You are on page 1of 12

Everyone 

has Problems, but Chemists have Solutions
เนื้อหา
1. สารละลายคืออะไร 6. สารละลายสมบูรณแบบและ

สารละลาย 2. ชนิดของสารละลาย
3. ความเขมขนของ
สารละลายไมสมบูรณแบบ
7. ความดันไอ กฎของราอูลท
สารละลาย กฎของเฮนรี
กฎของเฮนร
Solution 4. สภาพการละลายได 8. สมบัติคอลลิเกทีฟ
5. ปจจัยที่มีผลตอการ 9. สารละลายนอนอิเล็กโตรไลต
โครงการจัดตั้งสายวิชาเคมี ละลาย
คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน1 2

สารละลาย องคประกอบของสารละลาย
 สารละลาย (Solution) คือของผสมเนื้อเดียว  การละลาย (dissolve) คือการที่สารชนิดหนึ่ง (ตัวถูกละลาย)
(homogeneous mixture) ซึ่งเกิดจากสารตั้งแต 2 ชนิด แตกตัวออกเปนอนุภาคเล็ก ๆ และแทรกตัวในสารอีกชนิด
หนึ่ง (ตัวทําละลาย) โดยทั่วไปเราอาจพิจารณาวา
ขึ้นไป
▪ สารที่มีปริมาณมากกวาเปน ตัวทําละลาย (solvent)
▪ สารละลายมีสมบัติคลายกับสมบัติของสารองคประกอบ สารที่มีปริมาณนอยกวาเปน ตวถู
▪ สารทมปรมาณนอยกวาเปน ตัวถกละลาย
กละลาย (solute)
▪ มวลของสารละลายเทากับมวลขององคประกอบรวมกัน ▪ สารละลายที่มนี ้ําเปนตัวทําละลายเรียกวา aqueous
▪ ไมมีการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหวางสารแตละชนิด solution(aq) Solute Solvent

 ตัวอยาง น้ําตาล(20 g) + น้ํา(100 g) = น้ําเชื่อม(120 g)


หวาน หวาน
K2Cr2O7(s) Dissolve K2Cr2O7(aq)
3 4

การเรียกชนิดสารละลาย ชนิดของสารละลาย
ประเภท Solvent Solute ตัวอยาง
ชนิดของสารละลายเรียกตามจํานวนองคประกอบ
แกส แกส อากาศ
ตัวอยางเชน สารละลายแกส แกส ของเหลว ไอน้ําในอากาศ
1. สารละลายทวิภาค (Binary Solution) คือ แกส ของแข็ง ไอโอดีนในอากาศ
สสารละลายที
รล ล ม่ ี 2 องคปรระกอบ เชน นน้ําเชื่อม สารละลาย
ของเหลว แกส น้ําโซดา
ของเหลว ของเหลว แอลกอฮอลในน้ํา
2. สารละลายไตรภาค (Ternary Solution) คือ ของเหลว
ของเหลว ของแข็ง น้ําเกลือ น้ําเชื่อม
สารละลายที่มี 3 องคประกอบ เชน น้ําหวานโซดา ของแข็ง แกส H2 ใน Pd
(น้ํา + น้ําตาล + โซดา) สารละลายของแข็ง ของแข็ง ของเหลว ปรอทในทอง
ของแข็ง ของแข็ง ทองเหลือง นาก

5 6

1
ความเขมขนของสารละลาย อุปกรณเตรียมสารละลาย
ความเขมขนของสารละลายแสดงถึงอัตราสวนระหวาง  ขวดเชิงปริมาตร (Volumetric Flask) ใชเพื่อปรับปริมาตร
ปริมาณตัวถูกละลายและตัวทําละลายหรือสารละลาย ของสารละลายรวมใหไดปริมาตรที่ตองการ
1.ความเขมขนรอยละ ▪ ใสตัวถูกละลายตามปริมาณที่ตองการในขวดเชิงปริมาตร
• รอยละโดยมวล (ถาเปนของแข็ง ใหละลายตัวถูกละลายกอนใสในขวด)
• รอยละโดยปริมาตร ▪ เติมตัวทําละลายจนไดปริมาตรของสารละลายเทาที่ตองการ
• รอยละโดยมวลตอปริมาตร Meniscus
2.โมลาริตี (Molarity) (ทองน้ํา)
ขีดปรับระดับ
3.โมแลลิตี (Molality)
4.เศษสวนโมล (Mole Fraction)

7 8

1. ความเขมขนรอยละ
 รอยละโดยมวล (% by weight)  NaOH เขมขน 5% โดยมวล
มวลตัวถูกละลาย (g) ▪ ในสารละลาย 100 กรัม มี NaOH ละลายอยู 5 กรัม
%W/W =  100%
มวลสารละลาย (g) ▪ การเตรียม ชั่ง NaOH 5 กรัม ละลายน้ํา 95.0 กรัม (ไดสลล.100 g)
 รอยละโดยปริมาตร (% by volume)  สารละลายเอทานอลเขมขน 30% โดยปริมาตร
ปริมาตรตัวถูกละลาย (mL)
▪ สารละลาย 100 mLL มเอทานอลละลาย
ี อยู 30 mLL
%V/V =  100% ▪ การเตรียม ตวงเอทานอล 30 mL เติมน้ําจนได สลล. 100 mL
ปริมาตรสารละลาย (mL)
 สารละลาย NaCl เขมขน 15 % โดยมวลตอปริมาตร
 รอยละโดยมวลตอปริมาตร (% weight by volume) ▪ สารละลาย 100 mL มีตัวถูกละลาย NaCl 15 กรัม
มวลตัวถูกละลาย (g) ▪ การเตรียม ชั่ง NaCl 15 กรัม เติมน้ําจนไดสารละลาย 100 mL
%W/V =  100%
ปริมาตรสารละลาย (mL)
9 10

ตัวอยาง ความเขมขนรอยละ(1) ตัวอยาง ความเขมขนรอยละ(2)


 สารละลายน้ําตาลซูโครส ประกอบดวยซูโครส  จะตองใช CaCl2 กี่กรัม ละลายน้ํา 80 กรัมเพื่อใหได
28.6 กรัม ในน้ํา 101.4 กรัม จงหาความเขมขนเปน สารละลายเขมขน 5 % โดยมวล
รอยละโดยมวลของสารละลายนี้

11 12

2
2. โมลาริตี (Molarity, M) ตัวอยาง โมลาริตี
 จํานวนโมลของตัวถูกละลายในสารละลาย 1 ลิตร  จงคํานวณความเขมขนเปนโมลาริตีของสารละลาย
โมลตัวถูกละลาย (mol) KCl ซึ่งประกอบดวย KCl จํานวน 12.4 g ละลายอยู
M =
ปริมาตรสารละลาย (litre) ในสารละลาย 900 mL (K=39.1, Cl=35.5)
▪ 1 Litre = 1000 ml =1000 cm3 = 1 dm3
▪ Molar 1 M (โมลาร) = 1 mol/dm3 = 1 mol/L
 สารละลาย Ca(OH)2 เขมขน 0.05 mol/dm3 หมายถึง
Ca(OH)2 0.05 โมล ในสารละลาย 1 L

13 14

3. โมแลลิตี (Molality, m) ตัวอยาง โมแลลิตี


 จํานวนโมลของตัวถูกละลายในตัวทําละลาย 1 กิโลกรัม  จงหาความเขมขนเปนโมแลลิตีของสาร ละลาย NaCl
โมลตัวถูกละลาย (mol) ซึ่งประกอบดวย NaCl 5.0 กรัม ในน้ํา 200 กรัม (Na
m=
มวลตัวทําละลาย (kg) = 23.0 , Cl = 35.5)
▪ 1 kg = 1000 g g(solute)
MW(solute)
▪ Molal  1 m (โมแลล) = 1 mol/kg
kg(solvent)
 สารละลาย Ca(OH)2(aq) เขมขน 0.05 molal หมายถึง
มีCa(OH)2 0.05 โมล ในตัวทําละลายน้ํา 1 kg
15 16

4. เศษสวนโมล (Mole Fraction, x) ตัวอยาง เศษสวนโมล


 อัตราสวนระหวางจํานวนโมลของตัวทําละลายหรือตัว  สารละลายชนิดหนึ่งประกอบดวยน้ํา 36.0 กรัมและ
ถูกละลายตอจํานวนโมลทั้งหมดในสารละลาย (ไมมี กลีเซอรีน [C3H5(OH)3] 46.0 กรัม จงหาเศษสวนโมล
หนวย) ของน้ําและกลีเซอรีน
▪ ไมตองระบุวาสารใดเปนตัวทําละลายหรือตัวถูกละลาย
▪ ถาสารละลายประกอบดวยสาร
ส ป  ส A และสาร ส B
nA n
xA = n + n xB = n +B n
A B A B
•xA :เศษสวนโมลของ A nA : จํานวนโมลของสาร A
•xB :เศษสวนโมลของ B nB : จํานวนโมลของสาร B
xA + xB = 1
17 18

3
แบบฝกหัด การละลายได (Solubility)
 เตรียมสารละลายโดย เติม NaCl 5.0 g ในขวดเชิง  สารละลายเกิดขึ้นไดอยางไร?
ปริมาตรเติมน้ําจนไดปริมาตร 100 ml น้ําหนักรวมของ  การที่อนุภาคของตัวถูกละลายเขาไปแทนที่อนุภาค
ของตัวทําละลายเกิดขึ้นไดเมื่อ
สารละลายเทากับ 104.8 g จงคํานวณหาความเขมขน
▪ ทําลายแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลของตัวทําละลาย
▪ Molarity ▪ ทาลายแรงยดเหนยวระหวางโมเลกุ ลของตวถู
ทําลายแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกลของ ตัวถกละลาย
กละลาย
▪ % W/V ▪ สรางแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลของตัวทําละลายและ
▪ % W/W ตัวถูกละลาย
▪ Molality Solvent

▪ Mole Fraction
solvation Solution
Solute
19 20

ความรอนของการละลาย (Hsoln) ขั้นตอนการเกิดสารละลาย


 กระบวนการละลายของตัวถูกละลายในตัวทําละลาย Hdiss1 Endothermic (+)
Hdiss1 Hdiss2 Endothermic (+)
ประกอบดวย Hbind Exothermic ()

▪ การทําลายแรงยึดเหนี่ยว Solvent-Solvent และ Solvent


Hbind
Solute-Solute  Hdiss มีคาบวก (ดูดพลังงาน)
▪ การเกิดแรงยึดเหนี่ยว Solvent-Solute  Hbind มีคา Hdiss2
ลบ (คายพลังงาน) Solution

▪ ความรอนของการละลาย Hsoln = Hdiss + Hbind Solute

NaCl(s) + H2O(l)  NaCl(aq)


Hsolv=Hdiss(NaCl)+Hdiss(H2O)+Hbind(NaCl)
21 22

สภาพการละลายได (solubility) สารละลายอิ่มตัว (Saturated Solution)


 สภาพการละลายได คือ จํานวนกรัมของตัวถูกละลายที่มาก  สารละลายอิ่มตัว คือ สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลาย
ที่สุดที่ละลายไดในตัวทําละลาย 100 กรัม ในสภาวะสมดุล ละลายอยูมากที่สุดเทาที่จะเปนไปไดที่อุณหภูมินั้นๆ
▪ สภาพการละลายไดขึ้นกับ (ความเขมขนของตัวถูกละลายเทากับสภาพละลายได)
• ชนิดของตัวทําละลาย ▪ ตัวถูกละลายไมสามารถละลายเพิ่มไดอกี
• ชนิดของตัวถูกละลาย ▪ ถาตัวถกละลายตกตะกอนแสดงว
ู าสารละลายอิ่มตัวแลว
• อุณหภูมิ & ความดัน
▪ สําหรับสารละลายน้ํา (aqueous) ►ความเขมขนของตัวถูกละลาย  สภาพละลายได
 ตัวถูกละลายสามารถละลายเพิ่มไดอีก
Solubility สมบัติการละลายน้ํา
►ความเขมขนของตัวถูกละลาย สภาพละลายได
 0.1 g ไมละลาย  สารละลายอิ่มตัว ไมมีตะกอน
0.1 – 1.0 g ละลายไดเล็กนอย ►ความเขมขนของตัวถูกละลาย สภาพละลายได
 สารละลายอิ่มตัว มีตะกอน
 1.0 g ละลาย 23 24

4
สภาพละลายไดและอุณหภูมิ ตัวอยาง สารละลายอิ่มตัว
 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ  สารละลาย C6H5COOH (aq) อิ่มตัว มีความเขมขน 0.0237
มีผลโดยตรงตอสภาพ M จงหาสภาพการละลายไดของ C6H5COOH (aq) (ความ
ละลายไดและการตก หนาแนนของ C6H5COOH (aq) มีคา 1.02 g/ml)
MW(C6H5COOH) = 122 g/mol
ตะกอนของสารละลาย

*H2O 100 mL = 100 g


25 26

ปจจัยที่มีผลตอสภาพการละลาย
1. ชนิดของตัวถูกละลายและตัวทําละลาย  แรงระหวางสารมีขั้วดวยกัน คือ dipole-dipole interaction
Hydrogen bond และ Electrostatic interaction
แรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคขึ้นอยูกับชนิดของสาร  แรงระหวางสารไมมีขั้วดวยกัน คือ Van der Waals interaction
▪ สารมีขั้ว ดึงดูดกันดวย แรงแบบมีขั้ว (มีคาสูง) ตัวถูกละลาย ตัวทําละลาย การละลาย
▪ สารไมมีขั้ว ดึงดดกั
ู นดวย แรงแบบไมมีขั้ว ((มีคาต่ํา) มีมขว
ขั้ว มีมขว
ขั้ว ละลายไดดดี
ละลายได
 ถาแรงดึงดูดระหวางตัวทําละลายและแรงดึงดูด มีขั้ว ไมมีขั้ว ละลายไมได
ไมมีขั้ว มีขั้ว ละลายไมได
ระหวางตัวถูกละลายเปนชนิดเดียวกัน หรือ มีคา
ไมมีขั้ว ไมมีขั้ว ละลายได
ใกลเคียงกัน สารทั้งสองจะละลายกันได
▪ H2O + CCl4  ?
▪ H2O + NH3  ?
27 28

การละลายของสารประกอบไอออนิก การละลายของ NaCl ในน้ํา


 สารประกอบไอออนิกสวนใหญละลายน้ําได (น้ํามี  แรงดึงดูดระหวางขั้วของน้ํากับ
ขั้ว) เนื่องจากแรงดึงดูดระหวางน้ําและไอออน ไอออนบวกและไอออนลบมีคา
▪ ขั้วลบของน้ํา : ไอออนบวก มากกวาแรงดึงดูดระหวางไอออน
▪ ขั้วบวกของน้ํา : ไอออนลบ บวกและลบของ NaCl ในโครงผลึก
 เกลือไอออนิกบางชนิดละลายน้ํา้ ไดนอยหรือไมละลาย  Hydrated ion คือ
ื ไไอออนทีถ่ี ูก
เนื่องจากแรงดึงดูดระหวางไอออนบวกและไอออนลบมีคา ลอมรอบดวยโมเลกุลของน้ํา
สูงมาก เชน AgCl, Hg2Cl2 PbCl2 BaSO4 PbSO4 SrSO4
(AgCl 0.0018 g / น้ํา 1 ลิตร ที่ 25 °C)

29
Hydrated Na+ ion 30

5
แบบฝกหัด
2.อุณหภูมิ  ความรอนของสารละลาย LiCl(aq) มีคา = 37.42 kJ/mol
เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน สารจะละลายมากขึ้นหรือนอย และ สภาพการละลายไดของ LiCl(aq) ที่ 0 C เทากับ 63.7
g/100 ml
ลงขึ้นกับวาเปนกระบวนการดูดหรือคายความรอน ▪ การละลายของ LiCl คาย หรือ ดูดความรอน
• คา H เปนลบ การละลายเปนกระบวนการคายความรอน
 ปฏิกิริยาดูดความรอน (H=+)
▪ ถาเพมอุ
ถาเพิ่มอณหภมิ
ณหภูม LiCl จะละลายมากขน
จะละลายมากขึ้น หรอ
หรือ นอยลง
นอยลง
เพิ่ม T สารละลายมากขึ้น Solubility (g solute / 100 g H2O) • เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจะทําใหสภาพการละลายลดลง ( 63.7 g/100ml)
 ปฏิกิริยาคายความรอน (H=)
เพิ่ม T สารละลายนอยลง

31 32

สารละลายสมบูรณแบบ (Ideal Solution)


3. ความดัน  ถาพลังงานที่ใชในการแยกตัวถูกละลายและแยกตัว
กรณีที่ตัวถูกละลายเปนแกส ถาความดันแกสเพิ่ม ทําละลาย (Hdiss) มีขนาดเทากับพลังงานที่คาย
แกสจะละลายไดมากขึ้น ออกมาเมื่อตัวถูกละลายและตัวทําละลายดึงดูดกัน
(Hbind)
solute (g) + solvent (l) solution (l) Hsoln = Hdiss + Hbind = 0
สารละลายที่ไดเรียกวา สารละลายสมบูรณแบบ
▪ Hsoln = 0  ideal solution
▪ Hsoln  0  non-ideal solution

33 34

ความดันไอของสารละลายสมบูรณแบบ
 สารละลายสมบูรณแบบ คือสารละลายที่ solute  ราอูลท (Raoult) ไดศึกษาพฤติกรรมความดันไอของ
และ solvent มีสมบัติใกลเคียงกัน คือ สารในสารละลายสมบูรณแบบ สรุปวา
▪ โครงสรางคลายกัน  ที่อุณหภูมิคงที่ ความดันไอของสารองคประกอบใน
▪ ขนาดใกลเคียงกัน สารละลาย (Pi) มีคาเทากับผลคููณระหวางเศษสวน
▪ แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลเปนแบบเดียวกัน โมลของสาร (Xi) กับความดันไอของสารบริสุทธิ์ (Pi°)
เชน SiCl4 + CCl4 Hsoln = 0 การจัดเรียงตัวของ
สารเปลี่ยนแปลงไป Pi° Pi
Pi° > Pi
Pi = xi  Pi°
Solvent บริสุทธิ์ Ideal Solution Non-ideal Solution
35
สารบริสุทธิ์ (i) สารละลาย 36

6
 ถาสารละลายประกอบดวยสาร A และ B  ถาทั้งตัวทําละลาย(
ละลาย(1)และตัวถูกละลาย(
ละลาย(2)ระเหยได
▪ Psoln = P1 + P2
PA = xA  PA°
= x1P°1 + x2P°2
PB = xB  PB° เสนกราฟความดันไอ
Ptotal = PA + PB
▪ Ptotal = ความดันรวม P2°
Psoln

▪ PA, PB = ความดันไอของสาร A และ B ในสารละลาย

Pressure
x1 + x2 = 1
P1° Psoln = P1 + P2

▪ PA°, PB° = ความดันไอของสาร A และ B บริสุทธิ์ P1 P2


▪ xA , x B = เศษสวนโมลของสาร A และ B ในสารละลาย | | | | |

0.00 0.25 0.50 0.75 1.00


 ถาสารละลายประกอบดวยสาร A, B, C … x1
 ถาตัวถูกละลาย(
ละลาย(2)ไมระเหยและไมแตกตัว (P2= 0)
Ptotal = PA + PB + PC + …
37
▪ Psoln = P1 = x1P1° 38

ตัวอยาง ความดันไอ ความดันไอของสารละลายไมสมบูรณแบบ


 จงคํานวณหา Psoln ที่ 30°C ของสารละลายสมบูรณแบบ  สารละลายไมสมบูรณแบบไมเปนไปตามกฎของราอูลท
ซึ่งประกอบดวย C2H5OH และ C3H8OH โดย XEtOH = 0.75  กฎของเฮนรี
P°EtOH =79.1 torr P°PrOH = 27.6 torr สําหรับสารละลายเจือจาง ความดันไอของตัวถูกละลาย
แปรผันตามความเขมขนของตัวถูกละลาย: P2 = k2x2
โดย k2 เปนคาคงท
เปนคาคงที่
 สําหรับสารละลายไมสมบูรณแบบ
▪ ตัวทําละลาย ใชกฎราอูลท P1 = x1P1°
▪ ตัวถูกละลาย ใชตามกฎของเฮนรี P2 = k2x2
Psoln = P1 + P2= x1P1° + k2x2
39 40

เสนกราฟความดันไอของสลล.ไมสมบูรณแบบ สมบัติคอลลิเกทีฟ
 สมบัติทางกายภาพของสารละลายที่ขึ้นกับความ
Psoln = PA + PB
เขมขนของอนุภาคตัวถูกละลายในสารละลาย และ
Psoln  เมื่อ xA นอย ชนิดของตัวทําละลาย (ไมขึ้นกับชนิดของตัวถูก
Pressure

▪ A นอย (solute): Henry’s Law ละลาย)


PB
▪ B มาก (solvent): Raoult’s Law 11. การลดตํา่ํ ลงของความดนไอ
ั ไ
P

PA

2. การสูงขึ้นของจุดเดือด
0.00 0.25 0.50 0.75 1.00  เมื่อ xA มาก
| | | | |

xA
▪ A มาก (solvent): Raoult’s Law 3. การลดต่ําลงของจุดเยือกแข็ง
4. ความดันออสโมติก
▪ B นอย (solute): Henry’s Law
41 42

7
1. การลดต่ําลงของความดันไอ
 ถาสารละลายมี solute ที่ไมระเหย ผิวหนาสารละลายจะมี  การคํานวณหาความดันไอที่ลดต่ําลง
จํานวนโมเลกุลของ solvent นอยลง เพราะมีโมเลกุล
solute ปะปนอยู ▪ ตัวทําละลายบริสุทธิ์ P = P°solvent
▪ ตัวทําละลาย+ตัวถูกละลาย
Psolution = XsolventP°solvent
▪ ความดันไอที่ลดต่ําลง
P = P°solvent – XsolventP°solvent
 Raoult’s Law: Psolution = XsolventP°solvent P = (1–Xsolvent) P°solvent
P = Xsolute P°solvent
43 44

ตัวอยาง การลดลงของความดันไอ 2. การสูงขึ้นของจุดเดือด และ


 สารละลายประกอบดวยซูโครส (C12H22O11) หนัก การลดต่ําลงของจุดเยือกแข็ง
68 g ในน้ํา 1 kg ที่อุณหภูมิ 28°C ความดันไอของ
 เมื่อความดันไอของสารเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจาก
น้ําบริสุทธิ์ที่อุณหภูมินี้มีคาเทากับ 28.35 torr จงหา อิทธิพลของตัวถูกละลาย จุดเดือดและจุดเยือกแข็ง
ความดันไอของสารละลาย ก็จะเปลี่ยนไปดวย
▪ จุดเดือด (boiling point) คือ สภาวะที่ของเหลวและแกส
อยูในสมดุลกัน
▪ จุดเยือกแข็ง (freezing point) คือ สภาวะที่ของแข็งและ
ของเหลวอยูในสมดุลกัน

45 46

Phase Diagrams of Pure Solvent & Solution


 อุณหภูมิที่จุดเดือด (Boiling point Temperature, TB) เมื่อความดันไอของตัวทําละลายเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากความ
และ อุณหภูมิที่จุดเยือกแข็ง (Freezing point เขมขนของตัวถูกละลาย phase diagram จะเปลี่ยนแปลง
Temperature, Tf) ของสารขึ้นกับความดัน
▪ คาจุดเดือดที่เพิ่มขึ้น(Tb)
▪ ที่ ความดัน 1 atm อุณหภูมิ Phase Diagram

Tb  Tb'  Tb
ที่จุดเดือดและจุดเยือกแข็ง Solution
เรียกวา จุดเดือดปกติ ▪ คาจุดเยือกแข็งที่ลดลง(Tf)
(normal boiling point) และ 1 atm T f  T f  T f'
จุดเยือกแข็งปกติ (normal Tf Tb ทั้ง Tb และ Tf มีคาเปนบวก
Tf TB
freezing point) Tf’ Tb’
47 48

8
 คา Tb และ Tf ที่เปลี่ยนแปลงไปขึ้นกับความเขมขน  kb คือคาอุณหภูมิจุดเดือดของสารละลายที่เพิ่มขึ้น
ของตัวถูกละลาย(solute)ในตัวทําละลาย(solvent) เมื่อมี solute 1 โมล ละลาย ใน solvent 1 kg
Tb= kb·m Tf= kf·m
 kf คือคาอุณหภูมิจุดเยือกแข็งของสารละลายที่ลดลง
 kb = molal boiling point constant  kf = molal freezing point constant
เมื่อมี solute 1 โมล ละลาย ใน solvent 1 kgg
 m = solute molality (mol/kg)  m = solute molality (mol/kg) สาร Tf (°C) kf (°C/m) Tb (°C) kb (°C/m)
Water 0.00 1.853 100.00 0.515
T’b = Tb + Tb T’f = Tf  Tf
(solution) (solvent) (solution) (solvent) Benzene 5.53 5.12 80.10 2.53
CCl4 -22.95 29.8 76.75 4.48
 คา kf และ kb เปนคาคงที่ที่ขึ้นกับชนิดของตัวทําละลาย
49
Camphor 178.75 37.7 207.42 5.61 50

แบบฝกหัด แบบฝกหัด
 จงเปรียบเทียบ Tb และ Tb ของสารละลายตอไปนี้  จงหาจุดเดือดของสารละลายซึ่งประกอบดวยตัวถูก
ตัวทําละลาย ตัวถูกละลาย* molality ละลายหนัก 28.0 กรัม (MW=64) ในน้ํา 850 กรัม
Water น้ําตาล 0.5
Water Ethylene glycol 0.5
Water Ethylene glycol 1.0
CCl4 Ethylene glycol 1.0
* ตัวถูกละลายไมระเหยและไมแตกตัว

51 52

แบบฝกหัด 3. ความดันออสโมติก
 เมื่อตัวถูกละลายไมระเหยและไมแตกตัวหนัก 4.50 g  ความดันออสโมติกคือผลตางระหวางความดันของ
ละลายในน้ํา 125 g ไดสารละลายซึ่งมีจุดเยือกแข็ง สารละลายที่มีความเขมขนไมเทากันซึ่งแยกกันดวยเยื่อกึ่ง
ผาน (semipermeable membrane)
–0.372 °C จงหาน้ําหนักโมเลกุลของตัวถูกละลาย Semi-permeable Membrane

▪ ความสามารถของตัวทําละลายในการลอดผานเยื่อกึง่ ผานจะ
ลดลงเมื่อเมื่อความเขมขนของตัวถูกละลายที่ไมสามารถลอด
ผานเยื่อกึง่ ผานเพิ่มขึ้น ทําใหระดับของเหลวระหวางสองฝง
ของเยือ่ กึ่งผานมีคาไมเทากัน
53 54

9
 ผลตางของความสูงของสารละลายแปรผันโดยตรงกับ  ความดันออสโมติกระหวางตัวทําละลาย(C=0)และ
ผลตางความเขมขนของสารละลาย สารละลายซึ่งแยกออกจากกันดวยเยื่อกึ่งผาน
 เมื่อเพิ่มความดันใหกับสารดานที่มีความเขมขนสูง จะทํา สามารถหาไดจากกฎของ Van’t Hoff
ใหมีการเคลื่อนที่ยอนกลับ เรียกวา Reverse-Osmosis n
 ความดันที่ทําใหความสููงของสารทั้งสองฝงเทากัน เรียกวา V  nRT    RT
V
ความดันออสโมติก ()    CRT
h  = ความดันออสโมติก (atm)
CA CB CA CB
C = ความเขมขนของสารละลาย (mol/L)
R = คาคงที่ของแกส (0.0821 Latm/Kmol)
CA > CB h  CA – CB   h 55
T = อุณหภูมิ (K) 56

ตัวอยาง ความดันออสโมติก
 ที่อุณหภูมิ 4 °C สารละลายที่มีฮีโมโกบิน หนัก 80 g
ในสารละลาย 1 L มีความดันออสโมติก 0.026
atm จงหาน้ําหนักโมเลกุลของฮีโมโกบิน

57 58

สารละลายอิเล็กโทรไลต (Electrolyte solution) สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายอิเล็กโทรไลต


 สารอิเล็กโทรไลต: สารที่แตกตัวเปนไอออนเมื่อ อุณหภูมิจุดเยือกแข็งที่เปลี่ยนแปลงไปขึ้นกับความเขมขนของ
อยูในน้ํา ตัวถูกละลาย ?
 ตัวถูกละลายอาจแบงออกไดเปน สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต สารละลายอิเล็กโทรไลตแก
▪ สารอิเล็กโทรไลตแก (แตกตัวทั้งหมด) สาร m Tf, C สาร m Tf, C
▪ สารอิเล็กโทรไลตออน (แตกตัว  100%) Glycerin 0.100 0.187 HCl 0.100 0.352
Sucrose 0.100 0.188 KNO3 0.100 0.331
▪ สารนอนอิเล็กโทรไลต (ไมมีการแตกตัว)
Dextrose 0.100 0.186 KCl 0.100 0.345
 การแตกตัวของตัวถูกละลายที่เปนสารอิเล็กโทรไลต Sucrose 0.200 0.376 Na2SO4 0.100 0.434
จะทําใหความเขมขนของอนุภาคตัวถูกละลายเพิ่ม Dextrose 0.200 0.372 CaCl2 0.100 0.494
มากขึ้น สงผลถึงสมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลาย Dextrose 0.300 0.558 NiCl2 0.100 0.538
59 60

10
ตัวอยาง สมบัติคอลลิเกทีฟของสลล.อิเล็กโทรไลต
 สลล. HCl ความเขมขน 0.1 m  ความเขมขนของอนุภาคตัวถูกละลายอิเล็กโตรไลท
▪ กอนแตกตัว หลังแตกตัว ขึ้นกับจํานวนไอออนที่แตกตัวได
HCl  H (aq) + Cl(aq)
+ ▪ NaCl  Na+(aq) + Cl-(aq)
0.1 m 0.1 m 0.1 m Tf = kf  (2 x CNaCl)

▪ Na2SO4  2Na+(aq) + SO42- (aq)


Tf = kf  (3 x CNa2SO4)
 ในความเปนจริง การแตกตัวของสารอิเล็กโตรไลทจะลดลง
เมื่อความเขมขนเพิ่มขึ้น ทําใหคาการเปลี่ยนแปลงจุด
เดือดจุดหลอมเหลวที่วัดไดตางจากที่คํานวณได
61 62

Van’t Hoff Factor ผลของ i Factor ตอสมบัตคิ อลลิเกทีฟ


 Van’t Hoff Factor (i) คือจํานวนไอออนที่แตกตัวจริง  สมบัติคอลลิเกทีฟจะขึ้นกับจํานวนไอออนที่แตกตัว
ของตัวถูกละลายอิเล็กโตรไลท มีคาขึ้นกับความเขมขน (i)ไดจริงของตัวถูกละลายอิเล็กโตรไลท
▪ P = i xsolutePsolv
จํานวน i factor ที่ความเขมขน Tf = i Kf m
สาร ion ▪
01m
0.1 0 01 m 0.001
0.01 0 001 m dilute ▪ Tb = i Kbmm
กลูโคส 1 1 1 1 1 ▪  = i MRT
NaCl 2 1.87 1.94 1.97 2.00  เราสามารถหาคา i ไดจากสมบัติคอลลิเกทีฟที่วัดได
MgSO4 2 1.21 1.53 1.82 2.00 เชน
คา Tf ที่วัดไดของสารละลายอิเล็กโทรไลต
K2SO4 3 2.32 2.69 2.84 3.00 i = คา Tf ที่คํานวณไดของสารละลายนอนอิเล็กโทรไลต
63 64

i factor และปริมาณการแตกตัวเปน ion ตัวอยาง i-factor


 คาสัมประสิทธิ์การแตกตัว () หาไดจาก  NaCl มี i factor 1.87 จงคํานวณหา สปส. การแตกตัว
ปริมาณตัวถูกละลายที่แตกตัวจริง i 1
= 
ปริมาณตัวถูกละลายกอนการแตกตัว n  1
i = Van’t Hoff factor
n = จํานวนไอออนที่ไดจากการแตกตัวของตัวถูกละลาย
ไมมีการแตกตัว M=10
มีการแตกตัว 30% (=0.3)
รวม M = 7+(2x3) = 13
i  1    n i = 13/10 = 1.3
65 66

11
แบบฝกหัด
 ถาสารละลาย NaCl(aq) ความเขมขน 1 molal มีจุดเยือก
แข็ง -3.4 C จงหาคา สปส.การแตกตัวของ NaCl ใน
สารละลายนี้

67

12

You might also like