิม 1600 บาท
จะทาให้ตน้ ทุนเปลีย่ นจาก 20𝑥 + 1600 บาท เป็ น 20𝑥 + 1700 บาท
→ จะได้กาไร = (140𝑥 − 2𝑥 2 ) − (20𝑥 + 1700)
= 120𝑥 − 2𝑥 2 − 1700
= 120(30) − 2(30)2 − 1700
= 3600 − 1800 − 1700 = 100 บาท
ดังนัน้ กาไรลดลง 150 − 100 = 50 บาท

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 32 – 33


ทรงกลม คือ เซตของจุดทัง้ หมดในระบบพิกดั ฉากสามมิติที่หา่ งจากจุดๆ หนึง่ ที่ตรึงอยูก่ บั ทีเ่ ป็ นระยะทางคงตัว
จุดที่ตรึงอยูก่ บั ที่นเี ้ รียกว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม และส่วนของเส้นตรงทีม่ ีจดุ ศูนย์กลางและจุดบนทรงกลมเป็ นจุด
ปลายเรียกว่า รัศมีของทรงกลม
กาหนดทรงกลมรัศมียาว 9 หน่วย มีจดุ ศูนย์กลางอยูท่ จี่ ดุ 𝑂(0, 0, 0) จุด 𝑃1, 𝑃2 และ 𝑃3 อยูบ่ นทรงกลม
6 −6 7
โดยที่ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃1 = [−6] , 𝑂𝑃2 = [ 3 ] และ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃3 = [ 4 ]
3 6 −4
0
32. ถ้า 𝑘1 และ 𝑘2 เป็ นจานวนจริงที่ทาให้เวกเตอร์ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑘1 𝑂𝑃1 + 𝑘2 𝑂𝑃2 = [−1]
3
แล้วผลคูณของ 𝑘1 และ 𝑘2 เท่ากับเท่าใด
1. −1 2. − 19 3. 1
9
4. 1 5. 9
ตอบ 3
6 −6 0
จะได้ 𝑘1 [−6] + 𝑘2 [ 3 ] = [−1]
3 6 3
6𝑘1 −6𝑘2 0 6𝑘1 − 6𝑘2 = 0 …(1)
[−6𝑘1 ] + [ 3𝑘2 ] = [−1] −6𝑘1 + 3𝑘2 = −1 …(2)
3𝑘1 6𝑘2 3 3𝑘1 + 6𝑘2 = 3 …(3)
40 PAT 1 (มี.ค. 64)

(1) + (2) : −3𝑘2 = −1


1
1
𝑘2 = 3 → แทนใน (1) : 6𝑘1 − 6 (3) = 0
6𝑘1 = 2
1
𝑘1 = 3
และเมื่อแทน 𝑘1 = 13 และ 𝑘2 = 13 ใน (3) จะได้ 1 1
3 (3) + 6 (3) = 3 จริง
ดังนัน้ จะได้ 𝑘1 × 𝑘2 = 13 × 13 = 19

33. กาหนดให้ 𝜃 เป็ นมุมระหว่าง ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑


𝑂𝑃1 และ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑ 𝑂𝑃3 ข้อใดถูกต้อง
𝑂𝑃2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
1. 0° < 𝜃 < 45° 2. 45° < 𝜃 < 90° 3. 𝜃 = 90°
4. 90° < 𝜃 < 180° 5. 𝜃 = 180°
ตอบ 4
จากสูตรการดอท จะได้ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃1 ∙ (𝑂𝑃 𝑂𝑃3 ) = |𝑂𝑃 ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑1 ||𝑂𝑃 𝑂𝑃3 | cos 𝜃 …(∗) → จะหาค่าต่างๆ มาแทน
⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
−6 7 (3)(−4) − (6)(4) −36 −4
ฝั่งซ้าย:⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃3 = [ 3 ] × [ 4 ] = [(6)(7) − (−6)(−4)] = [ 18 ] = 9 [ 2 ] …(∗∗)
6 −4 (−6)(4) − (3)(7) −45 −5
6 −4
ดังนัน้ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃1 ∙ (𝑂𝑃 ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃3 ) = [−6] ∙ 9 [ 2 ] = 9((6)(−4) + (−6)(2) + (3)(−5)) = −459
3 −5
ฝั่งขวา: เนื่องจาก 𝑂𝑃 ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑1 เป็ นรัศมีวงกลมรัศมี 9 หน่วย จะได้ |𝑂𝑃
⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑1 | = 9

และจาก (∗∗) จะได้ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑


|𝑂𝑃 𝑂𝑃3 | = 9√(−4)2 + 22 + (−5)2 = 9√45 = 27√5

แทนทัง้ สองฝั่งใน (∗) : −459 = 9(27√5)cos 𝜃


−17 = 9√5 cos 𝜃
→ cos เป็ นลบ แสดงว่า 90° < 𝜃 < 180°
17
− 9√5 = cos 𝜃
(มุมระหว่างเวกเตอร์ จะอยูใ่ นช่วง [0°, 180°])

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 34 – 35


ในการวางแผนระบบการเดินรถไฟระหว่างสถานีสองสถานี คือ สถานี ก และ สถานี ข ซึง่ อยูห่ า่ งกันเป็ น
ระยะทาง 𝑆 เมตร ในแนวเส้นตรง โดยรถไฟเริม่ ต้นเคลือ่ นที่จากหยุดนิ่งที่สถานี ก ไปจนหยุดนิง่ อีกครัง้ ที่สถานี ข
2
รถไฟมีความเร่งสูงสุดเท่ากับ 𝐴 เมตรต่อวินาที โดยรถไฟจะเคลือ่ นที่แบบระบบขับเคลือ่ นโดยอัตโนมัติเป็ น 3 ช่วง
ดังนี ้
2
 ช่วงแรก ช่วงเวลา 𝑇 วินาทีแรก รถไฟมีความเร่งเพิ่มขึน้ ในอัตราสม่าเสมอ จาก 0 ถึง 𝐴 เมตรต่อวินาที
 ช่วงกลาง รถไฟจะเคลือ่ นที่ดว้ ยความเร็วคงตัว
 ช่วงท้าย ช่วงเวลา 𝑇 วินาที ก่อนรถไฟถึงสถานี ข รถไฟจะชะลอตัวในลักษณะทีค ่ วามเร่งลดลงในอัตรา
2
สม่าเสมอจาก 𝐴 ถึง 0 เมตรต่อวินาที
PAT 1 (มี.ค. 64) 41

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาและความเร่งของรถไฟนีท้ ี่เคลือ่ นที่จากสถานี ก ไปยังสถานี ข เป็ นดังนี ้


ความเร่ง (เมตรต่อวินาที2 )

เวลา (วินาที)
0
𝑇 𝑇
สถานี ก สถานี ข

34. ในช่วงเวลาที่รถไฟเคลือ่ นที่ดว้ ยความเร็วคงตัวนัน้ รถไฟวิ่งด้วยความเร็วคงตัวกี่เมตรต่อวินาที


𝐴𝑇 𝐴𝑇 3
1. 𝐴 2. 𝐴𝑇 3. 2
4. 𝐴𝑇 2 5. 3
ตอบ -
ข้อนี ้ โจทย์กาหนดให้ชว่ งกลางมีความเร็วคงตัว แสดงว่าช่วงกลางมีความเร่ง = 0
ขัดแย้งกับกราฟช่วงกลาง ที่มีความเร่ง = 𝐴
ดังนัน้ ข้อนีโ้ จทย์ผิด

35. รถไฟเคลือ่ นที่จากสถานี ก ถึงสถานี ข ใช้เวลากี่วินาที


1. 𝐴𝑆 + 𝑇 2. 𝐴𝑇 𝑆
+𝑇 3. 𝐴𝑇𝑆 2 + 𝑇 4. 2𝑆
𝐴𝑇
+
4𝑇
3
5. 3𝑆
𝐴𝑇 3
+
5𝑇
3
ตอบ -
ข้อนีโ้ จทย์ผิด

36. โรงเรียนแห่งหนึง่ สารวจความชอบของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่าย ซึง่ ประกอบด้วยฐานวิทยาศาสตร์และ


ฐานคณิตศาสตร์ พบว่า
มีนกั เรียนร้อยละ 9 ไม่ชอบกิจกรรมทัง้ สองฐาน
มีนกั เรียนร้อยละ 61 ชอบกิจกรรมฐานวิทยาศาสตร์
มีนกั เรียนร้อยละ 35 ชอบกิจกรรมทัง้ สองฐาน
ถ้าลุม่ นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่ายนีม้ า 1 คน แล้วความน่าจะเป็ นที่นกั เรียนคนนีช้ อบกิจกรรมฐานคณิตศาสตร์
เท่ากับเท่าใด
ตอบ 0.65
จากโจทย์ จะวาดแผนภาพได้ดงั รูป
ค ว 𝒰
35 𝑥
ชอบวิทย์ 61% → จะเหลือ 𝑥 = 61 − 35 = 26%
9 ทัง้ หมดคือ 100% → จะหาวงคณิต โดยหักส่วนที่ไม่ใช่คณิต (𝑥 กับ 9) ออกจาก 100%
จะได้ คณิต = 100 − 9 − 26 = 65%
65
ดังนัน้ ถ้าสุม่ 1 คน จะได้ความน่าจะเป็ นที่ได้นกั เรียนชอบคณิต = 100 = 0.65
42 PAT 1 (มี.ค. 64)

37. นิดซือ้ นา้ ดื่ม ข้าวสาร และปลากระป๋ อง ไปบริจาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย ดังนี ้


ครัง้ ที่ 1 ซือ้ นา้ ดื่ม 2 แพ็ค ข้าวสาร 2 กิโลกรัม และปลากระป๋ อง 5 แพ็ค คิดเป็ นเงิน 800 บาท
ครัง้ ที่ 2 ซือ้ นา้ ดื่ม 4 แพ็ค ข้าวสาร 10 กิโลกรัม และปลากระป๋ อง 3 แพ็ค คิดเป็ นเงิน 1,000 บาท
ครัง้ ที่ 3 ซือ้ นา้ ดื่ม 7 แพ็ค ข้าวสาร 3 กิโลกรัม และปลากระป๋ อง 1 แพ็ค คิดเป็ นเงิน 660 บาท
ถ้าครัง้ ที่ 4 ซือ้ นา้ ดื่ม 5 แพ็ค ข้าวสาร 5 กิโลกรัม และปลากระป๋ อง 7 แพ็ค โดยราคาของนา้ ดื่ม ข้าวสาร และปลา
กระป๋ อง ไม่เปลีย่ นแปลง แล้วในการซือ้ ครัง้ ที่ 4 นิดจะต้องจ่ายเงินกี่บาท
ตอบ 1,340
ให้นา้ ดืม่ ข้าวสาร และปลากระป๋ อง ราคาแพ็คละ 𝑥, 𝑦 และ 𝑧 บาท ตามลาดับ
จากโจทย์ จะได้ระบบสมการคือ 2𝑥 + 2𝑦 + 5𝑧 = 800 …(1)
4𝑥 + 10𝑦 + 3𝑧 = 1000 …(2)
7𝑥 + 3𝑦 + 𝑧 = 660 …(3) → ใช้ (3) กาจัด 𝑧 ใน (1) และ (2)
5×(3) − (1) : 33𝑥 + 13𝑦 = 2500 …(4)
3×(3) − (2) : 17𝑥 − 𝑦 = 980 …(5) → ใช้ (5) กาจัด 𝑦 ใน (4)
(4) + 13×(5) : 33𝑥 + 221𝑥 = 2500 + 12740
254𝑥 = 15240
𝑥 = 60
แทนค่า 𝑥 ใน (5) : 17(60) − 𝑦 = 980 แทนค่า 𝑥, 𝑦 ใน (3) : 7(60) + 3(40) + 𝑧 = 660
1020 − 𝑦 = 980 420 + 120 + 𝑧 = 660
40 = 𝑦 𝑧 = 120
ดังนัน้ ครัง้ ที่ 4 จ่ายเงิน 5(60) + 5(40) + 7(120) = 300 + 200 + 840 = 1340 บาท

38. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = log 𝑎 𝑥


𝑔(𝑥) = log 𝑎 (𝑥 − 𝑏)
ℎ(𝑥) = (log 𝑎 𝑥) + 𝑐
เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง โดยที่ 𝑎 > 1 และ 𝑏 < 1
ถ้า 𝑓(2) = 1 , 𝑔(1) = 2 และ ℎ(1) = 5 แล้วค่าของ ℎ(13𝑎 − 2𝑏) เท่ากับเท่าใด
ตอบ 10

เครดิต
ขอบคุณ คุณ คณิต มงคลพิทกั ษ์สขุ (นวย) ผูเ้ ขียน Math E-book
และ คุณ คุณ Cherry Ctt
และ อ. ปิ๋ ง GTRmath สาหรับเฉลยวิธีทาแบบละเอียด
ขอบคุณ คุณ Boonchan Pathaisamarn
และ คุณ Jack Teerasak
และ คุณ ธนพล สาราญรืน่
PAT 1 (มี.ค. 64) 43

และ คุณ Tonson Lalitkanjanakul ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารครับ

You might also like