You are on page 1of 28

Micro credential 3: Matter

CHM 103 Fundamental chemistry

SOLUTION
Department of Chemistry, Faculty of Science, King Mongkut’s University of Technology Thonburi
2

สารละลาย  สมบัติคอลลิเกทีฟ (Colligative properties)


การลดลงของความดันไป
SOLUTION
(Lowering of vapor pressure)
การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด
(Increasing of boiling point)
การลดลงของจุดเยือกแข็ง
(Lowering of freezing point)
ความดันออสโมติก
(Osmotic pressure) 2
3

ส่ วนประกอบหลัก

แรงกระทำระหว่ ำง แรงกระทำระหว่ ำง
โมเลกุลของตัวทำละลำย โมเลกุลของตัวถูกละลำย

แรงกระทำระหว่ ำงโมเลกุลของตัว
ทำละลำยและตัวถูกละลำย
“Like dissolves Like”
5
4

“Like dissolves Like”

การละลาย (Dissolve) คือ การที่สารชนิดหนึ่ง (ตัวถูก


ละลาย) แตกตัวออกเป็นอนุภาคเล็กๆ โดยอนุภาคนี้อาจ
เป็นโมเลกุลหรือไอออนที่แทรกตัวโดยมีอนุภาคของสาร
ชนิดหนึ่ง (ตัวทาละลาย) ล้อมรอบ

โดยทั่วไป สารที่มีปริมาณโมลมากกว่าเป็นตัวทาละลาย
(Solvent) และสารที่มีปริมาณโมลน้อยกว่าเป็นตัวถูก
ละลาย (Solute)

5
5

ตัวถูกละลำย-ตัวถูกละลำย ตัวถูกละลำย-ตัวถูกละลำย
(ค่ ำ △H เป็ นบวก) (ค่ ำ △H เป็ นบวก) ตัวทำละลำย-ตัวถูกละลำย
(ค่ ำ △H เป็ นลบ)
ตัวทำละลำย-ตัวถูกละลำย
(ค่ ำ △H เป็ นลบ)
ตัวทำละลำย-ตัวทำละลำย ตัวทำละลำย-ตัวทำละลำย สำรละลำย
(ค่ ำ △H เป็ นบวก) (ค่ ำ △H เป็ นบวก)
△H ของสำรละลำย
ตัวถูกละลำย+ตัวทำละลำย ตัวถูกละลำย+ตัวทำละลำย
△Hsoln
(△H ของสำรละลำย)
สำรละลำย
(a) △Hsoln มีค่ำเป็ นลบ (b) △Hsoln มีค่ำเป็ นบวก
“คำยควำมร้ อน “ดูดควำมร้ อน
5
Exothermic” Endothermic”
6

• สภาพการละลาย หมายถึง ปริมาณ (กรัม) ของตัวถูกละลายที่สามารถละลายในตัว


ทาลายปริมาณ 100 กรัม ที่อุณหภูมนิ ั้นๆ
• ของ 2 ชนิดที่ผสมกันเป็นของ
เหลวเนื้อเดียวหรือละลายต่อกัน
โดยสมบูรณ์ (Miscibility)
รูปแสดงสภาพการละลายของตัวถูก
ละลายชนิดต่างๆที่ละลายในน้า 100
กรัม ณ อุณหภูมิที่แตกต่างกัน
6
7

กฏของเฮนรี Henry’s law


c
k  หรื อ c=kP
P

so lub ility1 so lub ility2


k  
P1 P2
c = ค่าสภาพการละลายของแก๊ส
Solubility of the gas (M)
k = ค่าคงที่ของกฎเฮนรี
Henry’s Law constant
P = ความดันย่อยของแก๊ส
Partial pressure of gas 7
8

โจทย์ที่ 1
สาหรับการเตรียมสารละลายอิ่มตัวของแก๊ส O2 จานวน 100 กรัม จะต้องมีการใช้สาร O2 จานวน
0.001 กรัม ที่อุณหภูมิ 20oC และความดัน 10 atm จงคานวณค่าคงที่ของกฎของเฮนรีของแก๊ส
ดังกล่าว
โมลของ O2 = 0.001 g / 32 g/mol = 3.13 x 10-5 mol
ปริมาตรของน้า H2O = 100 g x 1 g/mL = 100 mL
โมลาริตขี้ องแก๊ส O2 = (3.13 x 10-5 mol) x 1000/100 L = 3.13 x 10-4 mol/L

ค่าคงที่ของกฎของเฮนรี (k) = C/P = (3.13 x 10-4 mol/L) /10 atm


K = 3.13 x 10-5 M/atm
8
9

สมบัติคอลลิเกทีฟ คือ สมบัติของตัวทาละลายซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณของ


ตัวถูกละลายที่เติมลงไปแต่ไม่ขึ้นกับชนิดหรือธรรมชาติของตัวถูกละลาย
การลดลงของความดันไอ
การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด
การลดลงของจุดเยือกแข็ง
ความดันออสโมติก
9
10
CONCENTRATION UNIT
หน่วยความเข้มข้นที่เกี่ยวข้องในการคานวณ
สัดส่วนโดยโมล สัดส่วนโดยโมลของ A (xA) = โมลของสาร A (xA)
Mole fraction (x) ผลรวมของจานวนโมลของสารทั้งหมด
(xA + xB + xC + …..)
โมลาริตี้ โมลาริตี้ (M) = โมลของตัวถูกละลาย (molsolute)
Molarity (M) ปริมาตรของสารละลายในหน่วยลิตร (Vsolution)

โมแลลิตี้ โมแลลิตี้ (M) = โมลของตัวถูกละลาย (molsolute)


Molality (m) น้าหนักของตัวทาละลายในหน่วยกิโลกรัม (masssolvent)

10
11

Raoult’s Law PSolution = xSolventP°Solvent ตัวถูกละลายไม่สามารถระเหยได้

ความดันของสารละลาย = สัดส่วนโดยโมลของตัวทาละลาย x ความดันของตัวทาละลายบริสุทธิ์

Psolution = ความดันของสารละลาย
Psolvent = ความดันของตัวทาละลาย
บริสุทธิ์
xsolvent = สัดส่วนโดยโมลของตัวทา
ละลาย
สารละลายที่มีตัวถูกละลายที่
11
ตัวทาละลายบริสุทธิ์ ไม่สามารถระเหยได้
12

ตัวถูกละลายสามารถระเหยได้ xSolvent + xSolute = 1


Dalton’s Law
PSolution = PSolution A+ PSolution B
Psolution = ความดันของสารละลาย
Psolvent = ความดันของตัวทาละลาย
PSolution = xSolventP°Solvent + xSoluteP°Solute บริสุทธิ์
xsolvent = สัดส่วนโดยโมลของตัวทา
ละลาย
Psolvent = ความดันของตัวถูกละลาย

xsolvent = สัดส่วนโดยโมลของตัวถูก
ละลาย

สารละลาย A+B โดย B 12


สารละลาย A สารละลาย B เป็นตัวถูกละลายที่ระเหยได้
13

Raoult’s Law PSolution = xSolventP°Solvent ตัวถูกละลายไม่สามารถระเหยได้

Dalton’s Law PSolution = xSolventP°Solvent + xSoluteP°Solute


ตัวถูกละลายสามารถระเหยได้

13
14

โจทย์ที่ 2 ตัวถูกละลายไม่สามารถระเหยได้
คานวณหาความดันไอของสารละลายที่เตรียมจากการละลายซูโครส (น้าหนักโมเลกุลของซูโครส =
342.3 กรัม/โมล) จานวน 158.0 กรัม ในน้าปริมาณ 641.6 กรัม ที่อุณหภูมิ 25oC เมื่อกาหนดให้
ความดันไอของน้าบริสุทธิท์ ี่อุณหภูมิดังกล่าว คือ 23.76 mmHg

14
15

โจทย์ที่ 3 ตัวถูกละลายสามารถระเหยได้
คานวณหาความดันไอของสารละลายที่เตรียมจากการผสมเอทานอล (C2H6O) ปริมาณ 45 กรัม
ในน้า 350 กรัม ที่อุณหภูมิ 25oC เมื่อกาหนดให้ความดันไอของเอทานอลและน้าบริสุทธิท์ ี่อุณหภูมิ
ดังกล่าว คือ 61.2 และ 23.76 mmHg

15
16

โจทย์ที่ 4 ตัวถูกละลายไม่สามารถระเหยได้
ผสมตัวทาละลายเบนซีนน้าหนักโมเลกุล 78 กรัม/โมล จานวน 150 กรัม กับตัวถูกละลายชนิดหนึ่งที่ไม่
สามารถระเหยได้ จานวน 20 กรัม ที่อุณหภูมิ 30oC โดยที่ความดันไอของเบนซีนบริสุทธิ์และสารละลายที่
อุณหภูมิดังกล่าว คือ 210 และ 203 Torr ตามลาดับ จงคานวณหาน้าหนักโมเลกุลของตัวถูกละลาย

16
17

กำรเพิม่ ขึน้ ของจุดเดือด


o
T Tb
b △Tb = Tb - T b o

△Tb = Kbm
ควำมดัน

Tb = จุดเดือดของสารละลาย
Tob = จุดเดือดของสารละลายบริสุทธิ์
Kb = ค่าคงที่การเพิ่มขึ้นของจุดเดือดซึ่งขึ้นกับตัวทา
อุณหภูมิ
ละลาย (Molal boiling point elevation constant)
จุดเยือกแข็งของ จุดเยือกแข็งของ จุดเดือดของ จุดเดือดของ
สำรละลำย ตัวทำละลำย ตัวทำละลำย สำรละลำย m = โมแลลิตี้ (Molality)
18

กำรลดลงของจุดเยือกแข็ง
o
Tf T f
△Tf = T f - Tf o

ควำมดัน
△Tf = Kfm
Tf = จุดเยือกแข็งของสารละลาย
Tof = จุดเยือกแข็งของสารละลายบริสุทธิ์
Kf = ค่าคงที่การลดลงของจุดเยือกแข็งซึ่งขึ้นกับตัวทา อุณหภูมิ
ละลาย (Molal freezing point depression constant) จุดเยือกแข็งของ จุดเยือกแข็งของ จุดเดือดของ จุดเดือดของ
m = โมแลลิตี้ (Molality) สำรละลำย ตัวทำละลำย ตัวทำละลำย สำรละลำย
19

โจทย์ที่ 5
คานวณหาจุดเยือกแข็งของสารละลายที่เตรียมจากการผสมของสารเอทิลีนไกลคอล (Antifreezing)
จานวน 478 กรัม ในน้าปริมาณ 3,202 กรัม เมื่อกาหนดให้น้าหนักโมเลกุลของเอทิลีนไกลคอล คือ
62.01 กรัม/โมล และค่า Kf ของน้า เท่ากับ 1.86oC/m

19
20

โจทย์ที่ 6
คานวณหาจุดเยือกแข็งและจุดเดือดของสารละลายที่เตรียมจากการผสมของสารชนิดหนึ่งที่มีน้าหนัก
โมเลกุล 342 กรัม/โมล จานวน 50 กรัม กับน้าปริมาณ 200 กรัม เมื่อกาหนดให้ค่า Kf = 1.86oC/m
และ Kb = 0.513oC/m

20
21

โจทย์ที่ 6
คานวณหาจุดเยือกแข็งและจุดเดือดของสารละลายที่เตรียมจากการผสมของสารชนิดหนึ่งที่มีน้าหนัก
โมเลกุล 342 กรัม/โมล จานวน 50 กรัม กับน้าปริมาณ 200 กรัม เมื่อกาหนดให้ค่า Kf = 1.86oC/m
และ Kb = 0.513oC/m

21
22

โจทย์ที่ 7
สารละลายชนิดหนึ่งเตรียมโดยละลายแนฟทาลีน (C10H8) ซึ่งเป็นสารที่ไม่สามารถระเหยได้ ปริมาณ 0.32 กรัม ในตัวทา
ละลายเบนซีน (C6H6) 25 กรัม ที่อุณหภูมิ 26.1 oC จงคานวณค่าความดันไอของสารละลายและจุดเยือกแข็งของ
สารละลาย เมื่อกาหนดให้ความดันไอของตัวทาละลายเบนซีนบริสุทธิ์เท่ากับ 100 Torr และค่า Kb = 2.67 oC/m, Kf =
5.12 oC/m และ Tof ของ Benzene = 5.5 oC

22
23

Π  MRT
โมเลกุลตัว
ถูกละลาย 𝚷 = แรงดันออสโมติก
โมเลกุลตัว Osmotic pressure
ทาละลาย
M = โมลาริตี้
Molarity
R = ค่าคงที่ มีค่า
0.08206 L.atm/mol.K
(จะใช้เมื่อค่า 𝚷 มีหน่วย
เป็น atm )

23
24

โจทย์ที่ 8
สารละลายปริมาตร 50.00 mL ประกอบด้วยเซรั่ม Albumin 2.50 g เมื่อสารละลายดังกล่าวมี
Osmotic pressure 5.00 mmHg ที่อุณหภูมิ 298 K จงคานวณมวลโมเลกุลของเซรั่ม
จาก 𝚷 = MRT จะได้ว่า Mw = (2.50 g)(0.08206 L.atm/mol.K)
𝚷 = n RT/V (5/760 mmHg)(50/1000 mL)
𝚷V = n RT
𝚷V = g RT/Mw Mw = 1.86 x 105 g/mol

ดังนั้น Mw = g RT/ 𝚷V

24
25

Electrolyze solutions: NaCl(s)  Na+(aq) + Cl-(aq)


0.100 m 0.100 m 0.100 m

0.200 m total

Tbp  i Kbp m
Tfp  i K fp m
ตัวทำละลำย ่ ตวั
สำรละลำยทีมี
บริสุทธิ ์ ่
ถู กละลำยทีไม่ Psolvent  i X solvent P 
solvent
สำมำรถระเหยได้

เมื่อ i = Van’t Hoff Factor p = i MRT


25
26

Electrolyze solutions
ตัวอย่างการคานวณหาค่า i
NaCl(s)  Na+(aq) + Cl-(aq)
1 ion + 1 ion = 2 ions
ipredicted = 2

Na2SO4(s)  2 Na+(aq) + SO42-(aq)


2 ions + 1 ion = 3 ions
ipredicted = 3
26
27

Electrolyze solutions
ตัวอย่างการคานวณหาค่า i
1 mol CH3OH(aq) = 1 mole of ion ในสำรละลำย
1 mol KCl(aq) = 2 mol of ions ในสำรละลำย (K+ + Cl-)
1 mol CaCl2(aq) = 3 mol of ions ในสำรละลำย (Ca2+ + 2 Cl-)
2 mol KCl(aq) = 4 mol of ions ในสำรละลำย (2 K+ + 2 Cl-)

i = moles ions produced per mole compound in H2O


CH3OH i=1
NaCl i=2
CaCl2 i=3 27
28

โจทย์ที่ 9
คานวณหาจุดเยือกแข็งของสารละลายที่มีการผสมน้า 200 กรัม กับ (ก) CH3OH ปริมาณ
0.1 mol; (ข) NaCl ปริมาณ 6 กรัม (0.1 mol) และ (ค) MgF2 6 กรัม (0.1 mol) เมื่อ Kf
ของน้า คือ 1.86oC/m
(ก) จากค่า iCH3OH = 1 (ข) จากค่า iNaCl = 2 (ค) จากค่า iMgF2 = 3
△Tf = i Kf m △Tf = i Kf m △Tf = i Kf m
= (1)(1.86oC/m)(0.5 m) = (2)(1.86oC/m)(0.5 m) = (3)(1.86oC/m)(0.5 m)
= 0.93oC = 1.86oC = 2.79oC
จาก △Tf = Tof – Tf จาก △Tf = Tof – Tf จาก △Tf = Tof – Tf
Tf = 0.00-0.93 = -0.93oC Tf = 0.00-1.86 = -1.86oC Tf = 0.00-2.79 = -2.79oC
28

You might also like