You are on page 1of 309

23-Jan-24

สารละลาย (Solution)
รศ.ดร. พัชรีนารถ ทรัพย์อาภากร

สารละลาย (Solution) 2

• สารละลาย คือ สารผสมเนื้อเดียวของสารสองหรือมากกว่าสองชนิด


• ส่วนประกอบของสารละลาย: สารบริสุทธิ์ (แก๊ส ของเหลว หรือ
ของแข็ง)
• ส่วนประกอบที่มีปริมาณมากกว่า เรียกว่า ตัวทาละลาย (Solvent)
• ส่วนประกอบที่มีปริมาณน้อยกว่า เรียกว่า ตัวถูกละลาย (Solute)

1
23-Jan-24

3
ชนิดของสารละลาย
• แบ่งสารละลายออกตามประเภทของตัวทาละลายและตัวถูกละลาย ได้ 9 ชนิด
สารละลาย ตัวถูกละลาย ตัวทาละลาย ตัวอย่าง
แก๊ส แก๊ส อากาศ แก๊สผสมต่างๆ
แก๊ส ของเหลว แก๊ส น้าในอากาศ
ของแข็ง แก๊ส ไอโอดีนในอากาศ Soda water
แก๊ส ของเหลว CO2 ในน้า (น้าโซดา)
ของเหลว ของเหลว ของเหลว เอทิลแอลกอฮอล์ในน้า
ของแข็ง ของเหลว เกลือ (NaCl) ในน้า
แก๊ส ของแข็ง H2 ใน แพลเลเดียม

ของแข็ง ของเหลว ของแข็ง ปรอทในสังกะสี


ของแข็ง ของแข็ง
โลหะเจือทองแดงกับ
สังกะสี (ทองเหลือง)

ชนิดของสารละลาย 4

• หรือแบ่งชนิดของสารละลายตามความสามารถในการละลายตัวถูกละลาย
สารละลายไม่อิ่มตัว (Unsaturated solution)
คือสารละลายที่มีตัวถูกละลายน้อยกว่าความสามารถที่จะ
ละลายได้ในตัวทาละลาย
สารละลายอิ่มตัว (Saturated solution)
คือสารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่สูงสุดที่จะละลายได้ใน
ตัวทาละลาย ณ อุณหภูมิหนึ่ง
สารละลายอิ่มตัวยิ่งยวด (Supersaturated solution)
คือสารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายมากกว่า
สารละลายอิ่มตัว

2
23-Jan-24

ชนิดของสารละลาย 5

สารละลายอิ่มตัวยิ่งยวด (Supersaturated solution)

ความเข้มข้นของสารละลาย 6

• สารละลายไม่อิ่มตัวแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
สารละลายเจือจาง (Dilute solution)
คือสารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายน้อย
สารละลายเข้มข้น (Concentrated solution)
คือสารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายมาก
• ความเข้มข้นของสารละลาย (Concentration)
คือ ปริมาณของตัวถูกละลายซึ่งละลายอยู่ในสารละลายจานวนหนึ่ง

3
23-Jan-24

หน่วยของความเข้มข้น 7

• เปอร์เซ็นต์
- ร้อยละโดยน้าหนัก (percent by weight)
- ร้อยละโดยปริมาตร (percent by volume)
- ร้อยละโดยน้าหนักต่อปริมาตร (percent weight by volume)
• โมลาริตี (Molarity, M)
• โมแลลลิตี (Molality, m)
• เศษส่วนโมล (Mole fraction, X)
• ส่วนในล้านส่วน (ppm) และ ส่วนในพันล้านส่วน (ppb)

หน่วยของความเข้มข้น 8

• เปอร์เซ็นต์
ร้อยละโดยน้าหนัก (percent by weight, %w/w)
หมายถึง น้าหนักตัวถูกละลายต่อน้าหนักสารละลาย 100 หน่วยน้าหนักเดียวกัน
มวลของตัวถูกละลาย x 100%
ร้อยละโดยน้าหนัก =
มวลของตัวถูกละลาย + มวลของตัวทาละลาย

มวลของตัวถูกละลาย x 100%
ร้อยละโดยน้าหนัก =
มวลของสารละลาย
เช่น สารละลายโซเดียมคลอไรด์ 3%
คือสารละลายที่มี โซเดียมคลอไรด์ 3 กรัม รวมกับน้า 97 กรัม เป็นสารละลาย 100 กรัม

4
23-Jan-24

หน่วยของความเข้มข้น 9

• เปอร์เซ็นต์
ร้อยละโดยปริมาตร (percent by volume, %v/v)
หมายถึง ปริมาตรตัวถูกละลายต่อปริมาตรสารละลาย 100 หน่วย
ปริมาตรของตัวถูกละลาย x 100%
ร้อยละโดยปริมาตร =
ปริมาตรของสารละลาย

ร้อยละโดยน้าหนักต่อปริมาตร (percent weight by volume, %w/v)


หมายถึง น้าหนักตัวถูกละลายต่อปริมาตรสารละลาย 100 หน่วย
น้าหนักของตัวถูกละลาย x 100%
ร้อยละโดยน้าหนักต่อปริมาตร =
ปริมาตรของสารละลาย

แบบฝึกหัด 10

จงคานวณหาร้อยละโดยน้าหนักของสารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl) เมื่อ


ละลาย KCl น้าหนัก 0.892 กรัมด้วยน้าที่มีน้าหนัก 54.6 กรัม
วิธีทา ร้อยละโดยน้าหนัก =
มวลของตัวถูกละลาย x 100%
มวลของสารละลาย

ร้อยละโดยน้าหนักของ KCl = มวลของ_____ X 100 %


มวลของ ____+ มวลของ____

5
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 11

จงคานวณหาร้อยละโดยน้าหนักของเมทานอลปริมาตร 2 L ในไดเอทิลอีเทอร์
ปริมาตร 3.5 L %w/w
(กาหนดให้ ความหนาแน่นของเมทานอลเท่ากับ 0.80 g/cm3 และ ความหนาแน่นของได
เอทิลอีเทอร์เท่ากับ 0.71 g/cm3)
วิธีทา ร้อยละโดยน้าหนักของเมทานอล = มวลของเมทานอล X 100 %
มวลของเมทานอล + มวลของไดเอทิลอีเทอร์
หา มวลของเมทานอล และ มวลของไดเอทิลอีเทอร์ ??
จากโจทย์
ปริมาตรของเมทานอล เท่ากับ 2 ลิตร และ ปริมาตรของไดเอทิลอีเทอร์เท่ากับ 3.5 ลิตร
ความหนาแน่น = มวล หรือ D = m
ปริมาตร V

แบบฝึกหัด 12

จงคานวณหาร้อยละโดยน้าหนักของเมทานอลปริมาตร 2 L ในไดเอทิลอีเทอร์
ปริมาตร 3.5 L
(กาหนดให้ ความหนาแน่นของเมทานอลเท่ากับ 0.80 g/cm3 และ ความหนาแน่นของได
เอทิลอีเทอร์เท่ากับ 0.71 g/cm3)
วิธีทา มวลของเมทานอล; มวลของไดเอทิลอีเทอร์;

มวลของเมทานอล = _______ g มวลของไดเอทิลอีเทอร์ = ______ g

ร้อยละโดยน้าหนักของเมทานอล =

6
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 13

จะต้องเติมซูโครส (C6H12O6) กี่กรัม ลงในสารละลายซูโครสจานวน 0.400 Kg


ซึ่งมีความเข้มข้น 10% โดยน้าหนักเพื่อให้ความเข้มข้นของสารละลายเป็น
20% โดยน้าหนัก
วิธีทา ซูโครส 10% โดยน้าหนัก;
10 % = มวลของซูโครส X 100
มวลของสารละลาย 0.400 Kg
มวลของซูโครส =

=
ซูโครส 10% โดยน้าหนัก มี ซูโครส เท่ากับ __________ กรัม

แบบฝึกหัด 14

จะต้องเติมซูโครส (C6H12O6) กี่กรัม ลงในสารละลายซูโครสจานวน 0.400 Kg ซึ่งมีความ


เข้มข้น 10% โดยน้าหนักเพื่อให้ความเข้มข้นของสารละลายเป็น 20% โดยน้าหนัก
วิธีทา เพื่อทาให้ เป็น ซูโครส 20% โดยน้าหนัก;
กาหนดให้เติมซูโครสเพิ่ม X กรัม
20 % = มวลของซูโครสเดิม + มวลของซูโครสที่เติมเพิ่ม X 100
มวลของสารละลายเดิม + มวลของซูโครสที่เติมเพิ่ม

ดังนั้นต้องเติมซูโครสเพิ่ม เท่ากับ _____ กรัม

7
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 15

ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย NaOH 20% โดยปริมาตร จานวน 200 mL จงหา


ปริมาตรของ NaOH และน้าที่ต้องใช้ในการเตรียมสารละลายนี้
วิธีทา ร้อยละโดยปริมาตร = ปริมาตรของตัวถูกละลาย x 100%
ปริมาตรของสารละลาย

ปริมาตรของ NaOH = ______ mL


ดังนั้น เตรียมได้โดย เติม NaOH ปริมาตร _________ mL
และ เติมน้าเพิ่มอีกเท่ากับ ______________ mL

หน่วยของความเข้มข้น 16

• โมลาริตี (Molarity, M)
- เป็นการบอกความเข้มข้นของสารละลายในอัตราส่วนจานวนโมลของ
ตัวถูกละลายต่อปริมาตรสารละลาย 1 ลิตร
โมลของตัวถูกละลาย
โมลาริตี =
ปริมาตรของสารละลาย (ลิตร)

- หน่วย คือ โมลาร์ (M) หรือ โมล/ลิตร หรือ mol/L


เช่น สารละลาย 2 M H2SO4
คือในสารละลาย 1 ลิตร มี H2SO4 2 โมล หรือ 2 x 98 กรัม
H2SO4 1 โมล มีมวลโมเลกุล เท่ากับ 98 กรัม

8
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 17

ละลาย 0.20 โมล HCl ในน้าจนมีปริมาตรของสารละลายรวม 2 ลิตร


สารละลายนี้มีความเข้มข้นกี่โมลาร์
วิธีทา โมลของตัวถูกละลาย
โมลาริตี =
ปริมาตรของสารละลาย (ลิตร)

โมลาริตี =

ดังนั้น สารละลายนี้มีความเข้มข้นเท่ากับ ______ โมลาร์

หน่วยของความเข้มข้น 18

• โมแลลลิตี (Molality, m)
- เป็นการบอกความเข้มข้นของสารละลายในอัตราส่วนจานวนโมลของตัวถูก
ละลายต่อน้าหนักของตัวทาละลาย 1 กิโลกรัม (1000 กรัม)
โมลของตัวถูกละลาย
โมแลลลิตี =
มวลของตัวทาละลาย (กิโลกรัม)

- หน่วย คือ โมแลล (m) หรือ โมล/กิโลกรัม หรือ mol/Kg


เช่น สารละลาย 2 m C6H12O6
คือ สารละลายที่มี C6H12O6 2 โมล หรือ (2 x 180) = 360 กรัม ในน้า 1000 กรัม
C6H12O6 1 โมล มีมวลโมเลกุล เท่ากับ 180 กรัม

9
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 19

ละลาย 0.20 โมล HCl ในน้า 2000 กรัม สารละลายนี้มีความเข้มข้นกี่โมแลล


วิธีทา โมลของตัวถูกละลาย
โมแลลลิตี =
มวลของตัวทาละลาย (กิโลกรัม)

โมแลลลิตี =

ดังนั้น สารละลายนี้มีความเข้มข้นเท่ากับ ______ โมแลล

แบบฝึกหัด 20

สารละลาย 0.1 M H2SO4 ปริมาตร 250 cm3 มี H2SO4 กี่กรัม


วิธีทา จากโจทย์ 0.1 M H2SO4 ;
สารละลาย H2SO4 1000 cm3 มี H2SO4 เท่ากับ ________ โมล
“ 250 cm3 มี H2SO4 =

H2SO4 1 โมล มีมวลเท่ากับ 98 กรัม (มวลโมเลกุล H2SO4 เท่ากับ 98 กรัม/โมล)


H2SO4 ___ โมล มีมวล =

 สารละลาย 0.1 M H2SO4 ปริมาตร 250 cm3 มี H2SO4 _______ กรัม

10
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 21

จะต้องเตรียมสารละลาย 6 M H2SO4 มากี่ลิตร เพื่อเตรียมสารละลาย 2.5 M


H2SO4 10 ลิตร
วิธีทา หรือ จาก ความเข้มข้น (โมลาร์) = จานวนโมล
ปริมาตร (ลิตร)
จานวนโมล = ความเข้มข้น (โมลาร์) x ปริมาตร (ลิตร)
(C) (V)
จานวนโมลของ สารละลาย 6 M H2SO4 = จานวนโมลของ สารละลาย 2.5 M H2SO4

 ต้องเอาสารละลาย 6 M H2SO4 มา ________ ลิตร

แบบฝึกหัด 22
ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย 0.10 M CuSO4 ปริมาตร 500 cm3 จากเกลือ
CuSO4.5H2O และน้าบริสุทธิ์ จะต้องชั่ง CuSO4.5H2O และ เติมน้าเท่าไหร่
(กาหนดให้ มวลโมเลกุลของ CuSO4.5H2O = 250 g/mol)
วิธีทา สารละลาย 0.10 M CuSO4 ปริมาตร 500 cm3
➔ จานวนโมลของ CuSO4 เท่ากับ

จากโจทย์ มวลโมเลกุลของ CuSO4.5H2O = 250 g/mol


ถ้าต้องการ CuSO4.5H2O จานวน ________ mol
ต้องชั่ง CuSO4.5H2O เท่ากับ

ต้องชั่ง CuSO4.5H2O เท่ากับ _______กรัม และเติมน้าจนมีปริมาตรเท่ากับ 500 cm3

11
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 23
ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย 0.10 M CuSO4 ปริมาตร 500 cm3 จากเกลือ
CuSO4.5H2O และน้าบริสุทธิ์ จะต้องชั่ง CuSO4.5H2O และ เติมน้าเท่าไหร่
(กาหนดให้ มวลโมเลกุลของ CuSO4.5H2O = 250 g/mol)
วิธีทา
ต้องชั่ง CuSO4.5H2O เท่ากับ 12.5 กรัม และเติมน้าจนมีปริมาตรเท่ากับ 500 cm3

ชั่ง CuSO4.5H2O
เท่ากับ 12.5 กรัม น้าบริสุทธิ์

แบบฝึกหัด 24

จงคานวณความเข้มข้นของสารละลายกรด H2SO4 ในหน่วยโมแลล ถ้า H2SO4


24.4 กรัม ละลายอยู่ในน้า 198 กรัม
(กาหนดให้ มวลโมเลกุลของ H2SO4 = 98 g/mol)
วิธีทา ใช้วิธีตัดหน่วย

12
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 25
จงคานวณความเข้มข้นของสารละลายกรดไนตริกในหน่วยโมแลล ถ้า HNO3 95
กรัม ละลายอยู่ในสารละลายซึ่งมีน้าหนักรวมเท่ากับ 298 กรัม
วิธีทา โมลของตัวถูกละลาย
โมแลลลิตี =
มวลของตัวทาละลาย (กิโลกรัม)
จากโจทย์ HNO3 95 กรัม มีจานวนโมลเท่ากับ = _____ โมล

(มวลโมเลกุลของ HNO3 = 63 กรัม/โมล)

สารละลายรวมน้าหนัก 298 กรัม มี HNO3 _________ กรัม


 ตัวทาละลายหนัก = ______________ = _________ กรัม

แบบฝึกหัด 26
จงคานวณความเข้มข้นของสารละลายกรดไนตริกในหน่วยโมแลล ถ้า HNO3 95
กรัม ละลายอยู่ในสารละลายซึ่งมีน้าหนักรวมเท่ากับ 298 กรัม
วิธีทา โมลของตัวถูกละลาย
โมแลลลิตี =
มวลของตัวทาละลาย (กิโลกรัม)

โมแลลลิตี =

ความเข้มข้นของสารละลายกรดไนตริกเท่ากับ _______โมแลล

13
23-Jan-24

หน่วยของความเข้มข้น 27

• เศษส่วนโมล (Mole fraction, X)


- เป็นการบอกความเข้มข้นของสารละลายในอัตราส่วนจานวนโมลของ
องค์ประกอบในสารละลายต่อจานวนโมลทั้งหมดของสารละลาย
- เช่น เศษส่วนโมลของสาร A ในสารละลาย
จานวนโมลของสาร A
เศษส่วนโมลของ A (XA) =
จานวนโมลทั้งหมดของสารละลาย

- เศษส่วนโมล ไม่มีหน่วย

หน่วยของความเข้มข้น 28

• เศษส่วนโมล (Mole fraction, X)


- เช่น กาหนดให้สารละลายประกอบด้วย สาร A และ สาร B
จานวนโมลของสาร A
เศษส่วนโมลของ A (XA) =
จานวนโมลของสาร A + จานวนโมลของสาร B

จานวนโมลของสาร B
เศษส่วนโมลของ B (XB) =
จานวนโมลของสาร A + จานวนโมลของสาร B

XA + X B = 1

14
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 29

จงคานวณหาเศษส่วนโมลของแต่ละองค์ประกอบในสารละลายที่ประกอบด้วย 10.0 g ของ


pentane (C5H12), 10.0 g ของ hexane (C6H14), และ 10.0 g ของ benzene (C6H6)
วิธีทา จานวนโมลของสาร A
เศษส่วนโมลของ A (XA) =
จานวนโมลทั้งหมดของสารละลาย
หาจานวนโมลของแต่ละองค์ประกอบ mol = mass (g)
M.W. (g/mol)
องค์ประกอบ น้าหนัก มวลโมเลกุล จานวนโมล
(กรัม) (กรัม/โมล)
C5H12 10.0 จานวนโมลรวม
C6H14 10.0 =
C6H6 10.0

แบบฝึกหัด 30

จงคานวณหาเศษส่วนโมลของแต่ละองค์ประกอบในสารละลายที่ประกอบด้วย 10.0 g ของ


pentane (C5H12), 10.0 g ของ hexane (C6H14), และ 10.0 g ของ benzene (C6H6)
วิธีทา องค์ประกอบ น้าหนัก
(กรัม)
มวลโมเลกุล
(กรัม/โมล)
จานวนโมล
จานวนโมลรวม
C5H12 10.0 72 = 10.0 / 72 = 0.138 = 0.138 + 0.116 + 0.128
C6H14 10.0 86 = 10.0 / 86 = 0.116 = 0.382 โมล
C6H6 10.0 78 = 10.0 / 78 = 0.128

เศษส่วนโมลของ C5H12 =

เศษส่วนโมลของ C6H14 =

เศษส่วนโมลของ C6H6 =

15
23-Jan-24

หน่วยของความเข้มข้น 31

• ส่วนในล้านส่วน (parts per million, ppm, 10−6)


- นิยมใช้การบอกค่าปนเปื้อนของสาร โดยสามารถคานวณได้ดังนี้
น้าหนักตัวถูกละลาย **หน่วยของนำ้ หนักทัง้ ตัวถูก
ppm = x 106 ละลำย และสำรละลำยจะต้องเป็ น
น้าหนักสารละลาย หน่วยเดียวกัน
- กรณีที่ใช้น้าเป็นตัวทาละลาย (ความหนาแน่น=1g/cm3)
น้าหนักตัวถูกละลาย 6
**กรณีทสี่ ำรละลำยเจือจำงมำก;
ppm = x 10 นำ้ หนักสำรละลำย=นำ้ หนักตัวทำละลำย,
ปริมาตรของสารละลาย ปริมำตรสำรละลำย=ปริมำตรตัวทำละลำย

- หรือนิยมใช้เป็นหน่วย mg/L (g/mL, mg/kg, g/g)


เช่น 1 mg/L หรือ 1 ppm คือ 1 มิลลิกรัม ใน 1 ล้ำนมิลลิกรัม

หน่วยของความเข้มข้น 32

• ส่วนในพันล้านส่วน (parts per billion, ppb, 10−9)


- นิยมใช้การบอกค่าปนเปื้อนของสาร โดยสามารถคานวณได้ดังนี้
น้าหนักตัวถูกละลาย **หน่วยของนำ้ หนักทัง้ ตัวถูก
ppb = x 109 ละลำย และสำรละลำยจะต้องเป็ น
น้าหนักสารละลาย หน่วยเดียวกัน
- กรณีที่ใช้น้าเป็นตัวทาละลาย (ความหนาแน่น=1g/cm3)
น้าหนักตัวถูกละลาย 9
**กรณีทสี่ ำรละลำยเจือจำงมำก;
ppb = x 10 นำ้ หนักสำรละลำย=นำ้ หนักตัวทำละลำย,
ปริมาตรของสารละลาย ปริมำตรสำรละลำย=ปริมำตรตัวทำละลำย

- หรือนิยมใช้เป็นหน่วย g/L (ng/mL, g/kg, ng/g)


เช่น 1 g/L หรือ 1 ppb คือ 1 มิลลิกรัม ใน 1 พันล้ำนมิลลิกรัม

16
23-Jan-24

หน่วยของความเข้มข้น 33

(%w/w)

(%v/v)

(%w/v)

(M) (m)

แบบฝึกหัด 34

เมื่อละลาย NaOH 4 g ด้วยน้า 500 g เพื่อให้ได้สารละลายที่มีความหนาแน่น


เท่ากับ 1.2 g/cm3 (กาหนดให้ M.W. ของ NaOH เท่ากับ 40 g/mol)
จงคานวณหา 1) ความเข้มข้นในหน่วย M
2) ความเข้มข้นในหน่วย m
3) เศษส่วนโมลของ NaOH ในสารละลาย

17
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 35

เมื่อละลาย NaOH 4 g ด้วยน้า 500 g เพื่อให้ได้สารละลายที่มีความหนาแน่น


เท่ากับ 1.2 g/cm3 (กาหนดให้ M.W. ของ NaOH เท่ากับ 40 g/mol)
วิธีทา 1) ความเข้มข้นในหน่วย M
หาจานวนโมลของ NaOH; (M)
mol = mass (g) =
M.W. (g/mol)
หาปริมาตรของสารละลายรวม; D = m
จากโจทย์ น้าหนักของ NaOH + น้าหนักของน้า = ____________g V
ปริมาตรของสารละลายรวม = น้าหนัก = g = cm3
g/cm 3
ความหนาแน่น

แบบฝึกหัด 36

เมื่อละลาย NaOH 4 g ด้วยน้า 500 g เพื่อให้ได้สารละลายที่มีความหนาแน่น


เท่ากับ 1.2 g/cm3 (กาหนดให้ M.W. ของ NaOH เท่ากับ 40 g/mol)
วิธีทา 1) ความเข้มข้นในหน่วย M

(M)

โมลาริตี =

 สารละลายนี้มีความเข้มข้นเท่ากับ _________ M

18
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 37

เมื่อละลาย NaOH 4 g ด้วยน้า 500 g เพื่อให้ได้สารละลายที่มีความหนาแน่น


เท่ากับ 1.2 g/cm3 (กาหนดให้ M.W. ของ NaOH เท่ากับ 40 g/mol)
วิธีทา 2) ความเข้มข้นในหน่วย m
(m)

โมแลลิตี =

 สารละลายนี้มีความเข้มข้นเท่ากับ _________ m

แบบฝึกหัด 38

เมื่อละลาย NaOH 4 g ด้วยน้า 500 g เพื่อให้ได้สารละลายที่มีความหนาแน่น


เท่ากับ 1.2 g/cm3 (กาหนดให้ M.W. ของ NaOH เท่ากับ 40 g/mol)
วิธีทา 3) เศษส่วนโมลของ NaOH ในสารละลาย

หาจานวนโมลของ NaOH;
mol = mass (g)
M.W. (g/mol)
หาจานวนโมลของ H2O;
mol = mass (g)
M.W. (g/mol)

19
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 39

เมื่อละลาย NaOH 4 g ด้วยน้า 500 g เพื่อให้ได้สารละลายที่มีความหนาแน่น


เท่ากับ 1.2 g/cm3 (กาหนดให้ M.W. ของ NaOH เท่ากับ 40 g/mol)
วิธีทา 3) เศษส่วนโมลของ NaOH ในสารละลาย
XNaOH = n NaOH
n NaOH + n H2O
จานวนโมลของ NaOH = 0.1 mol จานวนโมลของ H2O = 27.78 mol

XNaOH = n NaOH
n NaOH + n H2O

 เศษส่วนโมลของ NaOH ในสารละลาย เท่ากับ _______

แบบฝึกหัด 40

จงหาเศษส่วนโมลของ NaCl และ H2O ในสารละลาย NaCl เข้มข้น 3.0 m


วิธีทา จากโจทย์ สารละลาย NaCl เข้มข้น 3.0 m;
ตัวทาละลาย (H2O) 1000 g มี NaCl เท่ากับ ____ mol
ตัวทาละลาย (H2O) 1000 g = mol

สารละลาย NaCl เข้มข้น 3.0 m; มี NaCl ____ mol และ มี H2O _______ mol
 เศษส่วนโมลของ NaCl =

 เศษส่วนโมลของ น้า =

20
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 41

จะต้องใช้สารละลาย 10 M H2SO4 ปริมาตรเท่าไร เพื่อเตรียม 0.2 M H2SO4


200 cm3
เติมน้า
วิธีทา 10 M H2SO4
0.20 M
H2SO4
V =? V = 200 cm3
มีเนื้อสารหรือ จานวนโมลของ H2SO4 เท่าเดิม

จานวนโมล = ความเข้มข้น (M) x ปริมาตร (cm3) n = CV


1000 cm3/L 1000

แบบฝึกหัด 42

จะต้องใช้สารละลาย 10 M H2SO4 ปริมาตรเท่าไร เพื่อเตรียม 0.2 M H2SO4


200 cm3
เติมน้า
วิธีทา 10 M H2SO4
0.20 M
H2SO4
V =? V = 200 cm3
มีเนื้อสารหรือ จานวนโมลของ H2SO4 เท่าเดิม
จานวนโมลของสารละลายที่ 1 = จานวนโมลของสารละลายที่ 2
C1V1 = C2V2
1000 1000
C1V1 = C2V2

21
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 43

จะต้องใช้สารละลาย 10 M H2SO4 ปริมาตรเท่าไร เพื่อเตรียม 0.2 M H2SO4


200 cm3
เติมน้า
วิธีทา 10 M H2SO4
0.20 M
H2SO4
V =? V = 200 cm3
C1V1 = C2V2

 จะต้องใช้สารละลาย 10 M H2SO4 ปริมาตร __ cm3 และเติมน้าจนมีปริมาตร 200 cm3


เพื่อเตรียม 0.2 M H2SO4 200 cm3

แบบฝึกหัด 44

ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย HNO3 เข้มข้น 1 M ให้มีปริมาตร 14 ลิตร โดยเติมกรด


HNO3 เข้มข้น 15 M ลงในกรด HNO3 เข้มข้น 2 M ปริมาตร 1.25 ลิตร จะต้องใช้กรด
HNO3 เข้มข้น 15 M กี่ลิตร
1 2 รวม
วิธีทา เติมน้า
15 M HNO3 + 2 M HNO3 1 M HNO3

V =? V = 1.25 L V = 14 L
จานวนโมลของสารละลายที่ 1 + จานวนโมลของสารละลายที่ 2 = จานวนโมลของสารละลายรวม
C1V1 + C2V2 = CรวมVรวม

จะต้องใช้กรด HNO3 เข้มข้น 15 M _________ L

22
23-Jan-24

กระบวนการของการละลาย 45

• การละลายของสารต่างๆในตัวทาละลายนั้น
จะต้ อ งท าลายแรงดึ ง ดู ด ระหว่ า งอนุภ าคที่
เป็นส่วนประกอบของสารนั้นเสียก่อนแล้วจึง
เกิดการรวมกันระหว่างอนุภาคส่วนประกอบ
ของสารกับตัวทาละลาย
• แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลในของเหลวและของแข็งเป็นสิ่งสาคัญที่เกี่ยวข้องกับ
การเกิดสารละลาย
• ความสามารถในการละลายของตัวถูกละลายในตัวทาละลายขึ้นอยู่กับ อันตร
กิริยาดังนี้ Solvent – Solvent interaction
Solute – Solute interaction
Solvent – Solute interaction

กระบวนการของการละลาย สร้าง – คาย


สลาย - ดูด
46

• ประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 3 ขั้นตอนดังนี้
1. การแยกอนุภาคของตัวถูกละลาย (H1) ใช้พลังงานในการทาลายแรงดึงดูด
ระหว่างโมเลกุล, ดูดความร้อน
2. การแยกอนุภาคของตัวทาละลาย (H2) (endothermic) H เป็น +
3. การรวมกันของตัวถูกละลายและตัวทาละลาย (H3)
คายความร้อน (exothermic) H เป็น -

ความร้อนของการเกิดสารละลาย (Heat of solution)


Hsoln = H1 + H2 + H3

23
23-Jan-24

กระบวนการของการละลาย 47

ความร้อนของการเกิดสารละลาย หรือ เอนทัลปีของสารละลาย (Heat of solution)


Hsoln = H1 + H2 + H3
ถ้าแรงดึงดูด เสถียร
ตัวทาละลายและตัวถูกละลาย > ระหว่างตัวถูกละลาย exothermic
(คายความร้อน)
และระหว่างตัวทาละลาย H เป็น -
ถ้าแรงดึงดูด
ตัวทาละลายและตัวถูกละลาย < ระหว่างตัวถูกละลาย endothermic
(ดูดความร้อน)
และระหว่างตัวทาละลาย H เป็น +

กระบวนการของการละลาย 48

สภาพละลายได้ (Solubility)
• เป็นการวัดความสามารถในการละลายของตัวถูกละลายในตัวทาละลายที่อุณหภูมหิ นึ่งๆ
“Like dissolves like”
• ทานายความสามารถในการละลายคือ อนุภาค 2 อนุภาคที่มีแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างโมเลกุล (สภาพขั้ว) เหมือนหรือคล้ายคลึงกันจะสามารถละลายกันได้ดี
• สภาพขั้วเหมือนกันจะละลายกันได้ดี: มีขั้ว-มีขั้ว ไม่มีขั้ว-ไม่มีขั้ว
• การละลายของเหลวในของเหลว ที่ผสมกันได้ (miscible) เช่น น้าและเอทานอล
ที่ผสมเข้ากันไม่ได้ (immiscible) เช่น น้าและน้ามัน
• การละลายของแข็งในของเหลว ที่ละลายได้(soluble)
ที่ละลายไม่ได้ (insoluble)

24
23-Jan-24

กระบวนการของการละลาย 49

สภาพละลายได้ (Solubility) “Like dissolves like”


• การละลายของเหลวในของเหลว
ที่ผสมกันได้ (miscible)

กระบวนการของการละลาย 50

สภาพละลายได้ (Solubility) “Like dissolves like”


• การละลายของเหลวในของเหลว
ที่ผสมเข้ากันไม่ได้ (immiscible)

- CH2 -

25
23-Jan-24

กระบวนการของการละลาย 51

การละลายของสารประกอบไอออนิก
• โดยปริมาณการละลายขึน้ กับ พลังงานแลตทิซ และพลังงานไฮเดรชัน
• พลังงานแลตทิซ (Lattice energy, Hlattice) H เป็น +
คือ พลังงานที่ใช้สลายแรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกและลบในผลึก
• พลังงานไฮเดรชัน (hydration energy, Hhydration) H เป็น -
คือ พลังงานที่คายออกมาเมื่อโมเลกุลของน้ามาล้อมรอบไอออน

กระบวนการของการละลาย 52

การละลายของสารประกอบไอออนิก

26
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 53

ตัวถูกละลายต่อไปนี้ละลายได้ดีใน น้า หรือ เบนซีน


ตัวถูกละลาย สภาพขั้ว ละลายได้ดีในตัวทาละลาย
Br2
NaI
CCl4
CH2O

แบบฝึกหัด 54

การละลายของสารคู่ต่อไปนี้มี Hsoln เป็น บวก หรือ ลบ

สาร Hsoln
CCl4 - C2H5OH
CH3COCH3 – H2O
C6H14 - C2H5OH

27
23-Jan-24

สภาพละลายได้กับอุณหภูมิ 55

สภาพละลายได้ (Solubility)
• เป็นการวัดความสามารถในการละลายของตัวถูกละลายในตัวทาละลายที่อุณหภูมหิ นึ่งๆ
• สาหรับของแข็งและของเหลว สภาพละลายได้แบ่งออกเป็น 2 กรณีดังนี้
1)การละลายเป็นแบบดูดความร้อน
(Slope เป็น + , เมื่อ T เพิ่ม การละลายเพิ่ม)
2)การละลายเป็นแบบคายความร้อน
(Slope เป็น - , เมื่อ T เพิ่ม การละลายลดลง)
• ความดันไม่มีผลต่อสภาพละลายได้ของของแข็ง
และของเหลว

การละลายของแก๊สในของเหลว 56

• สภาพการละลายของแก๊สในของเหลวขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิและความดัน
• สภาพละลายได้ของแก๊สในของเหลวลดลง เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
=> การละลายเป็นแบบคายความร้อน
เช่น เมื่อเราต้มน้า พอน้าเริ่มร้อนจะเห็นฟองอากาศ
ปุดขึ้นเหนือน้าแสดงว่าอากาศที่ละลายน้าอยู่
ละลายได้น้อยลงจึงหนีออกจากน้า

28
23-Jan-24

การละลายของแก๊สในของเหลว 57

• การเปลี่ยนแปลงความดันมีผลต่อสภาพละลายได้ของแก๊สในของเหลว
กฎของเฮนรี (Henry’s law)
“เมื่ออุณหภูมิคงตัว สภาพละลายได้ของแก๊สหรือน้าหนักของแก๊สที่ละลายใน
ของเหลวจานวนหนึ่ง แปรผันตรงกับความดันของแก๊สเหนือของเหลว”
C α P C =kP
ควำมดันของแก๊ส
สภำพละลำยได้ของแก๊ส ค่ำคงตัวของเฮนรี
ควำมดันของแก๊สเหนือของเหลว
Pต่ำ Pมำก

ละลำยได้น้อย ละลำยได้มำก

การละลายของแก๊สในของเหลว 58

• การเปลี่ยนแปลงความดันมีผลต่อสภาพละลายได้ของแก๊สในของเหลว
กฎของเฮนรี (Henry’s law) ใช้ได้ที่สำรละลำยเจือจำงมำกๆ
!! กฏของเฮนรีใช้ได้ดีเมื่อความดันต่าและปริมาณแก๊สที่ละลายในสารละลายมีจานวนน้อย !!
• เมื่อพิจารณาปริมาณของแก๊สที่ละลายในของเหลวเป็นเศษส่วนโมล
P =kx
x = เศษส่วนโมลของแก๊สในสารละลาย
P = ความดันย่อยของแก๊สเหนือของเหลว
k = ค่าคงตัวกฎของเฮนรี

29
23-Jan-24

ความดันไอ (Vapor Pressure) 59

• ถ้าของเหลวอยู่ในภาชนะปิด โมเลกุลที่ระเหยเป็นไอจะอยู่ในที่ว่างเหนือ
ของเหลวภายในภาชนะปิด
➔ที่สมดุล เมื่ออัตราการควบแน่นเท่ากับอัตราที่ของเหลวระเหย
โมเลกุลที่อยู่ในสภาพไอนี้จะทาให้เกิดความดันเรียกว่า “ความดันไอ”
ควำมดันเหนือของเหลว ณ สภำวะสมดุล

ขณะที่ของเหลวระเหยเป็นแก๊ส ที่สมดุล เมื่ออัตราการควบแน่น


ของแก๊สกลับไปเป็นของเหลว
เท่ากับอัตราการระเหยของ
ของเหลว

ของเหลวจุดเดือดต่า ระเหยง่าย แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลต่า ความดันไอสูง

ความดันไอของสารละลาย 60

• แบ่งออกเป็น 2 กรณี
1. สารละลายของแข็ง (ไม่ระเหยไม่แตกตัว) ในของเหลว (ตัวทาละลาย)
ความดันไอของสารละลายจะน้อยกว่าความดันไอของตัวทาละลายบริสุทธิ์
กฎของราอูล (Raoult’s law)
ความดันไอของตัวทาละลายในสารละลาย (P1) ที่อุณหภูมิที่กาหนดให้ มีค่าเท่ากับ ผลคูณ
ระหว่างเศษส่วนโมลของตัวทาละลาย (X1) และ ความดันไอของตัวทาละลายบริสุทธิ์
(P1o) ที่อุณหภูมิเดียวกัน
P1 = X1 P1o

30
23-Jan-24

ความดันไอของสารละลาย 61

• แบ่งออกเป็น 2 กรณี
2. สารละลายของเหลวในของเหลว (ระเหยได้ทั้งคู่)
ความดันไอของสารละลายจะมีค่าเท่ากับผลรวมของความดันไอย่อยของแต่ละ
องค์ประกอบ
กฎความดันย่อยของดาลตัน (Dalton’s law of partial pressure)
ความดันไอของสารละลาย (PT) ที่อุณหภูมิที่กาหนดให้ มีค่าเท่ากับ ผลรวมของความดัน
ไอย่อยขององค์ประกอบแต่ละตัว
เช่น สารละลายประกอบด้วย สาร A และ B
PT = PA + PB
เมื่อ PA คือ ความดันไอย่อยเหนือสารละลายขององค์ประกอบ A
PB คือ ความดันไอย่อยเหนือสารละลายขององค์ประกอบ B

ความดันไอของสารละลาย 62

• แบ่งออกเป็น 2 กรณี
2. สารละลายของเหลวในของเหลว (ระเหยได้ทั้งคู่)
กฎความดันย่อยของดาลตัน (Dalton’s law of partial pressure)
PT = PA + PB
เมื่อ PA และ PB คือ ความดันไอย่อยเหนือสารละลายขององค์ประกอบ A และ B ตามลำดับ
PA = XA PAo PB = XB PBo
เมื่อ XA และ XB คือ เศษส่วนโมลองค์ประกอบ A และ B ตามลำดับ
เมื่อ PAo และ PBo คือ ความดันไอของสารบริสุทธิ์ A และ B ตามลำดับ

PT = XA PAo + XB PBo

31
23-Jan-24

กราฟความดันไอของสารละลาย 63

ควำมดันไอบริสุทธิ์ PT = PA + PB
ของสำร B
PBo PA = XA PAo PB = XB PBo
ควำมดันไอบริสุทธิ์
ความดันไอ

ของสำร A
PAo XA = 1 PA = PAo
XB = 1 PB = PBo

จากกราฟ PBo > PAo


0 XA 1
1 XB 0
แสดงว่าแรงดึงดูดใน
สาร B < สาร A

ความดันไอของสารละลาย 64

• แบ่งออกเป็น 2 กรณี
2. สารละลายของเหลวในของเหลว (ระเหยได้ทั้งคู่)
เช่น ความดันไอของสารละลายเบนซีน และ โทลูอีน
- ความดันไอรวมของสารละลายมีค่าเท่ากับ
ควำมดันไอบริสุทธิ์
ของเบนซีน
ความดันไอย่อยของเบนซีนรวมกับโทลูอีน
- ความดันไอรวมของสารละลายมีค่าอยูก่ ลางๆ
ระหว่างความดันไอในสถานของเหลวบริสุทธิ์
ควำมดันไอบริสุทธิ์
ของโทลูอนี ของเบนซีนและโทลูอีน
- ความดันไอย่อยของสารแต่ละตัวเป็นไปตาม
กฎของราอูลต์
สารละลายที่เป็นสารละลายอุดมคติจะประพฤติ
Xtoluene = 1 – Xbenzene ตามกฎของราอูลต์

32
23-Jan-24

สารละลายอุดมคติ (Ideal solution) 65

• สารละลายใดๆก็ตามที่เป็นไปตามกฎของราอูลและกฎความดันย่อยของดาลตัน
คือ สารละลายอุดมคติ หรือ สารละลายสมบูรณ์แบบ
• สารละลายอุดมคติ
- เป็นสารละลายที่แรงระหว่างโมเลกุลของส่วนประกอบชนิดเดียวกันภายใน
สารละลายเหมือนกับแรงที่มีอยู่เดิมระหว่างโมเลกุลของส่วนประกอบนั้นในสถานะ
ของเหลวบริสุทธิ์
- และแรงระหว่างโมเลกุลของส่วนประกอบทั้งสองชนิดยังเหมือนกับแรง
ระหว่างโมเลกุลของส่วนประกอบชนิดเดียวกันด้วย
A-A + B-B 2A-B
แรงดึงดูด ; A-A = B-B = A-B
 ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน Hsoln = 0

สารละลายอุดมคติ (Ideal solution) 66

• สารละลายอุดมคติ
- ปริมาตรของสารละลายเท่ากับปริมาตรของส่วนประกอบทั้งสองรวมกัน
- สารที่รวมกันแล้วให้สารละลายอุดมคติจะเป็นสารที่มีโครงสร้างทางเคมีคล้ายคลึง
กันมาก เช่น เบนซีนรวมกับโทลูอีน, เพนเทนรวมกับเฮกเซน เป็นต้น
• สารละลายจริง จะมีพฤติการณ์ใกล้เคียงกับสารละลายอุดมคติ
เมื่อสารละลายเจือจางมาก
• สารละลายที่ไม่ได้เป็นสารละลายอุดมคติ จะมีความดันไอเบี่ยงเบนไปจากกฎของราอูล
- เนื่องจากความแตกต่างของโครงสร้างของสารประกอบทาให้เกิดการดึงดูดกันหรือผลักกัน
- สารอาจอยู่ในสภาพมีขั้วมากน้อยต่างกัน หรืออาจเกิดการรวมกัน
- การเบี่ยงเบนอาจเป็นไปทาง ลบ (-) หรือ บวก (+)

33
23-Jan-24

ความดันไอของสารละลาย 67

สารละลายไม่สมบูรณ์แบบ
สารละลายอุดมคติ การเบี่ยงเบนไปทางลบ (negative deviation)
หรือ
สารละลายสมบูรณ์แบบ
Psolution < Pideal solution

การเบี่ยงเบนไปทางบวก (positive deviation)

Psolution > Pideal solution

ความดันไอของสารละลาย 68

การเบี่ยงเบนไปทางลบ (negative deviation)


Psolution < Pideal solution
แรงดึงดูด ; A-B > A-A , B-B
ความดันไอ

Hsoln < 0
H เป็น - exothermic

0 XA 1
เช่น CH3COCH3 (acetone) + CHCl3 (chloroform) แรงดึงดูดระหว่างสองสาร
แข็งแรงกว่าแรงดึงดูดของสารเดิม จาก dipole-dipole เป็น H-bond

34
23-Jan-24

ความดันไอของสารละลาย 69

การเบี่ยงเบนไปทางบวก (positive deviation)


Psolution > Pideal solution
แรงดึงดูด ; A-B < A-A , B-B
ความดันไอ

Hsoln > 0
H เป็น + endothermic

0 XA 1
เช่น CH3OH (methanol) + CCl4 (carbontetrachloride) แรงดึงดูดระหว่าง
สองสาร อ่อนกว่าแรงดึงดูดของสารเดิม จาก H-bond (methanol) และ Van de
Waals force (carbontetrachloride) เป็น dipole-induced dipole

ความดันไอของสารละลาย 70

สาหรับสารละลายไม่สมบูรณ์แบบ
กฎของเฮนรี (Henry’s law) ใช้ได้ที่สารละลายเจือจางมากๆ

ในสารละลายเจือจางมากๆ Psoln = P1 + P2
P ตัวทาละลาย กฎของราอูล P1 = X1 P1o
Psoln = X1P1o + k2X2
P ตัวถูกละลาย กฎของเฮนรี่ P2 = k2 X2

35
23-Jan-24

แบบฝึกหัด พิจารณาจากกราฟแล้วตอบคำถาม
71

P B0 XA = 0.2
PA0  XB = ______
P B = X B P Bo

ที่จุด Y ; PA =PB
XA PAo = XB PBo
เศษส่วนโมลของ A= XA
เศษส่วนโมลของ B=

แบบฝึกหัด 72

จากข้อ ก) สารละลายอุดมคติมีความดันไอของ B เมื่อเศษส่วนโมลของ A เป็น 0.2


เท่ากับ __________ torr
สารละลายจริงมีค่าความดันไอ _________ สารละลายอุดมคติ
การเบี่ยงเบนไปทาง______ (_________ deviation) Psolution _______ Pideal solution
Hsoln _____ 0 (มีค่าเป็น ____)
แรงดึงดูดสารละลาย ________แรงดึงดูดในสารองค์ประกอบ A และ B
แรงดึงดูด; A-B ________ A-A , B-B

36
23-Jan-24

แบบฝึกหัด ปฏิกิริยา__________ความร้อน
73

การเบี่ยงเบนไปทาง____ (______ deviation)


Hsoln ____ 0
H เป็น

Xa

แบบฝึกหัด 74

ที่อุณหภูมิ 30oC เบนซิน(MW=78.1) มีความดันไอ 121.8 torr เมื่อละลายสาร A ซึ่งไม่


ระเหย 15 g ในเบนซิน 250 g จะทาให้สารละลายมีความดันไอ 120.2 torr จงคานวณหา
มวลโมเลกุลของสาร A เศษส่วนโมลของตัวทาละลาย

วิธีทา กฎของราอูล (Raoult’s law) P1 = X1 P1o


ความดันไอของตัวทาละลายในสารละลาย ความดันไอของตัวทาละลายบริสุทธิ์
จากโจทย์; แทนค่าลงใน P1 = X1 P1o

nbenzene
Xbenzene = _____ = n =
nA + nbenzene benzene

37
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 75

ที่อุณหภูมิ 30oC เบนซิน(MW=78.1) มีความดันไอ 121.8 torr เมื่อละลายสาร A ซึ่งไม่


ระเหย 15 g ในเบนซิน 250 g จะทาให้สารละลายมีความดันไอ 120.2 torr จงคานวณหา
มวลโมเลกุลของสาร A

วิธีทา mol = mass


M.W.

 M.W. = _______ g/mol


มวลโมเลกุลของสาร A = ____ g/mol

แบบฝึกหัด 76
จงคานวณหาความดันไอรวมของสารละลายสมบูรณ์แบบซึ่งมี A 50 g และ B 30 g (A
และ B มีน้าหนักโมเลกุล 100 และ 15 และความดันไอบริสุทธิ์เท่ากับ 80 และ 40 torr
ตามลาดับ) กฎความดันย่อยของดาลตัน

วิธีทา PT = PA + PB PT = XA PAo + XB PBo


จากโจทย์; หาเศษส่วนโมลของสาร A และ B แทนค่าลงในสมการ
nA = PT = XA PAo + XB PBo

nB =

XA = ความดันไอรวมของสารละลาย
สมบูรณ์แบบ เท่ากับ ______ torr
XB =

38
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 77

ของเหลว C และ D รวมกันเป็นสารละลายไม่สมบูรณ์แบบซึ่งมีกราฟแสดงความดันที่


เศษส่วนโมลต่างๆดังภาพ จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. จงลากเส้นกราฟแสดงความดันไอของสารละลาย CD
2. จงเขียนลูกศรชี้ตาแหน่งที่ความดันไอของสาร D
เป็นไปตามกฎเฮนรี ช่วงที่สาร D มีความเจือจางมาก
ความดันไอ

3. เส้นประที่กาหนดในภาพแสดงว่าสาร C หรือ สาร D


มีความดันไอตามกฎของใคร

4. แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของสารใดมากที่สุด
0 XC 1
การเบี่ยงเบนไปทางบวก แรงดึงดูด ; C-D _____ C-C , D-D
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลต่า ความดันไอสูง
แรงดึงดูด ; D-D ____ C-C

แบบฝึกหัด 78

ของเหลว C และ D รวมกันเป็นสารละลายไม่สมบูรณ์แบบซึ่งมีกราฟแสดงความดันที่


เศษส่วนโมลต่างๆดังภาพ จงตอบคาถามต่อไปนี้
5. Hsoln มีค่า +, - หรือ 0

การเบี่ยงเบนไปทางบวก แรงดึงดูด ; C-D ____ C-C , D-D


ความดันไอ

Hsoln ____ 0
6. ถ้าสาร C และ D รวมกันเป็นสารละลายสมบูรณ์
แบบ จงลากเส้นกราฟแสดงความดันไอของสาร D
0 XC 1
เหนือสารละลาย
สารละลายสมบูรณ์แบบ => เป็นไปตามกฎของราอูล

39
23-Jan-24

สมบัตคิ อลลิเกทีฟ (Colligative properties) 79

• สมบัติคอลลิเกทีฟ เป็นสมบัติที่ขึ้นอยู่กับอัตราส่วนของจานวนอนุภาคต่อ
จานวนอนุภาคของตัวทาละลาย แต่ไม่ขึ้นอยู่กับชนิดของสาร
1) การลดต่าลงของความดันไอ (Vapor-pressure lowering)
2) การสูงขึ้นของจุดเดือด (Boiling-point elevation)
3) การลดต่าลงของจุดเยือกแข็ง (Freezing-point depression)
4) ความดันออสโมติก (Osmotic pressure)
• สารละลายที่มีสมบัติคอลลิเกทีฟอย่างแท้จริงจะเป็นสารละลายนอนอิเล็ก
โทรไลต์ซึ่งไม่ให้ไอออนในสารละลาย

สมบัตคิ อลลิเกทีฟ (Colligative properties) 80

• เช่น เมื่อเปรียบเทียบกับ น้า และน้าที่เติมกลูโคสเป็นตัวถูกละลาย

สาร ความดันไอ จุดเดือดปกติ จุดเยือกแข็งปกติ


(torr) (oC) (oC)
น้า 23.8 100 0
น้า + กลูโคส <23.8 >100 <0

40
23-Jan-24

สมบัตคิ อลลิเกทีฟ (Colligative properties) 81

1) การลดต่าลงของความดันไอ (Vapor-pressure lowering)


• ถ้าสารละลายมีตัวถูกละลายที่ไม่ระเหย ความดันไอของสารละลายจะมีค่าน้อย
กว่าความดันไอของสารบริสุทธิ์
เนื่องจากในสารละลายที่มีตัวถูกละลายเข้าไปปะปนอยู่กับตัวทา
ละลาย บริเวณผิวของสารละลายจะมีตัวถูกละลายแทนที่ทาให้โมเลกุล
ตัวทาละลายบริเวณผิวของสารละลายระเหยเป็นไอได้น้อยลง

82
สมบัตคิ อลลิเกทีฟ (Colligative properties)
1) การลดต่าลงของความดันไอ (Vapor-pressure lowering)
• สาหรับสารละลายมีตัวถูกละลายที่ไม่ระเหย
กฎของราอูล (Raoult’s law)
ที่อุณหภูมิคงที่ Psolution = Psolvent = Xsolvent Posolvent
• ค่าความดันไอที่ลดต่าลง (P)
P = Posolvent - Psolution
= Posolvent - Xsolvent Posolvent
= (1 - Xsolvent ) Posolvent
P = Xsolute Posolvent

41
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 83

จงคานวณความดันไอที่ลดต่าลงที่ 25oC ของสารละลายซึ่งประกอบด้วยกลูโคส


(C6H12O6) 4.57 g ละลายในน้า 25.2 g ความดันไอของสารบริสุทธิ์ที่อุณหภูมิ
25oC เท่ากับ 23.8 mmHg (M.W. C6H12O6 = 180)
วิธีทา P = Xsolute Posolvent
คานวณหาค่า Xglucose
Xglucose =
Xglucose = nglucose
nglucose + nwater
P = Xsolute Posolvent
nglucose =
P =
nwater = = ___________ mmHg

แบบฝึกหัด 84
สารละลายมียูเรีย (CO(NH2)2 15.0 g ละลายในน้า 200 g ถ้าความดันไอของน้าที่
อุณหภูมิ 25oC มีค่า 23.7 torr จงคานวณหา
1) ความดันไอที่ลดลง 2) ความดันไอของสารที่อุณหภูมิ 25 oC
วิธีทา 1) ความดันไอที่ลดลง P = Xsolute Posolvent
คานวณหาค่า Xurea
แทนค่า
Xurea = nurea
nurea + nwater Xurea =

nurea = P = Xsolute Posolvent


=
nwater = = __________ torr
ความดันไอที่ลดลงเท่ากับ ____ torr

42
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 85
สารละลายมียูเรีย (CO(NH2)2 15.0 g ละลายในน้า 200 g ถ้าความดันไอของน้าที่
อุณหภูมิ 25oC มีค่า 23.7 torr จงคานวณหา
1) ความดันไอที่ลดลง 2) ความดันไอของสารที่อุณหภูมิ 25 oC
วิธีทา 2) ความดันไอของสารที่อุณหภูมิ 25 oC
P = Posolvent - Psolution
แทนค่าหา PH2O

Psolution =

 ความดันไอของสารที่อุณหภูมิ 25 oC เท่ากับ ________ torr

แบบฝึกหัด 86

จงคานวณหามวลของยูเรีย (CO(NH2)2 ที่ละลายในน้า 225 g ที่ 35 oC เพื่อเตรียม


สารละลายที่มีความดันไอ 37.1 mmHg (T 35 oC PoH O = 42.2 mmHg)
2
วิธีทา จาก P = Xsolute Posolvent
PoH2O - Psolution = Xurea PoH2O
แทนค่า
Xurea =

Xurea = nurea
nwater =
nurea + nwater

43
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 87

จงคานวณหามวลของยูเรีย (CO(NH2)2 ที่ละลายในน้า 225 g ที่ 35 oC เพื่อเตรียม


สารละลายที่มีความดันไอ 37.1 mmHg (T 35 oC PoH O = 42.2 mmHg)
2
วิธีทา Xurea = nurea
nurea + nwater

nurea = ________ mol


nurea = _____ mol = มวล (g)
60 g/mol
มวลของยูเรีย =

88
สมบัตคิ อลลิเกทีฟ (Colligative properties)
2) การสูงขึ้นของจุดเดือด (Boiling-point elevation)
• ผลของการมีตัวถูกละลายในตัวทาละลาย จะได้สารละลายเดือดที่อุณหภูมิสูง
กว่าจุดเดือดของตัวทาละลาย
เนื่องมาจากความดันไอของสารละลายต่าลง
• จุดเดือดของเหลวคืออุณหภูมิซึ่งความดันไอของของเหลวเท่ากับความดันภายนอก
Tb คือ จุดเดือดที่สูงขึ้นของสารละลาย
Tb = Tb - Tbo Tb คือ จุดเดือดของสารละลาย
Tbo คือ จุดเดือดของตัวทาละลายบริสุทธ์
• Tb  การลดต่าลงของความดันไอ;
ดังนั้น Tb  ความเข้มข้น (โมแลล)ของสารละลาย

44
23-Jan-24

89
สมบัตคิ อลลิเกทีฟ (Colligative properties)
2) การสูงขึ้นของจุดเดือด (Boiling-point elevation)
เนื่องจาก Tb  m

Tb = Kb m Tb คือ จุดเดือดที่สูงขึ้นของสารละลาย


Kb คือ ค่าคงตัวจุดเดือดสูงขึ้นโมแลล (oC/m)
m คือ ความเข้มข้นของตัวถูกละลาย (m)
• ค่า Kb เป็นค่าคงตัวเฉพาะของตัวทาละลาย

90
สมบัตคิ อลลิเกทีฟ (Colligative properties)
3) การลดต่าลงของจุดเยือกแข็ง (Freezing-point depression)
• ผลของการมีตัวถูกละลายในตัวทาละลาย
จุดเยือกแข็งของสารละลายต่าลงจากจุดเยือกแข็งของตัวทาละลายบริสุทธิ์
• เนื่องจาก; - ตัวถูกละลายไปขัดขวางการตกผลึกของตัวทาละลาย
- ความดันไอของสารละลายต่าลง จุดเยือกแข็งจึงลดลงตามความดันไอ
Tf คือ จุดเยือกแข็งที่ลดลงของสารละลาย
Tf = Tfo - Tf Tf คือ จุดเยือกแข็งของสารละลาย
Tfo คือ จุดเยือกแข็งของตัวทาละลายบริสุทธ์
เนื่องจาก Tf  m
Tf คือ จุดเยือกแข็งที่ลดลงของสารละลาย
Tf = Kf m Kf คือ ค่าคงตัวจุดเยือกแข็งต่าลงโมแลล (oC/m)
m คือ ความเข้มข้นของตัวถูกละลาย (m)
• ค่า Kf เป็นค่าคงตัวเฉพาะของตัวทาละลาย

45
23-Jan-24

91
สมบัตคิ อลลิเกทีฟ (Colligative properties)
การสูงขึ้นของจุดเดือด การต่าลงของจุดเยือกแข็ง

Tb = Tb - Tbo Tf = Tfo - Tf


Tb คือ จุดเดือดที่สูงขึ้นของสารละลาย Tf คือ จุดเยือกแข็งที่ลดลงของสารละลาย
Tb คือ จุดเดือดของสารละลาย Tf คือ จุดเยือกแข็งของสารละลาย
Tbo คือ จุดเดือดของตัวทาละลายบริสุทธ์ Tfo คือ จุดเยือกแข็งของตัวทาละลายบริสุทธ์

Tb = Kb m Tf = Kf m
Kb คือ ค่าคงตัวจุดเดือดสูงขึ้นโมแลล (oC/m) Kf คือ ค่าคงตัวจุดเยือกแข็งต่าลงโมแลล (oC/m)
m คือ ความเข้มข้นของตัวถูกละลาย (m) m คือ ความเข้มข้นของตัวถูกละลาย (m)

• ค่า Kb และ Kf เป็นค่าคงตัวเฉพาะของตัวทาละลาย

92
สมบัตคิ อลลิเกทีฟ (Colligative properties)
• ค่า Kb และ Kf เป็นค่าคงตัวเฉพาะของตัวทาละลาย

46
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 93

จงแสดงวิธีการคานวณค่าจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลายกลูโคสเข้มข้น
0.222 m ค่า Kf และ Kb ของน้า = 1.86 oC/m และ 0.521 oC/m ตามลาดับ
วิธีทา จุดเดือดของสารละลายกลูโคส;
Tb = Kb m Tb = Tb - Tbo
แทนค่า
Tb = Kb m
Tb = Tb - Tbo
Tb = Tbo + Tb

 จุดเดือดของสารละลายกลูโคสเท่ากับ _________ oC

แบบฝึกหัด 94

จงแสดงวิธีการคานวณค่าจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลายกลูโคสเข้มข้น
0.222 m ค่า Kf และ Kb ของน้า = 1.86 oC/m และ 0.521 oC/m ตามลาดับ
วิธีทา จุดเยือกแข็งของสารละลายกลูโคส;
Tf = Kf m Tf = Tfo - Tf
แทนค่า
Tf = Kf m
Tf = Tfo - Tf
Tf = Tfo - Tf

 จุดเยือกแข็งของสารละลายกลูโคสเท่ากับ ________oC

47
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 95

Ethylene glycol (EG) CH2(OH)CH2(OH) เป็นสารที่ต้านการเยือกแข็งของ


สารละลายในเครื่องยนต์ จงคานวณหาจุดเยือกแข็งของสารละลายที่ประกอบด้วย EG
651 g ที่ละลายในน้า 2505 g (M.W.EG = 62 g/mol, Kf H2O =1.86 oC/m)

วิธีทา Tf = Kf m Tf = Tfo - Tf


หา m ของ EG;
(m)
nEG = mass EG(g)
M.W. EG (g/mol)

m =

แบบฝึกหัด 96

Ethylene glycol (EG) CH2(OH)CH2(OH) เป็นสารที่ต้านการเยือกแข็งของ


สารละลายในเครื่องยนต์ จงคานวณหาจุดเยือกแข็งของสารละลายที่ประกอบด้วย EG
651 g ที่ละลายในน้า 2505 g (M.W.EG = 62 g/mol, Kf H2O =1.86 oC/m)

วิธีทา Tf = Kf m Tf = Tfo - Tf


แทนค่า T = K m =
f f

Tf = Tfo - Tf =

 จุดเยือกแข็งของสารละลาย EG เท่ากับ ________ oC

48
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 97

คานวณหามวลของ ethylene glycol ที่ต้องเติมลงในน้า 1525 g เพื่อให้ได้


สารละลายที่มีจุดเดือด 103.9 oC
(กาหนดให้ Kb = 0.52 oC/m และ M.W.EG = 62 g/mol)
วิธีทา Tb = Tb - Tbo = Kb m
แทนค่า

nEG =

มวลEG =

แบบฝึกหัด 98

จงคานวณหาจุดเดือดที่สูงขึ้นของสารละลายซึ่งประกอบด้วยกลูโคส 0.20 mol


ซูโครส 0.50 mol และ แลกโทส 0.10 mol ในน้า 500 g (Kb H2O= 0.52 oC/m)
วิธีทา สมบัติคอลลิเกทีฟ เป็นสมบัติที่ขึ้นอยู่กับอัตราส่วนของจานวนอนุภาคต่อ
จานวนอนุภาคของตัวทาละลาย แต่ไม่ขึ้นอยู่กับชนิดของสาร
Tb = Kb m
แทนค่า
Tb =
= _________ oC

49
23-Jan-24

99
สมบัตคิ อลลิเกทีฟ (Colligative properties)
4) ความดันออสโมติก (Osmotic pressure)
• การออสโมซิส (Osmosis) เป็นกระบวนการแพร่โมเลกุลของน้าผ่านเยื่อเลือก
ผ่านจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ามาก (สารละลายความเข้มข้นต่า) ไปยัง
บริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อย (สารละลายความเข้มข้นสูง)
• ความดันออสโมติก () เป็นความดันที่ใช้ในการหยุดกระบวนการออสโมซิส
ตอนเริ่มต้น

Pure Solution
solvent Osmosis

100
สมบัตคิ อลลิเกทีฟ (Colligative properties)
4) ความดันออสโมติก (Osmotic pressure)
• ความดันออสโมติก () ของสารละลายหาได้ดังนี้
 = MRT
M คือ โมลาริตี้ของสารละลาย
T คือ อุณหภูมิสัมบูรณ์ (absolute temperature, K)
R คือ ค่าคงที่ของแก๊ส (0.0821 L.atm/K.mol)
• ความดันออสโมติก () มีหน่วยเป็น atm

50
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 101

แป้งชนิดหนึ่งมีสูตร (C6H10O5)n โดย n มีค่าประมาณ 200 ถ้าละลายแป้งชนิดนี้


3.19 g ในน้าจนได้สารละลาย 100 mL จงคานวณหาความดันออสโมติกที่ 25 oC
วิธีทา  = MRT
หา M ของสารละลายแป้ง (mol/L); หา M = จานวนโมลของแป้ง (mol)
ปริมาตรของสารละลาย (L)
M = น้าหนักของแป้ง (g)
มวลโมเลกุลของแป้ง(g/mol) x ปริมาตรของสารละลาย (L)
M =

แทนค่าเพื่อหาความดันออสโมติก;  =
 ความดันออสโมติก มีค่าเท่ากับ _________ atm

แบบฝึกหัด 102

ความดันออสโมติกของสารละลายซึ่งมีอินซูลิน 7.00 g ในสารละลาย 1 ลิตรมีค่า


23.0 torr ที่ 25 oC จงคานวณหาน้าหนักโมเลกุลของอินซูลิน
วิธีทา จาก  = MRT = nV RT = g RT
M.W. V
 = g RT
M.W. V
แทนค่า

M.W. = __________ g/mol


Structure of Insulin

51
23-Jan-24

สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte Solution) 103


• อิเล็กโทรไลต์คือสารที่สามารถแตกตัวเป็นไอออนอิสระเมื่อละลายน้า
• อาจแบ่งประเภทของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ได้ดังนี้
- สารละลายอิเล็กโทรไลต์แก่: แตกตัวได้ 100%
- สารละลายอิเล็กโทรไลต์อ่อน: แตกตัวน้อย
- สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์: ไม่มีการแตกตัว
• สารละลายอิเล็กโทรไลต์แก่
เช่น NaCl Na+ + Cl- 1 โมลของ NaCl แตกตัวได้ 2 อนุภาค
CaCl2 Ca2+ + 2Cl- 1 โมลของ CaCl2 แตกตัวได้ 3 อนุภาค
จาก สมบัติคอลลิเกทีฟ ขึ้นอยู่กับอัตราส่วนของจานวนอนุภาคต่อจานวนอนุภาคของตัวทา
ละลาย แต่ไม่ขึ้นอยู่กับชนิดของสาร
ดังนั้น NaCl ควรจะมีคุณสมบัติคอลลิเกทีฟควรจะเป็น 2 เท่า เมื่อเทียบกับ สารละลาย
นอนอิเล็กโทรไลต์ ที่ความเข้มข้นเดียวกัน (CaCl2 ควรจะเป็น 3 เท่า)

104
สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายอิเล็กโทรไลต์
• เนื่องจากการแตกตัวของสารอิเล็กโทรไลต์ในสารละลายจะทาให้ความเข้มข้น
ของตัวถูกละลาย (จานวนอนุภาค) เพิ่มมากขึ้น
ส่งผลต่อสมบัติคอลลิเกทีฟ
• เช่น สารละลายต่อไปนี้ละลายในน้า Kb ของน้า = 0.52 oC/m
สำรละลำยนอนอิเล็กโทรไลต์ สำรละลำยอิเล็กโทรไลต์
กลูโคส (C6H12O6) NaCl Na+ + Cl-
(0.1 m) (0.1 m) (0.1 m) (0.1 m)
Tb = Kb m
Tb = (0.52) (0.1) Tb = (0.52) (0.1+0.1)
= 0.052 oC = 0.104 oC มีค่ำเป็ น 2 เท่ำ

52
23-Jan-24

105
สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายอิเล็กโทรไลต์
• ดังนั้นจึงมีการปรับปรุงสมการต่างๆเป็นดังนี้
Tb = i Kbm Tf = i Kfm  = i MRT
• เมื่อ i คือ Van’t Hoff factor หรือเรียกว่า i-factor
i = จานวนอนุภาคจริงในสารละลายหลังการแตกตัว
จานวนหน่วยของตัวถูกละลายก่อนการแตกตัว
• แต่ที่ความเข้มข้นมากขึ้น สมบัติคอลลิเกทีฟ จะมีค่าน้อยกว่าค่าที่คานวณได้
จริงเนื่องจาก อาจจะมีการจับกันของไอออนอีกครั้ง

106
สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายอิเล็กโทรไลต์
• Van’t Hoff factor หรือ i-factor

53
23-Jan-24

107
สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายอิเล็กโทรไลต์
• ผลของความเข้มข้น ต่อ Van’t Hoff factor หรือ i-factor

สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์: i-factor = 1
สารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่เจือจางมาก: i-factor = จานวนไอออนรวมหลังแตกตัว

108
สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายอิเล็กโทรไลต์
• ค่า i-factor สามารถหาได้จากสมบัติของคอลลิเกทีฟได้ดังนี้
i = สมบัติคอลลิเกทีฟของสารอิเล็กโทรไลต์
สมบัติคอลลิเกทีฟของสารนอนอิเล็กโทรไลต์
i = Kbm’ i = Kfm’ i = M’RT
Kbm Kfm MRT
เมื่อ m’ และ M’ คือความเข้มข้นหลังการแตกตัว
i = m’ = M’
m M

54
23-Jan-24

i-factor 109

• i-factor มีค่ามากที่สุดเท่ากับจานวนไอออนรวมหลังการแตกตัวของ
สารละลายที่เจือจางอย่างยิ่ง
• เมื่อจานวนไอออนรวมหลังการแตกตัวเท่ากัน
- สาหรับสารละลายชนิดเดียวกันแต่ความเข้มข้นต่างกัน
สารละลายที่ความเข้มข้นน้อยกว่า จะมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อยกว่า
ดังนั้นจะมีค่า i-factor มากกว่า
- สาหรับสารละลายต่างชนิดกันแต่มีความเข้มข้นเท่ากัน
ประจุไอออนมาก แรงดึงดูดมาก i-factor น้อย
ประจุไอออนน้อย แรงดึงดูดน้อย i-factor มาก

แบบฝึกหัด 110

จากสารต่อไปนี้ที่ความเข้มข้นเท่ากัน จงเรียงลาดับค่า i-factor จากน้อยไปมาก


C6H12O6 KClO4 Ba3(PO4)2 MgSO4 Li3PO4 Ca(NO3)2 CH3COOH
วิธีทา
พิจารณาความเป็นอิเล็กโทรไลต์: i-factor electrolyte > non-electrolyte
Non-electrolyte: น้อย
electrolyte อ่อน: i-factor
electrolyte แก่ (สารไอออนิก): มาก

i-factor:

55
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 111

จากสารต่อไปนี้ที่ความเข้มข้นเท่ากัน จงเรียงลาดับค่า i-factor จากน้อยไปมาก


C6H12O6 KClO4 Ba3(PO4)2 MgSO4 Li3PO4 Ca(NO3)2 CH3COOH
วิธีทา เมื่อพิจารณาสารอิเล็กโทรไลต์แก่ พิจารณา จานวนอนุภาค น้อย
i-factor
สาร จานวนอนุภาคไอออน
KClO4 มาก
Ba3(PO4)2 ถ้าจานวนอนุภาคเท่ากัน
MgSO4 ประจุไอออนมาก: i-factor ______
Li3PO4
Ca(NO3)2

ค่า i-factor จากน้อยไปมาก

แบบฝึกหัด 112

กาหนดค่า i-factor ของสารละลาย 4 ชนิดที่มีความเข้มข้นเริ่มต้นเท่ากัน


สารละลาย A B C D
i-factor 1.00 1.08 2.00 2.05
จงตอบคาถามต่อไปนี้ สารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่เจือจางมาก:
i-factor = จานวนไอออนรวมหลังแตกตัว
1. สารละลายอิเล็กโทรไลต์แก่ที่เจือจางอย่างยิ่งคือ .............................
i-factor < 2
2. สารละลายอิเล็กโทรไลต์อ่อนที่แตกตัวได้ 2 ไอออนคือ .............................
Tf = i Kfm (i-factor ___สุด)Tf = Tfo - Tf
3. สารละลายที่มีจุดเยือกแข็งสูงสุดคือ.............................
Tb = i Kbm (i-factor ___สุด)Tb = Tbo + Tb
4. สารละลายที่มีจุดเดือดสูงสุดคือ.............................
 = i MRT (i-factor ____สุด)
5. สารละลายที่มีความดันออสโมติกต่าสุดคือ.............................

56
23-Jan-24

113
i-factor และปริมาณการแตกตัวเป็นไอออน
อันดับการแตกตัว (α ) (order of ionization)
α = ปริมาณตัวถูกละลายที่แตกตัว
ปริมาณตัวถูกละลายที่เริ่มต้น
เมื่อ i คือ i-factor
α = x = i-1 n คือ จานวนไอออนที่เกิดจากการแตก
m n-1 ตัวของตัวถูกละลาย หรือ µ หรือ 

ร้อยละการแตกตัว (%α) (α x 100%) เช่น NaCl: n = 2

%α = x x 100 = ( i – 1) x 100
m (n – 1)

แบบฝึกหัด 114
สารละลาย HCOOH เตรียมได้โดยละลาย 0.04 mol ของ HCOOH ลงในน้า 200 g
ถ้าร้อยละการแตกตัวของกรดนี้มีค่าเท่ากับ 2% จงคานวณค่าจุดเยือกแข็งและ i-
factor ของสารละลายนี้ (Kf ของน้า = 1.86 oC/m)
วิธีทา จาก %α = ( i – 1) x 100
(n – 1)
จากโจทย์ %α = 2% , HCOOH มีจานวนไอออน n = _____

i =

57
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 115

สารละลาย HCOOH เตรียมได้โดยละลาย 0.04 mol ของ HCOOH ลงในน้า 200 g


ถ้าร้อยละการแตกตัวของกรดนี้มีค่าเท่ากับ 2% จงคานวณค่าจุดเยือกแข็งและ i-
factor ของสารละลายนี้ (Kf ของน้า = 1.86 oC/m)
วิธีทา จาก Tf = i Kfm
แทนค่า Tf =

Tf = _______ oC
จาก Tf = Tfo - Tf Tf = Tfo - Tf

Tf =

แบบฝึกหัด 116

สารละลาย CH3COOH เข้มข้น 0.10 m มีจุดเยือกแข็ง -0.23 oC


จงคานวณหา 1) เปอร์เซ็นการแตกตัว (%α) ของ CH3COOH
2) ค่า i-factor (Kf ของน้า = 1.86 oC/m)
วิธีทา T = i K m T f o – Tf = i K f m
f f
แทนค่า

 ค่า i-factor = ________


จาก %α = ( i – 1) x 100
(n – 1)
เปอร์เซ็นการแตกตัว (%α) ของ CH3COOH = _______%

58
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 117

จุดเยือกแข็งของสารละลายที่มี KBr 1.50 g ในน้า 7.60 g มีค่าเท่าใด (Kf ของน้า =


1.86 oC/m) กาหนดให้ KBr แตกตัว 100% ไม่มีแรงดึงดูดระหว่างไอออน
(M.W. KBr =119 g/mol)
วิธีทา
จากโจทย์ KBr แตกตัว 100% ไม่มีแรงดึงดูดระหว่างไอออน i-factor = _____
Tf = i Kfm Tf o – Tf = i K f m
แทนค่า

Tf = ______oC

แบบฝึกหัด 118
จงคานวณหาจานวนโมลของ Na2S ที่ละลายในน้าเป็นสารละลาย 760 cm3 ได้
สารละลายที่มีความดันออสโมติก 240 torr ที่ 27 oC
กาหนดให้ Na2S แตกตัว 100% โดยไม่มีแรงดึงดูดระหว่างไอออน
วิธีทา
จากโจทย์ Na2S แตกตัว 100% ไม่มีแรงดึงดูดระหว่างไอออน i-factor = _____
 = i MRT
แทนค่า

จานวนโมล = ________ mol

59
23-Jan-24

แบบฝึกหัด 119

HgCl2 9.41 g ละลายใน C2H5OH 32.75 g (Kb ของ C2H5OH = 1.20 oC/m) จุด
เดือดของสารละลายสูงขึ้น 1.27 oC HgCl2 แตกตัวใน C2H5OH หรือไม่ (M.W. HgCl2
=271.6)
วิธีทา
ตรวจสอบว่า HgCl2 แตกตัว หรือไม่ พิจารณาจากค่า i-factor
Tb = i Kbm
แทนค่า

 ค่า i-factor = ____ สารละลาย _____________________

แบบฝึกหัด 120

จงหาความดันออสโมติกของสารละลายที่ประกอบด้วยกลูโคส 0.200 M และ NaCl


0.100 M ที่ 37oC (สมมติให้ไม่มีแรงดึงดูดระหว่างไอออน)
วิธีทา
หลังการแตกตัว: ในสารละลาย 1 ลิตร
มีจานวนโมลเท่ากับ

 = MRT
แทนค่า  =

60
23-Jan-24

จลนพลศาสตร์เคมี
(Chemical Kinetics)

รศ.ดร. พัชรีนารถ ทรัพย์อาภากร

2
จลนพลศาสตร์เคมี (Chemical Kinetics)
สาหรับปฏิกิริยาเคมี
• ถ้าต้องการทานายว่าปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้เองหรือไม่
ใช้ความรู้ทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics)
• ถ้าต้องการทานายว่าปฏิกิริยาดาเนินไปถึงไหน
ใช้ความรู้ทางสมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)
• ถ้าต้องการทานายว่าปฏิกิริยาดาเนินไปได้เร็วแค่ไหน
ใช้ความรู้ทางจลนพลศาสตร์เคมี (Chemical Kinetics)
จลนพลศาสตร์เคมี เป็นสาขาของเคมีที่ศึกษาเกี่ยวกับ ความเร็วหรืออัตรา ที่
ปฏิกิริยาทางเคมีดาเนินไป
สาหรับปฏิกิริยาเคมี จลนพลศาสตร์ หมายถึง อัตราการเกิดปฏิกิริยา
(reaction rate)

1
23-Jan-24

3
อัตราการเกิดปฏิกิริยา (Rate of reaction)
• อัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ การเปลี่ยนแปลงของความเข้มข้นของสารตั้งต้น
หรือผลิตภัณฑ์ต่อเวลา (วินาที)
อัตราการเกิดปฏิกิริยา = การเปลี่ยนแปลงของความเข้มข้น
เวลา
• มีหน่วยเป็น M/s
เช่น ปฏิกิริยาจาก A ไป B

Δ[A] Δ[B]
rate = − rate =
Δt Δt

4
อัตราการเกิดปฏิกิริยา (Rate of reaction)
เช่น การสลายตัวด้วยความร้อนของแก๊ส dinitrogen pentaoxide (N2O5) ซึ่งจะ
ได้ผลิตภัณฑ์คือแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจน
2N2 O5 g → 4NO2 g + O2 (g)

Δ[O2 ]
Δt

2
23-Jan-24

5
อัตราการเกิดปฏิกิริยา (Rate of reaction)
เช่น การสลายตัวด้วยความร้อนของแก๊ส dinitrogen pentaoxide (N2O5) ซึ่งจะ
ได้ผลิตภัณฑ์คือแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจน
2N2 O5 g → 4NO2 g + O2 (g)

Δ[N 2 O5 ]
= −
Δt

6
อัตราการเกิดปฏิกิริยา (Rate of reaction)
เช่น การสลายตัวด้วยความร้อนของแก๊ส dinitrogen pentaoxide (N2O5) ซึ่งจะ
ได้ผลิตภัณฑ์คือแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจน
2N2 O5 g → 4NO2 g + O2 (g)

Δ[O 2 ] 1  Δ[NO2 ]  = − 1  Δ[N 2O5 ] 


=    
Δt 4  Δt  2  Δt 

3
23-Jan-24

7
อัตราการเกิดปฏิกิริยา (Rate of reaction)
• ในปฏิกิริยาทั่วไป

1 Δ[A] 1 Δ[B] 1 Δ[C] 1 Δ[D]


− =− = =
a Δt b Δt c Δt d Δt

เช่น จงเขียนอัตราการเกิดปฏิกิริยาของปฏิกิริยาต่อไปนี้
1 [O 2 ] 1 [O3 ]
3O2 ( g ) → 2O3 ( g ) rate = − =
3 t 2 t
4NH3 ( g ) + 5O2 ( g ) → 4NO( g ) + 6H 2O( g )
1 [ NH 3 ] 1 [O 2 ] 1 [ NO] 1 [H 2 O]
rate = − = − = =
4 t 5 t 4 t 6 t

8
อัตราการเกิดปฏิกิริยา (Rate of reaction)
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
• ชนิดของตัวทาปฏิกิริยา (Reactants) และ ผลิตภัณฑ์ (Products)
• ความเข้มข้นของตัวทาปฏิกิริยา (ถ้าเป็นแก๊ส คือ ความดัน)
• อุณหภูมิ (T)
• ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalysts)
• ขนาดของอนุภาคของแข็ง (สาหรับปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์)

4
23-Jan-24

9
กฎอัตรา (Rate Laws)
• จากปฏิกิริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราของปฏิกิริยาและความเข้มข้นของสารที่มีอิทธิพลต่อ
อัตรา เรียกว่า กฎอัตรา
• กฎอัตราสามารถเขียนเป็นสมการในรูปทั่วไปได้ดังนี้
Rate = k[A]m [B]n
เมื่อ k คือ ค่าคงที่อัตรา (rate constant)
m และ n เป็นเลขกาลังของความเข้มข้นของ A และ B ตามลาดับ
ซึ่งหาค่า m และ n ได้จากการทดลองเท่านั้น
โดยทั่วไป m และ n จะมีค่าไม่เท่ากับสัมประสิทธิ์ a และ b
• จากสมการ m + n คืออันดับรวมของปฏิกิริยา
m คือ อันดับของสาร A และ n คือ อันดับของสาร B

10
อันดับของปฏิกิริยา (Reaction order)
• อันดับของปฏิกิริยา หาได้จากผลรวมของกาลังทั้งหมดของสารตั้งต้นที่
ปรากฎในกฎอัตรา
อันดับรวมของปฏิกิริยา คือ m + n
Rate = k[A]m [B]n
m คือ อันดับของสาร A และ n คือ อันดับของสาร B
ถ้า m + n = 0 ปฏิกิริยาอันดับศูนย์ ( 0 + 0)
ถ้า m + n = 1 ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง ( 0 + 1) หรือ (1 + 0 )
ถ้า m + n = 2 ปฏิกิริยาอันดับสอง ( 0 + 2) หรือ (2 + 0 ) หรือ (1 + 1 )
ถ้า m = 0 อัตราของปฏิกิริยาไม่ขึ้นอยู่กับ [A] ( [A]0 =1 )
ถ้า m = 1 อัตราของปฏิกิริยาเป็นสัดส่วนกับ [A] ( [A]1 =[A] )
ถ้า m = 2 อัตราของปฏิกิริยาเป็นสัดส่วนกับ [A]2
• อันดับของปฏิกิริยา หาได้จากการทดลองเท่านั้น

5
23-Jan-24

11
ค่าคงที่อัตรา (rate constant)
• สัญลักษณ์ “k”
• ค่า k ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยา และ อุณหภูมิ
• ค่า k มาก ปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้เร็ว
• หน่วยของค่า k ขึ้นอยู่กับอันดับปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาอันดับศูนย์ r = k[A]0 ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง r = k[A]1
แทนค่าหน่วย M/s = k แทนค่าหน่วย M/s = k . M
 k = M/s  k = 1/s หรือ s-1

ปฏิกิริยาอันดับสอง r = k[A]2
แทนค่าหน่วย M/s = k . M2
k = 1/Ms หรือ M-1s-1

12
กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
เช่น จากการทดลองวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาของ FClO2 จากปฏิกิริยาระหว่าง F2 และ ClO2
[F2] (M) [ClO2] (M) Initial Rate (M/s) F2 ( g ) + 2ClO 2 ( g ) → 2FClO 2 ( g )
(1) 0.10 0.010 1.2 x 10-3
(2) 0.10 0.040 4.8 x 10-3 Rate = k[F2 ]m [ClO2 ]n
(3) 0.20 0.010 2.4 x 10-3

1.2 x 10 −3 k[0.10]m [0.010]n


1.2 x 10−3 = k[0.10]m [0.010]n −3
=
2.4 x 10 k[0.20]m [0.010]n
2.4 x 10−3 = k[0.20]m [0.010]n 0.5 = (0.5) m
m=1

6
23-Jan-24

13
กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
เช่น จากการทดลองวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาของ FClO2 จากปฏิกิริยาระหว่าง F2 และ ClO2
[F2] (M) [ClO2] (M) Initial Rate (M/s) F2 ( g ) + 2ClO 2 ( g ) → 2FClO 2 ( g )
(1) 0.10 0.010 1.2 x 10-3
(2) 0.10 0.040 4.8 x 10-3 Rate = k[F2 ]m [ClO2 ]n
(3) 0.20 0.010 2.4 x 10-3

 Rate = k [F2]1[ClO2]1

14
กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
เช่น จากการทดลองวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาของ FClO2 จากปฏิกิริยาระหว่าง F2 และ ClO2
[F2] (M) [ClO2] (M) Initial Rate (M/s) F2 ( g ) + 2ClO 2 ( g ) → 2FClO 2 ( g )
(1) 0.10 0.010 1.2 x 10-3
(2) 0.10 0.040 4.8 x 10-3  Rate = k [F2]1[ClO2]1
(3) 0.20 0.010 2.4 x 10-3

Rate 1.2 x 10-3 M/s


k= k= = 1.2 M-1.s−1
[F2 ][ClO 2 ] (0.10 M)(0.010M)

7
23-Jan-24

15
แบบฝึกหัด
ตัวอย่าง จากปฏิกิริยาของ NO และ H2 ที่ 1280oC จงคานวณหากฎอัตรา อันดับของปฏิกิริยา
และ ค่าคงที่อัตรา
[NO] (M) [H2] (M) Initial Rate (M/s) 2NO( g ) + 2H 2 ( g ) → N 2 ( g ) + H 2 O( g )
(1) 5.0 x 10-3 2.0 x 10-3 1.3 x 10-5
Rate =
(2) 10.0 x 10-3 2.0 x 10-3 5.0 x 10-5
(3) 10.0 x 10-3 4.0 x 10-3 10.0 x 10-5

 Rate =

16
แบบฝึกหัด
ตัวอย่าง จากปฏิกิริยาของ NO และ H2 ที่ 1280oC จงคานวณหากฎอัตรา อันดับของปฏิกิริยา
และ ค่าคงที่อัตรา
[NO] (M) [H2] (M) Initial Rate (M/s) 2NO( g ) + 2H 2 ( g ) → N 2 ( g ) + H 2 O( g )
(1) 5.0 x 10-3 2.0 x 10-3 1.3 x 10-5
(2) 10.0 x 10-3 2.0 x 10-3 5.0 x 10-5  Rate = k [NO]2[H2]
(3) 10.0 x 10-3 4.0 x 10-3 10.0 x 10-5

Rate
k=
[NO]2 [H 2 ]

 ค่าคงที่อัตรา เท่ากับ _______ หน่วย______

8
23-Jan-24

17
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา 2H2 (g) + 2NO(g) → 2H2O(g) + N2 (g)
เมื่อลด [H2] ลงครึ่งหนึ่งโดยให้ [NO] คงที่ พบว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลงครึ่งหนึ่งและ
เมื่อเพิ่ม [NO] เป็น 3 เท่าโดยให้ [H2] คงที่ พบว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มเป็น 9 เท่า จงเขียน
กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล
วิธีทำ กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล

จากโจทย์; หาอันดับ m และ n


เมื่อลด [H2] ลงครึ่งหนึ่งโดยให้ [NO] คงที่ พบว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลงครึ่งหนึ่ง

เมื่อเพิ่ม [NO] เป็น 3 เท่าโดยให้ [H2] คงที่ พบว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มเป็น 9 เท่า

18
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา 2A + B2 → A2 B2 กฎอัตรา r = k[A]3
ปัจจัยต่อไปนี้มีผลอย่างไรต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
1) เพิ่ม [A] เป็น 3 เท่า 2) ลด [A] ลงครึ่งหนึ่ง 3) เพิ่ม [B2] เป็น 2 เท่า
วิธีทำ จากโจทย์ กฎอัตรา r = k[A]3
1) เพิ่ม [A] เป็น 3 เท่า
r = k[A]3 𝑟
=  r2 =
ถ้าเพิ่ม [A] เป็น 3 เท่า 𝑟2
ดังนั้น ถ้าเพิ่ม [A] เป็น 3 เท่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มเป็น ______ เท่า
2) ลด [A] ลงครึ่งหนึ่ง
r = k[A]3 𝑟
=  r2 =
ถ้าลด [A] ลงครึ่งหนึ่ง 𝑟2
ดังนั้น ถ้าลด [A] ลงครึ่งหนึ่ง อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลงเหลือ ______เท่า

9
23-Jan-24

19
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา 2A + B2 → A2 B2 กฎอัตรา r = k[A]3
ปัจจัยต่อไปนี้มีผลอย่างไรต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
1) เพิ่ม [A] เป็น 3 เท่า 2) ลด [A] ลงครึ่งหนึ่ง 3) เพิ่ม [B2] เป็น 2 เท่า
วิธีทำ
3) เพิ่ม [B2] เป็น 2 เท่า
จากโจทย์ กฎอัตรา r = k[A]3 อันดับของ B2 คือ 0 ([B2]0 = 1)
แสดงว่า___________________
__________________________

ดังนั้น ถ้าเพิ่ม [B2] เป็น 2 เท่า อัตราการเกิดปฏิกิริยา ___________

20
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา 2NO g + O2 (g) → 2NO2 (g)
จากการทดลองให้ข้อมูลดังแสดงในตาราง จงแสดงวิธีคานวณหา
[NO] (M) [O2] (M) Initial Rate (M/s) 1) กฎอัตรา 2) ค่าคงที่อัตรา
(1) 0.01 0.01 0.007 3) อัตราเริ่มต้นถ้า [NO]เริ่มต้น = 0.04 M
และ [O2]เริ่มต้น = 0.015 M
(2) 0.01 0.02 0.014
(3) 0.01 0.03 0.021
วิธีทำ Rate =
(4) 0.02 0.03 0.084 หาอันดับ m และ n ของปฏิกิริยา

 m = ____

10
23-Jan-24

21
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา 2NO g + O2 (g) → 2NO2 (g)
จากการทดลองให้ข้อมูลดังแสดงในตาราง จงแสดงวิธีคานวณหา
[NO] (M) [O2] (M) Initial Rate (M/s) 1) กฎอัตรา 2) ค่าคงที่อัตรา
(1) 0.01 0.01 0.007 3) อัตราเริ่มต้นถ้า [NO]เริ่มต้น = 0.04 M
และ [O2]เริ่มต้น = 0.015 M
(2) 0.01 0.02 0.014
(3) 0.01 0.03 0.021
วิธีทำ Rate = k[ NO]m [O2 ]n
(4) 0.02 0.03 0.084 หาอันดับ m และ n ของปฏิกิริยา

 n = ____

22
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา 2NO g + O2 (g) → 2NO2 (g)
จากการทดลองให้ข้อมูลดังแสดงในตาราง จงแสดงวิธีคานวณหา
[NO] (M) [O2] (M) Initial Rate (M/s) 1) กฎอัตรา 2) ค่าคงที่อัตรา
(1) 0.01 0.01 0.007 3) อัตราเริ่มต้นถ้า [NO]เริ่มต้น = 0.04 M
และ [O2]เริ่มต้น = 0.015 M
(2) 0.01 0.02 0.014
(3) 0.01 0.03 0.021
วิธีทำ Rate = k[ NO]m [O2 ]n
อันดับ m = 2 และ n = 1
(4) 0.02 0.03 0.084
Rate = k[ NO]2 [O2 ]1

Rate
k=
[NO]2 [O 2 ]

 ค่าคงที่อัตรา เท่ากับ __________________

11
23-Jan-24

23
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา 2NO g + O2 (g) → 2NO2 (g)
จากการทดลองให้ข้อมูลดังแสดงในตาราง จงแสดงวิธีคานวณหา
[NO] (M) [O2] (M) Initial Rate (M/s) 1) กฎอัตรา 2) ค่าคงที่อัตรา
(1) 0.01 0.01 0.007 3) อัตราเริ่มต้นถ้า [NO]เริ่มต้น = 0.04 M
และ [O2]เริ่มต้น = 0.015 M
(2) 0.01 0.02 0.014
(3) 0.01 0.03 0.021
วิธีทำ
(4) 0.02 0.03 0.084
Rate = k[ NO]2 [O2 ]1

 อัตราเริ่มต้นเท่ากับ _____________ M/s

24
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา A + 2B → C + D
เมื่อทาการทดลองหาอัตราเริ่มต้นของการเกิดของสาร C ให้ข้อมูลดังแสดงในตาราง
[A]0 (M) [B]0 (M) Initial Rate (M/s) จงแสดงวิธีคานวณหา
(1) 0.10 0.10 1 1) กฎอัตรา 2) ค่าคงที่อัตรา (k)
(2) 0.10 0.30 9 3) ค่า Y ในตาราง
(3) 0.20 0.10 8 วิธีทำ Rate = k[A]m [B]n
(4) 0.30 0.10 Y หาอันดับ m และ n ของปฏิกิริยา

 m = ______

 n = ______

12
23-Jan-24

25
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา A + 2B → C + D
เมื่อทาการทดลองหาอัตราเริ่มต้นของการเกิดของสาร C ให้ข้อมูลดังแสดงในตาราง
[A]0 (M) [B]0 (M) Initial Rate (M/s) จงแสดงวิธีคานวณหา
(1) 0.10 0.10 1 1) กฎอัตรา 2) ค่าคงที่อัตรา (k)
(2) 0.10 0.30 9 3) ค่า Y ในตาราง
(3) 0.20 0.10 8 วิธีทำ Rate = k[A]m [B]n
(4) 0.30 0.10 Y อันดับ m = 3 และ n = 2
Rate = k[A]3 [B]2
r
k=
[A]3[ B]2

 ค่าคงที่อัตรา เท่ากับ ______________

26
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา A + 2B → C + D
เมื่อทาการทดลองหาอัตราเริ่มต้นของการเกิดของสาร C ให้ข้อมูลดังแสดงในตาราง
[A]0 (M) [B]0 (M) Initial Rate (M/s) จงแสดงวิธีคานวณหา
(1) 0.10 0.10 1 1) กฎอัตรา 2) ค่าคงที่อัตรา (k)
(2) 0.10 0.30 9 3) ค่า Y ในตาราง
(3) 0.20 0.10 8 วิธีทำ
(4) 0.30 0.10 Y
Rate = k[A]3 [B]2
Rate = k[A] [B] 3 2

 อัตราเริ่มต้นเท่ากับ ____________ M/s

13
23-Jan-24

27
กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated rate law)
• นากฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียลมาอินทิเกรตจะได้กฎอัตราอินทิเกรต
กฎอัตรา [ความเข้มข้น] กับ อัตราการเกิดปฏิกิริยา
กฎอัตราอินทิเกรต [ความเข้มข้น] กับ เวลา

28
กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated rate law)
ปฏิกิริยาอันดับศูนย์ (Zero-order reaction)

กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล r = − d [A] = k0 [A]0 = k0


dt
เมื่อ k0 คือค่าคงทีอัตราการเกิด  อันดับศูนย์
อินทิเกรตตั้งแต่ [A] ตั้งแต่ a0 ถึง a และ t ตั้งแต่ 0 ถึง t
a t
d [A]
จาก −
dt
= k0

a0
− d [A] = k0 dt0

− [A] = k0 [ t ]t0
a
a0

− (a − a0 ) = k0 t
กฎอัตราอินทิเกรตของ
a = − k0 t + a0 ปฏิกิริยาอันดับศูนย์

14
23-Jan-24

29
กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated rate law)
ปฏิกิริยาอันดับศูนย์ (Zero-order reaction)
กฎอัตราอินทิเกรตของ ปฏิกิริยาอันดับศูนย์ a = − k0 t + a0
ครึ่งชีวิตของปฏิกิริยา (t1/2) คือ เวลาที่ใช้ในการทาให้ความเข้มข้นของตัวทาปฏิกิริยา
เหลือครึ่งหนึ่งของความเข้มข้น t = t1/2 และ a = a0/2
a0
แทนค่าลงในสมการ = − k0 t1/2 + a0
2
a
k0 t1/2 = a0 − 0
2
a a0
t1/2 = 0 หรือ k0 =
2k 0 2t1/2
หน่วย M/s

30
กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated rate law)
ปฏิกิริยาอันดับศูนย์ (Zero-order reaction)
กฎอัตราอินทิเกรตของ ปฏิกิริยาอันดับศูนย์ a = − k0 t + a0

กราฟเส้นตรง
ความชัน = -k0
จุดตัดแกน = a0

15
23-Jan-24

31
กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated rate law)
ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง (First-order reaction)

กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล d [A]
r = − = k1[A]
dt
อินทิเกรตตั้งแต่ [A] ตั้งแต่ a0 ถึง a และ t ตั้งแต่ 0 ถึง t
a t
d [ A]
 [A] = − k1 0 dt
a0
a
ln = − k1t
a0
กฎอัตราอินทิเกรตของ
ln a = − k1t + ln a0
ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง
− k1t
log a = + log a0
2.303

32
กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated rate law)
ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง (First-order reaction)

กฎอัตราอินทิเกรตของ ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง ln a = − k1t + ln a0


ครึ่งชีวิต t = t1/2 และ a = a0/2
แทนค่าลงในสมการ
a0
ln = − k1t1/ 2 + ln a0
2
a
ln 0 = − k1t1/ 2
2a0
0.693
t1/ 2 =
k1
ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง ค่า t1/2 ไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารตั้งต้น

16
23-Jan-24

33
กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated rate law)
ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง (First-order reaction)

0.693
ค่าครึ่งชีวิต t1/2 ของ ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง t1/ 2 =
k1

เมื่อความเข้มข้นลดลดเป็น a0/2n เวลาที่ใช้คือ nt1/2


n=1
a0/2 t1/2
n=2
a0/4 2t1/2
n=3
a0/8 3t1/2

34
กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated rate law)
ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง (First-order reaction)

กฎอัตราอินทิเกรตของ ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง ln a = − k1t + ln a0


เมื่อ Plot ระหว่าง log a และ t

− k1t
log a = + log a0
2.303
− k1
slope =
2.303
จุดตัดแกน = log a0

17
23-Jan-24

35
กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated rate law)
ปฏิกิริยาอันดับสอง (Second-order reaction)
หรือ

กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล r = − d [A] = k2 [A]2


dt
อินทิเกรตตั้งแต่ [A] ตั้งแต่ a0 ถึง a และ t ตั้งแต่ 0 ถึง t
a t
d [A]
 [A]2
a0
= − k 2  dt
0

1 1
− = k2 t
a a0
1 1 กฎอัตราอินทิเกรตของ
= k2 t +
a a0 ปฏิกิริยาอันดับสอง

36
กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated rate law)
ปฏิกิริยาอันดับสอง (Second-order reaction)

1 1
กฎอัตราอินทิเกรตของ ปฏิกิริยาอันดับสอง = k2 t +
a a0
ครึ่งชีวิต t = t1/2 และ a = a0/2 เมื่อ Plot กราฟระหว่าง 1/a และ t
แทนค่าลงในสมการ
1 1
= k2 t1/2 +
a0 / 2 a0
1
t1/ 2 =
k2 a0

18
23-Jan-24

37
กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated rate law)
Zero-Order First-Order Second-Order
d [A] d[A] d[A]
Rate Law r =− = k0 r = − = k1[A] r = −
dt
= k 2 [A]2
dt dt

ความสัมพันธ์ระหว่าง 1 1
a = − k0 t + a0 ln a = − k1t + ln a0 = k2 t +
[A] และ t a a0

กราฟเส้นตรง [A] และ t ln [A] และ t 1/[A] และ t


ความชัน = -k0 ความชัน = -k1 ความชัน = k2

a0 0.693 1
ค่าครึ่งชีวิต t1/2 = t1/ 2 = t1/ 2 =
2k0 k1 k2 a0

38
กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated rate law)
กราฟเส้นตรง
Zero-Order First-Order Second-Order
[A] และ t ln [A] และ t 1/[A] และ t

19
23-Jan-24

39
แบบฝึกหัด
สาร A ทาปฏิกิริยาตามกฎอัตราของปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง มีค่า k = 5x10-5 s-1
ก) จงหาอัตราเริ่มต้น (initial rate) ถ้าความเข้มข้นเริ่มต้นเท่ากับ 1.00 M
ข) จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาหลังจากเวลาผ่านไป 1 นาที
วิธีทำ ก) จงหาอัตราเริ่มต้น (initial rate) ถ้าความเข้มข้นเริ่มต้นเท่ากับ 1.00 M
จากโจทย์ เป็น ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง; 𝑟=
แทนค่า r =
 อัตราเริ่มต้น มีค่าเท่ากับ ___________

40
แบบฝึกหัด
สาร A ทาปฏิกิริยาตามกฎอัตราของปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง มีค่า k = 5x10-5 s-1
ก) จงหาอัตราเริ่มต้น (initial rate) ถ้าความเข้มข้นเริ่มต้นเท่ากับ 1.00 M
ข) จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาหลังจากเวลาผ่านไป 1 นาที
วิธีทำ ข) จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาหลังจากเวลาผ่านไป 1 นาที
จากโจทย์ เป็น ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง; 𝑟 = หา [A] ที่ 1 นาที – [A]0

ln a = − k1t + ln a0
แทนค่า ln a =
a= M
d[A]
แทนค่า r=−
dt
 อัตราการเกิดปฏิกิริยาหลังเวลาผ่านไป 1 นาที มีค่าเท่ากับ ___________

20
23-Jan-24

41
แบบฝึกหัด
การเปลี่ยนสาร tert-butyl bromide ให้เป็น tert-butyl alcohol ในตัวทาละลาย
ซึ่งประกอบด้วย 90% acetone และ 10%H2O สามารถเขียนได้ดังสมการ

จงเขียนกราฟของข้อมูลทางจลนพลศาสตร์แสดงว่าปฏิกิริยาเป็นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง
และมีค่า k เท่ากับ 1.4 x 10-5 s-1 −k t
วิธีทำ กฎอัตราอินทิเกรตของ ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง log a = 2.303 + log a0
1

0 t

42
แบบฝึกหัด
การสลายตัวของซูโครสกลายเป็นกลูโคสและฟรักโตสเป็นปฏิกิริยาอันดับหนึ่งโดยมีครึ่ง
ชีวิตของปฏิกิริยาเท่ากับ 3.33 ชั่วโมง ที่ 250C จะมีอัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นที่
เหลืออยู่ต่อความเข้มข้นเริ่มต้นของซูโครสเท่ากับเท่าไหร่หลังจากเวลาผ่านไป 9 ชั่วโมง
0.693
วิธีทำ จากโจทย์ เป็น ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง; t1/ 2 =
k1

ln a = − k1t + ln a0
แทนค่า ln 𝑎 =

21
23-Jan-24

43
แบบฝึกหัด
ปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซชันของ cyclobutadiene เปลี่ยนเป็น butadiene เป็นปฏิกิริยา
อันดับหนึ่งมีค่า k เท่ากับ 3.3 x 10-4 s-1 ที่อุณหภูมิ 153 0C จะใช้เวลากี่นาทีในการทา
ให้เกิดปฎิกิริยาไอโซเมอไรเซชัน 40% ที่อุณหภูมิเดียวกันและค่าครึ่งชีวิตของปฏิกิริยานี้
มีค่าเท่าใด จากโจทย์ เป็น ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง; ln a = − k1t + ln a0
วิธีทำ ที่เวลา t มี cyclobutadiene เหลือ เท่ากับ
แทนค่า ln a = − k1t + ln a0

ดังนั้นจะใช้เวลาทั้งหมด

44
แบบฝึกหัด
ปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซชันของ cyclobutadiene เปลี่ยนเป็น butadiene เป็นปฏิกิริยา
อันดับหนึ่งมีค่า k เท่ากับ 3.3 x 10-4 s-1 ที่อุณหภูมิ 153 0C จะใช้เวลากี่นาทีในการทา
ให้เกิดปฎิกิริยาไอโซเมอไรเซชัน 40% ที่อุณหภูมิเดียวกันและค่าครึ่งชีวิตของปฏิกิริยานี้
มีค่าเท่าใด 0.693
วิธีทำ จากโจทย์ เป็น ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง; t1/ 2 =
k1
0.693
แทนค่า t1/ 2 =
k1
𝑡1/2 =

ดังนั้น ค่าครึ่งชีวิตของปฏิกิริยานี้มีค่า = ___________ วินาที

22
23-Jan-24

45
แบบฝึกหัด
การสลายตัวด้วยความร้อนของ acetaldehyde (CH3CHO) เป็นปฏิกิริยาอันดับสอง
และมีค่า k2 เท่ากับ 0.334 dm3 mol-1 s-1 ที่อุณหภูมิ 500 0C จงคานวณหาเวลาที่จะ
ทาให้ acetaldehyde สลายตัวไปเท่ากับ 50% และ 80% ถ้ากาหนดให้ความเข้มข้น
เริ่มต้นของ acetaldehyde เท่ากับ 0.0075 โมลาร์
วิธีทำ 1) หาเวลาที่ทาให้ acetaldehyde สลายตัวไปเท่ากับ 50% t1/ 2
1
จากโจทย์ เป็น ปฏิกิริยาอันดับสอง; t1/ 2 =
k2 a0
แทนค่า 𝑡1/2 =

𝑡1/2 =

 เวลาที่ทาให้ acetaldehyde สลายตัวไปเท่ากับ 50% เท่ากับ _______ วินาที

46
แบบฝึกหัด
การสลายตัวด้วยความร้อนของ acetaldehyde (CH3CHO) เป็นปฏิกิริยาอันดับสอง
และมีค่า k2 เท่ากับ 0.334 dm3 mol-1 s-1 ที่อุณหภูมิ 500 0C จงคานวณหาเวลาที่จะ
ทาให้ acetaldehyde สลายตัวไปเท่ากับ 50% และ 80% ถ้ากาหนดให้ความเข้มข้น
เริ่มต้นของ acetaldehyde เท่ากับ 0.0075 โมลาร์
วิธีทำ 2) หาเวลาที่ทาให้ acetaldehyde สลายตัวไปเท่ากับ 80%
ที่เวลา t เหลือ สารเท่ากับ 20% ของความเข้มข้นเริ่มต้น
=
จากโจทย์ เป็น ปฏิกิริยาอันดับสอง; 1 = k2 t + 1
a a0

แทนค่า
∴ t=
 เวลาที่ทาให้ acetaldehyde สลายตัวไปเท่ากับ 80% เท่ากับ ______วินาที

23
23-Jan-24

47
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา 2AB3 A2 + 3B2 จงพิจารณากราฟด้านล่างและตอบคาถาม
ต่อไปนี้
ก. อันดับของปฏิกิริยา คือ …………………………..
จากกราฟเป็นการพลอตระหว่าง กับ
ได้กราฟเป็นเส้นตรง ดังนั้น เป็นปฏิกิริยาอันดับ_____
ข. ค่าคงที่อัตรา (k) คือ …………………………..
ปฏิกิริยาอันดับ____
Slope =

ค. ครึ่งชีวิต (t1/2) คือ ………………..

ปฏิกิริยาอันดับ____ 𝑡1/2 = 𝑡1/2 =

48
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา 2C4H6 C8H12 ปฏิกิริยานี้มี t1/2 = 500 s
เมื่อพิจารณากราฟด้านล่าง จงหาความเข้มข้นเริ่มต้นของ [C4H6]
จากกราฟเป็นการพลอตระหว่าง 1/[C6H6] กับ t
ได้กราฟเป็นเส้นตรง
ดังนั้น เป็นปฏิกิริยาอันดับ_______
 ความชัน = ____ = 4.0 x 10-2 M-1s-1
1
จากความสัมพันธ์ t1/ 2 =
k2 a0
แทนค่า  a0 = _____ M
ความเข้มข้นเริ่มต้นของ [C4H6] = _____ M

24
23-Jan-24

49
การเกิดปฏิกิริยาเคมี
• เราสามารถอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้โดยอาศัย ทฤษฎีการชน
ทฤษฎีการชน (Collision theory) : ปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้ต่อเมื่ออนุภาคของตัวทา
ปฏิกิริยาเข้ามาชนกัน เมื่อชนกันแล้วถ้ามีพลังงานมากพอก็จะมีการจัดอะตอมกันใหม่
อัตราการเกิดปฏิกิริยา  จานวนครั้งของการชนกัน
เวลา
• ปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อ:
- อนุภาคที่เข้าชนกันอยู่ในภาวะทีเหมาะต่อการทาให้เกิดปฏิกิริยา
- อนุภาคจะต้องมีพลังงานสูงมากเพียงพอที่จะชนะแรงผลักที่เกิดขึ้นเมื่ออนุภาค
เข้ามาใกล้กัน

50
ทฤษฎีการชน (Collision theory)
ตัวอย่างเช่น
การเกิดปฏิกิริยาจะเป็นดังนี้

• อนุภาคของ A และ BC จะมีแรงผลักระหว่างกัน


• เพื่อทาให้เกิด A---B---C จะต้องมีพลังงานจลน์ที่มากกว่า แรงผลัก
ระหว่าง A และ BC
ดังนั้น A---B---C จะมีพลังงานศักย์ที่สูงกว่า สารตั้งต้น และ ผลิตภัณฑ์
• ถ้าต้องการให้เปลี่ยนจากสารตั้งต้นเป็นผลิตภัณฑ์ จะต้องใช้พลังงานจลน์
ที่เท่ากับหรือมากกว่าพลังงานศักย์ของ A---B---C เรียก พลังงานนี้ว่า
พลังงานกระตุ้น หรือ พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation Energy, Ea)

25
23-Jan-24

51
พลังงานกระตุ้น (Activation Energy, Ea)
• หรือเรียกว่า พลังงานก่อกัมมันต์
• เป็นพลังงานน้อยที่สุดที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาได้
• Ea เป็นค่าคงที่ ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยาเคมี
Ea
• ค่า Ea น้อย
- ปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้ง่าย
- อัตราการเกิดปฏิกิริยาสูง

52
ทฤษฎีการชน (Collision theory)

สภาวะแทรนซิชัน - ถ้าพลังงานในการชน > Ea


(or activated complex) สารตั้งต้นจะสามารถเปลี่ยนเป็น
สารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น ผลิตภัณฑ์ได้ (ข้ามผ่าน barrier ได้)
- ถ้าพลังงานในการชน < Ea
สารตั้งต้นจะไม่สามารถเปลี่ยนเป็น
ผลิตภัณฑ์ได้ (แรงผลักระหว่างสาร
ตั้งต้นมีมากกว่า)

26
23-Jan-24

53
แผนภาพพลังงานของปฏิกิริยา (Reaction Energy Profile)

• ถ้าผลิตภัณฑ์มีความเสถียรมากกว่า (พลังงานต่ากว่า) สารตั้งต้น


ปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic reaction) (คายพลังงาน) (H เป็น ลบ)
• ถ้าผลิตภัณฑ์มีความเสถียรน้อยกว่า (พลังงานสูงกว่า) สารตั้งต้น
ปฏิกิริยาดูดความร้อน (Endothermic reaction) (ดูดพลังงาน) (H เป็น บวก)

54
แผนภาพพลังงานของปฏิกิริยา (Reaction Energy Profile)

Ear < Eap Ear > Eap


Ear คือ พลังงานกระตุ้นสาหรับการที่สารตั้งต้น (reactant) เปลี่ยนเป็น Activated complex
Eap คือ พลังงานกระตุ้นสาหรับการที่ผลิตภัณฑ์ (product) เปลี่ยนเป็น Activated complex

27
23-Jan-24

55
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา A2 + B2 → 2AB จงตอบคาถามต่อไปนี้
ก) ค่า Ea ของปฏิกิริยามีค่าเท่ากับ............
Ea
ข) ค่า Eap ของปฏิกิริยามีค่าเท่ากับ............
Eap H
ค) ค่า H ของปฏิกิริยามีค่าเท่ากับ............

ง) ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยา (ดูด/คาย)............ ความร้อน


เนื่องจาก H มีค่าเป็น _____ และ พลังงานของผลิตภัณฑ์_______สารตั้งต้น

56
ผลของอุณหภูมิต่อการเกิดปฏิกิริยา
เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ โมเลกุลเคลื่อนที่เร็วขึ้น พลังงานจลน์สูงขึ้น

มีการชนกันของโมเลกุลมากขึ้น ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น
มีจานวนโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์  Ea มากขึ้น ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น

28
23-Jan-24

57
ผลของอุณหภูมิต่อการเกิดปฏิกิริยา
• ค่าคงที่อัตราของปฏิกิริยาขึ้นอยู่กับอุณหภูมิสามารถอธิบายได้โดย
สมการอาร์เรเนียส (Arrhenius equation)
k = Ae − E a / RT

• ถ้าปฏิกิริยามีค่า Ea สูงขึ้น ค่าคงที่อัตรา (k) จะมีค่าน้อยลง


ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นได้ช้าลง

58
สมการอาร์เรเนียส (Arrhenius equation)
 E  1 
k = Ae − E a / RT
ln k =  − a   + ln A
 R  T 
 Ea  1 
หรือ log k =  −   + log A
 2.303R  T 
เมื่อ plot กราฟระหว่าง ln k กับ 1/T จะสามารถหาค่า Ea และ ln A ได้

(ถ้า plot log k กับ 1/T )

29
23-Jan-24

59
สมการอาร์เรเนียส (Arrhenius equation)
• สามารถใช้สมการอาร์เรเนียสหาค่า Ea จากค่าคงที่อัตรา (k) ที่อุณหภูมิ 2
ตาแหน่ง ได้ดังนี้
 E  1 
ln k1 =  − a   + ln A
 R  T1 
 E  1 
ln k2 =  − a   + ln A
 R  T2 

k2  Ea  1 1 
ln =  −  − 
k1  R  T2 T1 

60
สมการอาร์เรเนียส (Arrhenius equation)
• สามารถใช้สมการอาร์เรเนียสหาค่า Ea จากค่าคงที่อัตรา (k) ที่อุณหภูมิ 2
ตาแหน่ง ได้ดังนี้
k2  E  1 1 
ln =  − a  − 
k1  R  T2 T1 

k2  Ea  1 1 
หรือ log = −  − 
k1  2.303R  T2 T1 

30
23-Jan-24

61
แบบฝึกหัด
ปฏิกิริยาการจัดเรียงตัวใหม่ของไซโคลโพรเพนเป็นดังนี้
ที่อุณหภูมิ 300oC ค่าคงที่อัตราของปฏิกิริยาเท่ากับ 2.41 x 10-10 s-1 และที่อุณหภูมิ 400oC
ค่าคงที่อัตราของปฏิกิริยาเท่ากับ 1.16 x 10-6 s-1 จงหาค่า Ea ในหน่วยของ kJ/mol
วิธีทำ จากความสัมพันธ์

แทนค่า

62
แบบฝึกหัด
ปฏิกิริยา 2NO2 g + F2 (g) → 2NO2F(g) มีค่า Ea = 43.5 kJmol-1 ที่ T =
300 oC จะมีค่า k = 2.5 x 10-5 dm3 mol-1 s-1 จงคานวณค่า k ที่ T = 400 oC
วิธีทำ จากความสัมพันธ์

แทนค่า

31
23-Jan-24

63
แบบฝึกหัด
ผลการทดลองเกี่ยวกับการสลายตัวของสาร Y นามาเขียนกราฟได้ดังรูป
จงหาพลังงานกระตุ้น (Ea)
วิธีทำ เมื่อ plot กราฟระหว่าง ln k กับ 1/T

แทนค่า
1/T
 E  1 
ln k =  − a   + ln A
 R  T 

64
กฎอัตราและกลไกปฏิกิริยา (Reaction mechanism)
• เพื่อที่จะบอกว่าปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้อย่างไร
โดยการรวมปฏิกิริยาย่อย (Elementary reactions) ที่เกิดขึ้นเพื่อใช้อธิบาย
ปฏิกิริยารวมที่เกิดขึ้น (Overall reaction)
• กลไกปฏิกิริยา แสดงถึง ลาดับของปฏิกิริยาย่อยที่เกิดขึ้นที่นาไปสู่ผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยา
• กฎอัตราของปฏิกิริยาย่อย จะมีเลขยกกาลังของความเข้มข้นของสารตั้งต้นเท่ากับ
สัมประสิทธิ์ในปฏิกิริยาเคมี
• ถ้าปฏิกิริยารวมเกิดขึ้นโดยมีปฏิกิริยาย่อยเพียงขั้นเดียว (single elementary step)
กฏอัตราของปฏิกิริยารวมจะเหมือนกับกฎอัตราของปฏิกริ ิยาย่อย
• ถ้าปฏิกิริยารวมเกิดขึ้นโดยมีปฏิกิริยาย่อยตั้งแต่ 2 ปฏิกิริยาขึ้นไป
กฎอัตราของปฏิกิริยารวมจะอธิบายโดยขั้นกาหนดอัตรา (Rate-determining step)
ขั้นที่เกิดปฏิกิริยาได้ช้าที่สุด

32
23-Jan-24

65
กฎอัตราและกลไกปฏิกิริยา (Reaction mechanism)
ตัวอย่างเช่น ปฏิกิริยาระหว่าง nitrogen dioxide (NO2) และ carbon monoxide
(CO) ซึ่งเกิดผ่านปฏิกิริยาย่อย 2 ขั้นตอนดังนี้
ปฏิกิริยาย่อยที่ 1 NO2 (g) + NO2 (g) ⎯⎯→
k1
NO(g) + NO3 (g) ช้า
ปฏิกิริยาย่อยที่ 2 NO3 (g) + CO(g) ⎯⎯→
k2
NO2 (g) + CO2 (g) เร็ว
ปฏิกิริยารวม NO2 (g) + CO(g) ⎯
⎯→ NO(g) + CO2 (g)

กฎอัตราของปฏิกิริยารวมจะอธิบายโดยขั้นกาหนดอัตรา (Rate-determining step)


ปฏิกิริยาย่อยที่ 1 ขั้นที่เกิดปฏิกิริยาได้ช้าที่สุด
เรียก โมเลกุลของ NO3 ว่า “สารมัธยันต์ (intermediate)”
พบในปฏิกิริยาย่อย แต่ไม่พบในปฏิกิริยารวม

66
กฎอัตราและกลไกปฏิกิริยา (Reaction mechanism)
ตัวอย่างเช่น ปฏิกิริยา 4HBr(g) + O2 (g) ⎯
⎯→ 2H 2O(l) + 2Br2 (g)
ปฏิกิริยานี้เกิดจากหลายปฏิกิริยาย่อย เรียกลาดับขั้นตอนที่ต่อเนื่องกันนี้ว่ากลไกของปฏิกิริยา
ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนย่อยดังนี้
ปฏิกิริยาย่อยที่ 1 HBr + O2 ⎯
⎯→ HOOBr ช้า
ปฏิกิริยาย่อยที่ 2 HOOBr + HBr ⎯
⎯→ 2HOBr เร็ว
ปฏิกิริยาย่อยที่ 3 HOBr + HBr ⎯
⎯→ H 2O + Br2 เร็ว
ปฏิกิริยารวม 4HBr(g) + O2 (g) ⎯ ⎯→ 2H 2O(l) + 2Br2 (g)
ขั้นกาหนดอัตรา คือ ปฏิกิริยาย่อยที่ 1 (เนื่องจากเกิดได้ช้าที่สุด)
สามารถเขียนกฎอัตราได้ดังนี้ rate = k[HBr][O2]
สารมัธยันต์ (Intermediate) คือ HOOBr และ HOBr

33
23-Jan-24

67
กฎอัตราและกลไกปฏิกิริยา (Reaction mechanism)
ปฏิกิริยา 2C + D ⎯ ⎯→ E กลไกของปฏิกิริยาประกอบด้วย 2 ขั้นตอนย่อยดังนี้
ปฏิกิริยาย่อยที่ 1 C+D ⎯ ⎯→ CD Ea1
ปฏิกิริยาย่อยที่ 2 CD + C ⎯⎯→ E Ea 2
ปฏิกิริยารวม 2C + D ⎯⎯→ E
กลไกของปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้ 2 แบบคือ แบบที่ 1 Ea1 > Ea2
กลไกของปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาย่อยที่ 1 C + D ⎯⎯→ CD ช้า
ปฏิกิริยาย่อยที่ 2 CD + C ⎯
⎯→ E เร็ว
ขั้นกาหนดอัตรา คือ ปฏิกิริยาย่อยที่ 1
กฎอัตรา คือ rate = k[C][D]
สารมัธยันต์คือ CD

68
กฎอัตราและกลไกปฏิกิริยา (Reaction mechanism)
⎯→ E กลไกของปฏิกิริยาประกอบด้วย 2 ขั้นตอนย่อยดังนี้
ปฏิกิริยา 2C + D ⎯
กลไกของปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้ 2 แบบคือ แบบที่ 2 Ea < Ea 1 2
กลไกของปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาย่อยที่ 1 C + D CD เร็ว, สมดุล
ปฏิกิริยาย่อยที่ 2 CD + C ⎯
⎯→ E ช้า
ขั้นกาหนดอัตรา คือ ปฏิกิริยาย่อยที่ 2
กฎอัตรา คือ rate = k[CD][C]
สารมัธยันต์
พิจารณาปฏิกิริยาย่อยที่ 1  ไปข้างหน้า rf = kf[C][D] ที่สมดุล rf = rr
C+D CD  ย้อนกลับ rr = kr[CD] kf[C][D] = kr[CD]
k f [C][D] แทนค่า k [C][D]
[CD] = rate = k f [C] = k'[C]2 [D]
kr ในกฎอัตรา kr
k
เมื่อ k ' = k f
kr

34
23-Jan-24

69
แบบฝึกหัด
จากปฏิกิริยา 2H 2 + 2 NO N 2 + H 2 O กลไกของการเกิดปฏิกิริยาเป็นดังนี้
K1
ปฏิกิริยาย่อยที่ 1 2 NO N 2O 2 เร็ว
k
ปฏิกิริยาย่อยที่ 2 N2O2 + H2 ⎯⎯→ 2 N O+H O ช้า
2 2
k3 N + H O เร็ว
ปฏิกิริยาย่อยที่ 3 N2O + H2 ⎯ ⎯→ 2 2

จงหากฎอัตราจากกลไกปฏิกิริยา, สารมัธยันต์, และ อันดับรวมของปฏิกิริยา


วิธีทำ ขั้นกาหนดอัตรา คือ ปฏิกิริยาย่อยที่ __
พิจารณาปฏิกิริยาย่อยที่ 1
K1
2 NO N 2O 2

แทนค่าในกฎอัตรา
อันดับรวมของปฏิกิริยา คือ
สารมัธยันต์ คือ

70
แบบฝึกหัด
จากข้อมูลปฏิกิริยาหนึ่งมีกลไก 3 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 A + B ⎯⎯→ D เร็ว
ขั้นที่ 2 D + A F เร็วและผันกลับได้
ขั้นที่ 3 F + B ⎯⎯→ C ช้า
จงตอบคาถามต่อไปนี้
ก) ปฏิกิริยารวมนี้คือ …………………………………..
ข) สารมัธยันต์คือ …………………………………..
ค) กลไกขั้นที่ 3 เรียกว่า …………………………………..
ง) กลไกขั้นที่ 2 เป็นกระบวนการชนิดใด …………………………………..

35
23-Jan-24

71
แบบฝึกหัด
จากข้อมูลปฏิกิริยาหนึ่งมีกลไก 3 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 A + B ⎯ ⎯→ D เร็ว
ขั้นที่ 2 D + A F เร็วและผันกลับได้
ขั้นที่ 3 F + B ⎯ ⎯→ C ช้า
จ) ถ้า AB*, DA* และ FB* เป็นสารเชิงซ้อนกัมมันต์ จงเขียนกราฟแสดงระดับพลังงานพร้อมทั้ง
ระบุตาแหน่งของสารมัธยันต์, สารเชิงซ้อนกัมมันต์, และผลิตผลในกราฟให้ชัดเจน และระบุช่วง Ea
ของแต่ละปฏิกิริยาย่อย และ ∆H ของปฎิกิริยา
พลังงาน

การดาเนินไปของปฏิกิริยา

72
ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst)
• อัตราของปฏิกิริยาขึ้นอยู่กับ ความเข้มข้นของสารตั้งต้น และ อุณหภูมิ
นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับ ตัวเร่งปฏิกิริยา
• ตัวเร่งปฏิกิริยา คือ สารที่เพิ่มความเร็วของปฏิกิริยา (ลดพลังงานกระตุ้น) โดยตัวเร่ง
จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีอย่างถาวร โดยเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาจะได้ตัวเร่งกลับคืนมา
• ตัวเร่งปฏิกิริยา ทาให้อัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น
Catalyst • ตัวเร่งปฏิกิริยา ไม่ทาให้พลังงาน
ของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์
∆H ∆H เปลี่ยนแปลง (∆H เท่าเดิม)

36
23-Jan-24

73
ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst)
• ตัวเร่งปฏิกิริยา ทาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น

Lower Ea

74
แบบฝึกหัด
ขั้นที่ 1 2XY X 2 Y2
ขั้นที่ 2 X2Y2 + Y2 ⎯
⎯→ 2XY2
จากข้อมูลจงตอบคาถามต่อไปนี้
ก) ปฏิกิริยารวม คือ .................................................
ข) X2Y2 ในปฏิกิริยาเรียกว่า........................................

ค) ลากเส้นแสดงค่า ∆H ของปฏิกิริยารวมในกราฟ
ง) ขั้นกาหนดอัตราคือขั้นที่ .............
จ) การใส่ตัวเร่งปฏิกิริยามีผลต่อ ∆H ของปฏิกิริยาและพลังงานกระตุ้นอย่างไร
∆H มีค่า ...................... Ea มีค่า ......................

37
23-Jan-24

75
แบบฝึกหัด
ขั้นที่ 1 2XY X 2 Y2
ขั้นที่ 2 X2Y2 + Y2 ⎯
⎯→ 2XY2
จากข้อมูลจงตอบคาถามต่อไปนี้
ฉ) เขียนกฎอัตราจากกลไก
จากขั้นกาหนดอัตราคือ ขั้นที่ _________
rate =

พิจารณาปฏิกิริยาย่อยที่ 1  ไปข้างหน้า
2XY X 2 Y2  ย้อนกลับ
แทนค่า
ในกฎอัตรา

38
30-Jan-24

สมดุลเคมี
(Chemical Equilibrium)
รศ.ดร. พัชรีนารถ ทรัพย์อาภากร

2
สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)
สำหรับปฏิกิริยำเคมี
• ถ้ำต้องกำรทำนำยว่ำปฏิกิริยำเกิดขึ้นได้เองหรือไม่
ใช้ควำมรู้ทำงอุณหพลศำสตร์ (Thermodynamics)
• ถ้ำต้องกำรทำนำยว่ำปฏิกิริยำดำเนินไปถึงไหน
ใช้ควำมรู้ทำงสมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)
• ถ้ำต้องกำรทำนำยว่ำปฏิกิริยำดำเนินไปได้เร็วแค่ไหน
ใช้ควำมรู้ทำงจลนพลศำสตร์เคมี (Chemical Kinetics)

1
30-Jan-24

3
สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)
• สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)
คือสภำวะที่ไม่สำมำรถเห็นกำรเปลี่ยนแปลงของควำมเข้มข้นของสำรตั้งต้นหรือผลิตภัณฑ์
เมื่อเวลำผ่ำนไป (แต่ในระดับโมเลกุลมีกำรเปลี่ยนแปลงไปมำของสำรตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์ตลอดเวลำ)
• สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงถึงสมดุลเคมีในสมกำรเคมีคือ ⇌
• ในปฏิกิริยำที่ผันกลับได้; ปฏิกิริยำจะเข้ำสู่สมดุลเมื่อ
อัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำไปด้ำนหน้ำ (forward) เท่ำกับอัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำย้อนกลับ (reverse)

Rate of forward reaction


ARate of reverse reactionB

4
สภำวะสมดุล (Equilibrium State)
Dinitrogen tetroxide Nitrogen dioxide
ตัวอย่ำงเช่น ปฏิกิริยำที่ผันกลับได้ระหว่ำงโมเลกุลของ N2O4 และ NO2
N 2 O 4 (g) 2 NO 2 (g)

กำรทดลองที่ 1 กำรทดลองที่ 2

ปฏิกิริยำดำเนินไปจนพบว่ำได้ควำมเข้มข้นเท่ำกับ
กำรทดลองที่ 1

2
30-Jan-24

5
สภำวะสมดุล (Equilibrium State)
ตัวอย่ำงเช่น ปฏิกิริยำที่ผันกลับได้ระหว่ำงโมเลกุลของ N2O4 และ NO2
N 2 O 4 (g) 2 NO 2 (g)

• ที่สภำวะสมดุลเรียกว่ำเป็นสมดุลพลวัติเนื่องจำกมีอัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำไป
ข้ำงหน้ำเท่ำกับอัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำย้อนกลับ

6
ค่ำคงที่สมดุล (Equilibrium constant, Kc)
สำหรับปฏิกิริยำผันกลับได้

เมื่อ a, b, c และ d คือ สัมประสิทธิ์ปริมำณสัมพันธ์ของสมกำรที่ดุลแล้ว


A และ B คือสำรตั้งต้น C และ D คือผลิตภัณฑ์
สมกำรสมดุล (Equilibrium equation) (หรือเรียกว่ำ กฎกริยำเชิงมวล (Law of mass action))
สำมำรถเขียนได้ดังนี้ [C]c [D]d
Kc =
[A]a [B]b

3
30-Jan-24

7
ค่ำคงที่สมดุล (Equilibrium constant, Kc)
ตัวอย่ำงเช่น ปฏิกิริยำที่ผันกลับได้ระหว่ำงโมเลกุลของ N2O4 และ NO2
N 2 O 4 (g) 2 NO 2 (g)

[NO 2 ]2
Kc =
[N 2 O 4 ]
[0.0125] 2
=
[0.0337]

= 4.64 x 10 −3

8
สมบัติของค่ำ K จำกกฎกริยำเชิงมวล
1. เมื่อคูณสมกำรที่แสดงปฏิกิริยำด้วยตัวเลขใดๆ ค่ำ K ของสมกำรใหม่ (K’) จะมีค่ำ
เท่ำกับค่ำ K เดิมยกกำลังตัวเลขนั้น
เช่น 2SO 2 (g) + O 2 (g) 2SO 3 (g) (1)
[SO 3 ]2
Kc =
[SO 2 ]2 [O 2 ]
=a
1
(1) x 1/2 SO 2 (g) + O 2 (g) SO 3 (g) (2)
2
[SO 3 ]
K c' =
[SO 2 ] [O 2 ]1/ 2
= a1/2

(2) = (1) x 1/2 K c' = K c1/ 2 = a1/ 2

4
30-Jan-24

9
สมบัติของค่ำ K จำกกฎกริยำเชิงมวล
2. ถ้ำกลับข้ำงของสมกำร ค่ำ K ของสมกำรใหม่ (K’) จะมีค่ำเท่ำกับส่วนกลับของค่ำ K เดิม
เช่น 2SO 2 (g) + O 2 (g) 2SO 3 (g) (1)
[SO 3 ]2
Kc =
[SO 2 ]2 [O 2 ]
=a

กลับข้ำงสมกำร 2SO 3 (g) 2SO 2 (g) + O 2 (g) (3)

K c' =
[SO 2 ]2 [O 2 ] = 1/a
[SO 3 ]2

1 1
(2) = กลับข้ำงสมกำร(1) K c' = =
Kc a
3. ค่ำคงที่สมดุลมีค่ำคงที่ๆอุณหภูมิหนึง่ ๆ ถ้ำ อุณหภูมิ เปลี่ยน ค่ำคงที่สมดุล เปลี่ยน

10
สมบัติของค่ำ K จำกกฎกริยำเชิงมวล
4. เมื่อปฏิกิริยำเกิดขึ้นหลำยขั้นตอน ค่ำ K ของปฏิกิริยำรวมที่เป็นผลบวกของปฏิกิริยำย่อย
จะเท่ำกับผลคูณของค่ำ K ของปฏิกิริยำย่อย
เช่น [ N 2O 4 ]
ปฏิกิริยำรวม 2NO(g) + O 2 (g) N 2 O 4 (g) (1) K c = [ NO]2 [O ] = ?
2

=b
2
[ NO 2 ]
ปฏิกิริยำย่อย 2NO(g) + O 2 (g) 2 NO 2 (g) (2) K c =
'

[ NO]2 [O 2 ]

ปฏิกิริยำย่อย 2N O 2 (g) N 2 O 4 (g) (3) K c' ' =


[ N 2O 4 ] =c
[ NO 2 ]2
(1) = (2) + (3) K c = K c' x K c' '
[ NO 2 ]2 [ N 2O 4 ] [ N 2O 4 ]
Kc = 2
x 2
= =bx c
[ NO] [O 2 ] [ NO 2 ] [ NO]2 [O 2 ]
K c'
(ถ้ำ (2) - (3) Kc = )
K c' '

5
30-Jan-24

11
แบบฝึกหัด
กำหนดค่ำคงตัวปฏิกิริยำที่อุณหภูมิหนึ่ง ดังต่อไปนี้
N 2 (g) + O 2 (g) 2NO(g) (1) : K1 = 4.3x10-25
2NO(g) + O 2 (g) 2NO 2 (g) (2) : K 2 = 6.4x109

จงหำค่ำ K ของปฏิกิริยำต่อไปนี้ที่ T เดียวกัน


a) 2NO(g) N 2 (g) + O 2 (g)

1 1
b) N 2 (g) + O 2 (g) NO(g)
2 2

c) N 2 (g) + 2O 2 (g) 2 NO 2 (g)

12
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสมดุลเคมีและจลนพลศำสตร์เคมี
กรณีมีกลไก 1 ขั้นตอน
จำกกฎอัตรำ; อัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำไปข้ำงหน้ำ = kf [A][B]
อัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำไปย้อนกลับ = kr [C][D]
• ที่สภำวะสมดุล อัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำไปข้ำงหน้ำเท่ำกับอัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำย้อนกลับ
ที่สภำวะสมดุล และค่ำคงที่สมดุล
kf [A][B] = kr [C][D] [C][D]
Kc =
kf [C][D] [A][B]
=
kr [A][B]

6
30-Jan-24

13
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสมดุลเคมีและจลนพลศำสตร์เคมี
กรณีมีกลไก 2 ขั้นตอน
kf1
ขั้นตอนที่ 1 จำกกฎกริยำเชิงมวล
kr1
kf2 [E]
ขั้นตอนที่ 2 Kc =
kr2 [C]2 [D]
kf1 [CD] kf2 [E]
K1 = = K2 = =
k r1 [C][D] kr 2 [CD][C]

ปฏิกิริยำรวม = (1) + (2);


[CD] [E] [E]
K = K1 x K 2 = x = 2
[C][D] [CD][C] [C] [D]

สรุป ไม่ว่ำกลไกปฏิกิริยำเป็นอย่ำงไร สำมำรถเขียนค่ำคงที่สมดุล


ได้จำกกฎกริยำเชิงมวลของสมกำรเพื่อแสดงสภำวะสมดุลได้

14
ค่ำคงที่สมดุล (Equilibrium constant, KP)
สำหรับปฏิกิริยำในสถำนะแก๊ส ที่สภำวะสมดุล สำมำรถพิจำรณำได้โดยกำรเปลี่ยน
จำกค่ำควำมเข้มข้นเป็นความดันย่อย (Partial pressure, หน่วย atm)

( pC ) c ( pD ) d
Kp =
( pA ) a ( pB ) b
กำรแปลงระหว่ำงควำมเข้มข้นและควำมดันย่อยในกฎของแก๊สอุดมคติ
n
p =   RT = cRT
V 

( pC ) c ( pD ) d ([C]RT ) c ([D]RT ) d [C]c [D]d


Kp = = = x ( RT ) ( c + d ) −( a +b )
( pA ) a ( pB )b ([A]RT ) a ([B]RT )b [A]a [B]b

7
30-Jan-24

15
ค่ำคงที่สมดุล (Equilibrium constant, KP)
สำหรับปฏิกิริยำในสถำนะแก๊ส

( pC ) c ( pD ) d
Kp =
( pA ) a ( pB ) b
หรือ
K p = K c ( RT ) n

16
ประเภทของสมดุล (Type of equilibria)
สำมำรถแบ่งประเภทของสมดุลได้ดังนี้
• สมดุลเอกพันธ์ (Homogeneous equilibria)
เป็นระบบสมดุลที่สำรตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ทุกตัวอยู่ในสถำนะเดียวกัน
เช่น N 2 O 4 (g) 2 NO 2 (g)

• สมดุลวิวิธพันธ์ (Heterogeneous equilibria)


เป็นระบบสมดุลที่สำรตั้งต้นและผลิตภัณฑ์อยู่ในสถำนะมำกกว่ำ 1 สถำนะ
เช่น CaO(s) + CO 2 (g) CaO3 (s)

8
30-Jan-24

17
สมดุลวิวิธพันธ์ (Heterogeneous equilibria)
พิจำรณำกรณีที่สมดุลวิวิธพันธ์มีสถำนะของสำรที่เป็น ของแข็ง หรือ ของเหลวบริสุทธิ์
• ควำมหนำแน่นของของแข็งและของเหลวบริสุทธิ์
มีค่ำคงที่ที่อุณหภูมิและควำมดันหนึ่งๆ
มีค่ำเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยที่ช่วงของกำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและควำมดันที่
สภำวะปำนกลำง
ดังนั้น กำรเขียนแสดงค่ำคงที่สมดุล ไม่ต้องเขียนควำมเทอมควำมเข้มข้นของ
สำรที่อยู่ในสภำวะของแข็งและของเหลวบริสุทธิ์
เช่น
1 1
Kc = Kp =
[CO 2 ] pCO2
(กำรเปลี่ยนแปลงจำนวนโมลของแก๊ส)
K
K p = K c ( RT ) n
Kp = c n = 0 -1 = -1
RT

18
ค่ำคงที่สมดุล (Equilibrium constant)
ตัวอย่ำงของค่ำคงที่สมดุลของปฏิกิริยำชนิดต่ำงๆ

9
30-Jan-24

19
แบบฝึกหัด
จงเขียนค่ำ KC และ Kp ของปฏิกิริยำ

20
แบบฝึกหัด
จำกปฏิกิริยำต่อไปนี้ที่ 250oC

ที่สภำวะสมดุลมีควำมดันย่อยของ PCl5 และ PCl3 เท่ำกับ 0.875 atm และ 0.463


atm ตำมลำดับ จงคำนวณหำควำมดันย่อยของ Cl2 ที่ 250 oC
วิธีทำ
จำกกฎกริยำเชิงมวล 𝐾𝑃 =

แทนค่ำ

∴ PCl2 =

10
30-Jan-24

21
แบบฝึกหัด
พิจำรณำปฏิกิริยำสมดุลวิวิธภัณฑ์ของปฏิกิริยำต่อไปนี้
CaCO3 (s) CaO(s) + CO 2 (g)
ที่อุณหภูมิ800oC มีควำมดันย่อยของ CO2 เท่ำกับ 0.236 atm จงคำนวณหำ KP และ
KC ของปฏิกิริยำที่อุณหภูมิเดียวกันนี้
วิธีทำ CaCO3 (s) CaO(s) + CO2 (g)
สภำวะของแข็งมีค่ำคงที่ไม่ต้องนำมำรวมในกำรเขียนกฎกริยำเชิงมวล
จำกกฎกริยำเชิงมวล ∴ 𝐾𝑃 =
จำกควำมสัมพันธ์ K p = K c ( RT ) n
แทนค่ำ T = _______ = _____ K, R = _____ L.atm/K.mol, n = ____ = ___
∴ 𝐾𝑐 =

22
กำรคำนวณควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุล
ในกำรคำนวณควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุลมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1: เขียนสมกำรของปฏิกิริยำที่ดุลแล้ว
ขั้นตอนที่ 2: เขียนควำมเข้มข้นของสำรแต่ละตัวที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยำตำมลำดับ
1) ควำมเข้มข้นเริ่มต้น ([ ]เริ่มต้น)
2) กำรเปลี่ยนแปลงของควำมเข้มข้นเพื่อเข้ำสู่สมดุล
3) ควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุล
กำหนด x คือควำมเข้มข้น (mol/L) ของสำรหนึ่งตัวที่ทำปฏิกิริยำเพื่อเข้ำสู่สมดุล หลังจำกนั้นใช้ปริมำณ
สัมพันธ์เพื่อคำนวณควำมเข้มข้นที่เกี่ยวข้องกับกำรเข้ำสู่สมดุลของสำรตัวอื่นในปฏิกิริยำ
ขั้นตอนที่ 3: แทนค่ำควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุลลงในสมกำรสมดุลแล้วแก้สมกำรหำค่ำ X
ขั้นตอนที่ 4: คำนวณค่ำควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุลจำกค่ำ X ที่คำนวณได้
ขั้นตอนที่ 5: ตรวจสอบผลที่ได้โดยกำรแทนที่ควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุลลงในสมกำรสมดุล

11
30-Jan-24

23
กำรคำนวณควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุล
เช่น กำรคำนวณหำค่ำควำมเข้มข้นที่สมดุลของ H2, I2 และ HI ที่ 700 K
กำหนดให้ควำมเข้มข้นเริ่มต้นของ H2 = 0.100 M และ I2 = 0.200 M และค่ำคงที่สมดุล KC
ของปฏิกิริยำนี้มีค่ำเท่ำกับ 57.0 ที่ 700 K
ขั้นตอนที่ 1: เขียนสมกำรของปฏิกิริยำที่ดุลแล้ว H 2 (g) + I 2 (g) 2 HI(g)
ขั้นตอนที่ 2: เขียนควำมเข้มข้นของสำรแต่ละตัวที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยำตำมลำดับ
H2(g) + I2(g) 2HI (g)
[ ] เริ่มต้น 0.100 0.200 0
เปลี่ยนแปลง -x -x +2x
ที่สมดุล (0.100-x) (0.200-x) 2x
ขั้นตอนที่ 3: แทนค่ำควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุลลงในสมกำรสมดุลแล้วแก้สมกำรหำค่ำ X
[HI]2 [2 x]2
Kc = 57.0 =
[H 2 ][I 2 ] (0.100 - x)(0.200 - x)

24
กำรคำนวณควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุล
เช่น กำรคำนวณหำค่ำควำมเข้มข้นที่สมดุลของ H2, I2 และ HI ที่ 700 K
กำหนดให้ควำมเข้มข้นเริ่มต้นของ H2 = 0.100 M และ I2 = 0.200 M และค่ำคงที่สมดุล KC
ของปฏิกิริยำนี้มีค่ำเท่ำกับ 57.0 ที่ 700 K
ขั้นตอนที่ 3: แทนค่ำควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุลลงในสมกำรสมดุลแล้วแก้สมกำรหำค่ำ X
[HI]2 [2 x]2
Kc = 57.0 =
[H 2 ][I2 ] (0.100 - x)(0.200 - x)

− b  b 2 − 4ac
x=
2a

− (−17.1)  (−17.1) 2 − 4(53.0)(1.14) 17.1  7.1


x= =
2(53.0) 106

12
30-Jan-24

25
กำรคำนวณควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุล
เช่น กำรคำนวณหำค่ำควำมเข้มข้นที่สมดุลของ H2, I2 และ HI ที่ 700 K
กำหนดให้ควำมเข้มข้นเริ่มต้นของ H2 = 0.100 M และ I2 = 0.200 M และค่ำคงที่สมดุล KC
ของปฏิกิริยำนี้มีค่ำเท่ำกับ 57.0 ที่ 700 K
ขั้นตอนที่ 4: คำนวณค่ำควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุลจำกค่ำ X ที่คำนวณได้
H2(g) + I2(g) 2HI (g)
ที่สมดุล (0.100-x) (0.200-x) 2x

ขั้นตอนที่ 5: ตรวจสอบผลที่ได้โดยกำรแทนที่ควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุลลงในสมกำรสมดุล
[HI]2 (0.189) 2 = 56.2
มีค่ำใกล้เคียงกับที่โจทย์กำหนด
Kc = =
[H 2 ][I 2 ] (0.006)(0.106) ให้ Kc = 57.0 ที่ 700 K

26
แบบฝึกหัด
พิจำรณำสมดุลต่อไปนี้ที่ 45 oC 2HI(g) H 2 (g) + I 2 (g)
ถ้ำเริ่มต้นมี [HI] เท่ำกับ 2.0 M และที่สภำวะสมดุลมี [I2] เท่ำกับ 0.50 M จงหำ KC
วิธีทำ 2HI(g) H 2 (g) + I 2 (g)
[ ] เริ่มต้น
เปลี่ยนแปลง
สมดุล

∴ 𝐾𝑐 =

13
30-Jan-24

27
แบบฝึกหัด
ปฏิกิริยำ SO 2Cl 2 (g) SO 2 (g) + Cl 2 (g) เมื่อเริ่มต้นด้วย SO2Cl2
0.75 atm ที่ 1000C ในภำชนะปิด พบว่ำที่สภำวะสมดุลควำมดันรวมเป็น
1.36 atm จงคำนวณหำร้อยละกำรแตกตัวของ SO2Cl2
วิธีทำ SO 2 Cl 2 (g) SO 2 (g) + Cl 2 (g)
P เริ่มต้น
เปลี่ยนแปลง
สมดุล
ที่สมดุลมีควำมดันรวม เท่ำกับ
จำกโจทย์
ดังนั้น ร้อยละกำรแตกตัวของ SO2Cl2

28
แบบฝึกหัด
จำกสภำวะสมดุลของปฏิกิริยำ 2NH 3 (g) N 2 (g) + 3H 2 (g)
เมื่อใส่ NH3 ควำมดัน 4 atm ในภำชนะปิด แล้วปล่อยให้สลำยตัวจนถึงสมดุล
พบว่ำ NH3 สลำยไป 20% จงคำนวณหำค่ำ KP
วิธีทำ จำกโจทย์ Pเริ่มต้นของ NH3 = 4 atm และมีกำรสลำยตัว =
2NH 3 (g) N 2 (g) + 3H 2 (g)
Pเริ่มต้น
เปลี่ยนแปลง
สมดุล

KP =

14
30-Jan-24

29
ทิศทำงของปฏิกิริยำ (Reaction Direction)
• ถ้ำควำมเข้มข้นของสำรตั้งต้นและผลิตภัณฑ์อยูใ่ นสภำวะที่ยังไม่เข้ำสู่สมดุล
ปฏิกิริยำจะดำเนินไปในทิศทำงกำรเปลี่ยนแปลงควำมเข้มข้นของสำรตั้งต้นและผลิตภัณฑ์
เพื่อให้ระบบเข้ำสู่สมดุล
• โดยทั่วไป จะสำมำรถบอกได้ว่ำมีทิศทำงกำรเปลี่ยนแปลงของควำมเข้มข้นในปฏิกิริยำได้
อย่ำงไรโดยอำศัย ผลหารปฏิกิริยา (Reaction quotient, Qc)

[C]c [D]d
Qc =
[A]a [B]b

30
ทิศทำงของปฏิกิริยำ (Reaction Direction)

[C]c [D]d
Qc =
[A]a [B]b
Q>K Q=K Q<K

15
30-Jan-24

31
แบบฝึกหัด
จำกปฏิกิริยำ N 2 (g) + 3H 2 (g) 2NH 3 (g)
ในตอนเริ่มต้นของปฏิกิริยำมี N2 0.249 โมล, H2 3.21x10-2 โมล และ NH3 6.42x10-4 โมล
ในภำชนะขนำด 3.50 ลิตรที่ 375oC และมีค่ำคงที่สมดุล (KC) เท่ำกับ 1.2 ที่อุณหภูมิเดียวกัน
จงทำนำยว่ำระบบอยู่ในสมดุลหรือไม่ ถ้ำไม่จงบอกทิศทำงของปฏิกิริยำที่เกิดขึ้นเพื่อให้ระบบ
เข้ำสู่สมดุล
วิธีทำ จำกโจทย์ หำค่ำควำมเข้มข้นเริ่มต้นของสำรทั้ง 3 ตัว
[N2 ] เริ่มต้น =

H2 เริ่มต้น =

NH3 เริ่มต้น =

32
แบบฝึกหัด
จำกปฏิกิริยำ N 2 (g) + 3H 2 (g) 2NH3 (g)
ในตอนเริ่มต้นของปฏิกิริยำมี N2 0.249 โมล, H2 3.21x10-2 โมล และ NH3 6.42x10-4 โมล
ในภำชนะขนำด 3.50 ลิตรที่ 375oC และมีค่ำคงที่สมดุล (KC) เท่ำกับ 1.2 ที่อุณหภูมิเดียวกัน
จงทำนำยว่ำระบบอยู่ในสมดุลหรือไม่ ถ้ำไม่จงบอกทิศทำงของปฏิกิริยำที่เกิดขึ้นเพื่อให้ระบบ
เข้ำสู่สมดุล เริ่มต้น
[N 2 ] = 0.0711 M [H 2 ] เริ่มต้น = 9.17 x10 M
−3

วิธีทำ
[NH 3 ] เริ่มต้น = 1.83x10 −4 M

𝑄𝑐 = 𝑄𝑐 =

จำกโจทย์ KC = 1.2; 𝑄𝑐 ____ 𝐾𝑐 ระบบ______ในสมดุล


ระบบจะต้อง______ [NH3] เพื่อให้ระบบเข้ำสู่สมดุล (QC = KC)
โดยปฏิกิริยำจะเกิดจำกทิศทำง______ไป_______

16
30-Jan-24

33
พลังงำนเสรีและค่ำคงที่สมดุล
• สำหรับปฏิกิริยำที่เกิดขึ้นได้เอง; ค่ำพลังงำนเสรี มีค่ำน้อยกว่ำศูนย์ (G < 0)
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง ทิศทำงของปฏิกิริยำที่เกิดขึ้น, Q, K, G
Q>K Q=K Q<K

34
พลังงำนเสรีและค่ำคงที่สมดุล
• สำหรับปฏิกิริยำที่เกิดขึ้นได้เอง; ค่ำพลังงำนเสรี มีค่ำน้อยกว่ำศูนย์ (G < 0)
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง G และ Q
G = G 0 + RT ln Q
พลังงำนเสรีที่สภำวะมำตรฐำน
R คือ ค่ำคงที่ของแก๊ส (8.314 J/K.mol)
T คือ อุณหภูมิ (เคลวิน, K)
ที่สภำวะสมดุล G = 0 และ Q = K; 0 = G 0 + RT ln K
G 0 = - RT ln K หรือ G 0 = - 2.303 RT log K
0
K = e - G /RT

17
30-Jan-24

35
พลังงำนเสรีและค่ำคงที่สมดุล
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง G และ Q
ที่สภำวะสมดุล
G 0 = - RT ln K หรือ G 0 = - 2.303 RT log K

• ถ้ำทรำบค่ำ G0 จะสำมำรถคำนวณหำค่ำ K ที่อุณหภูมิใดๆของปฏิกิริยำได้


• เมื่อ K < 1 G0 > 0
แสดงว่ำที่สภำวะสมดุลมีผลิตภัณฑ์นอ้ ยกว่าสำรตั้งต้น ปฏิกิริยำเกิดไปทำงซ้ำยมำกกว่ำ
• เมื่อ K > 1 G0 < 0
แสดงว่ำที่สภำวะสมดุลมีผลิตภัณฑ์มากกว่าสำรตั้งต้น ปฏิกิริยำเกิดไปทำงขวำมำกกว่ำ

36
แบบฝึกหัด
ที่อุณหภูมิ 25oC สำร N2O4 และ NO2 อยู่ในสมดุลโดยมีควำมดันรวมเท่ำกับ 0.844 atm ถ้ำ
มีควำมดันของ N2O4 เท่ำกับ 0.563 atm จงคำนวณหำ KP, KC, และ ∆G0
วิธีทำ N 2 O 4 (g) 2NO 2 (g)

1) คำนวณหำ KP
แทนค่ำ

2) คำนวณหำ KC
K p = K c ( RT ) n แทนค่ำ
3) คำนวณหำ ∆G0
G 0 = - RT ln K P แทนค่ำ

18
30-Jan-24

37
แบบฝึกหัด
จงคำนวณหำค่ำคงตัวสมดุลของ KP ของปฏิกิริยำ 2H 2O(l) 2H 2 (g) + O 2 (g)
กำหนดให้ ∆G0f H2O = -237.2 kJ/mol
วิธีทำ จำกสูตร G 0 = - RT ln K

แทนค่ำ

หลักของเลอชำเตอลีเอ (Le Châtelier’s principle) 38


คือ เมื่อระบบอยู่ในสภำวะสมดุลและถูกรบกวนจะทำให้สภำวะสมดุลของระบบ
เสียไประบบจะปรับตัวในทิศทำงที่จะทำให้ปัจจัยที่รบกวนนั้นลดลงเหลือน้อย
ที่สุด แล้วระบบจะเข้ำสู่สมดุลใหม่
ปัจจัยที่รบกวนสภำวะสมดุลมีดังนี้
1. กำรเปลี่ยนแปลงควำมเข้มข้นของตัวทำปฏิกิริยำหรือผลผลิต
2. กำรเปลี่ยนแปลงควำมดันเนื่องจำกกำรเปลี่ยนแปลงปริมำตร
3. กำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
4. กำรเติมแก๊สเฉื่อย
5. กำรเติมตัวเร่งปฏิกิริยำ

19
30-Jan-24

หลักของเลอชำเตอลีเอ (Le Châtelier’s principle) 39


1. กำรเปลี่ยนแปลงควำมเข้มข้นของตัวทำปฏิกิริยำหรือผลผลิต
เช่น ปฏิกิริยำกำรสังเครำะห์ NH3
จำกหลักของเลอชำเตอลีเอ
เมื่อเพิ่มควำมเข้มข้นของ N2
=> ระบบจะพยำยำมลดควำมเข้มข้นของ N2
โดยเปลี่ยนจำก N2 เป็น NH3
[H2] ลดลง
[NH3] เพิ่มขึ้น

หลักของเลอชำเตอลีเอ (Le Châtelier’s principle) 40


1. กำรเปลี่ยนแปลงควำมเข้มข้นของตัวทำปฏิกิริยำหรือผลผลิต
เช่น ปฏิกิริยำกำรสังเครำะห์ NH3
[NH 3 ]2
Qc =
[N 2 ][H 2 ]3

(1.98) 2
Qc = = 0.29
(0.50)(3.00)3

(1.98) 2
Qc = = 0.0968
(1.50)(3.00)3

(2.36) 2
Qc = = 0.296
(1.31)(2.43) 3

20
30-Jan-24

หลักของเลอชำเตอลีเอ (Le Châtelier’s principle) 41


1. กำรเปลี่ยนแปลงควำมเข้มข้นของตัวทำปฏิกิริยำหรือผลผลิต
เช่น
กำรรบกวน กำรเลื่อนของสมดุล ควำมเข้มข้นที่สภำวะสมดุลใหม่
[H2] [I2] [HI]
เพิ่ม [H2]
เพิ่ม [I2] ลด เพิ่ม เพิ่ม
เพิ่ม [HI]
ลด [H2]
ลด [I2] เพิ่ม ลด ลด
ลด [HI] ลด ลด ลด

42
แบบฝึกหัด
ที่ 720oC ค่ำคงที่สมดุล, KC ของปฏิกิริยำ N 2 (g) + 3H 2 (g) 2NH 3 (g)
-3
มีค่ำเท่ำกับ 2.37x10 จำกกำรทดลองที่สมดุลของ [N2] = 0.683 M, [H2] =
8.80 M และ [NH3] = 1.05 M ถ้ำมีกำรเติม NH3 ลงในของผสมนี้แล้วทำให้ NH3
มีควำมเข้มข้นเท่ำกับ 3.65 M
1) จงใช้หลักของเลอชำเตอลีเอ ทำนำยกำรเลื่อนของทิศทำงของปฏิกิริยำสุทธิ
เพื่อให้เข้ำสู่สมดุลใหม่
2) ยืนยันกำรเข้ำสู่สมดุลใหม่โดยคำนวณผลหำรของปฏิกิริยำ QC และ
เปรียบเทียบกับค่ำ KC

21
30-Jan-24

43
แบบฝึกหัด
ที่ 720oC ค่ำคงที่สมดุล, KC ของปฏิกิริยำ N2 (g) + 3H2 (g) 2NH3 (g)
มีค่ำเท่ำกับ 2.37x10-3 จำกกำรทดลองที่สมดุลของ [N2] = 0.683 M, [H2] =
8.80 M และ [NH3] = 1.05 M ถ้ำมีกำรเติม NH3 ลงในของผสมนี้แล้วทำให้ NH3
มีควำมเข้มข้นเท่ำกับ 3.65 M
1) จงใช้หลักของเลอชำเตอลีเอ ทำนำยกำรเลื่อนของทิศทำงของปฏิกิริยำสุทธิ
เพื่อให้เข้ำสู่สมดุลใหม่
วิธีทำ N 2 (g) + 3H 2 (g) 2NH3 (g)
เพิ่ม
เมื่อเพิ่ม [NH3] ระบบจะพยำยำมลด [NH3] โดยกำรเกิดปฏิกิริยำ________
N 2 (g) + 3H 2 (g) 2NH3 (g)

44
แบบฝึกหัด
ที่ 720oC ค่ำคงที่สมดุล, KC ของปฏิกิริยำ N2 (g) + 3H2 (g) 2NH3 (g)
-3
มีค่ำเท่ำกับ 2.37x10 จำกกำรทดลองที่สมดุลของ [N2] = 0.683 M, [H2] =
8.80 M และ [NH3] = 1.05 M ถ้ำมีกำรเติม NH3 ลงในของผสมนี้แล้วทำให้ NH3
มีควำมเข้มข้นเท่ำกับ 3.65 M
2) ยืนยันกำรเข้ำสู่สมดุลใหม่โดยคำนวณผลหำรของปฏิกิริยำ QC และเปรียบเทียบ
กับค่ำ KC [NH ]2
วิธีทำ Qc = 3
[N 2 ][H 2 ]3
ผลหำรของปฏิกิริยำเมื่อเติม [NH3]
𝑄𝑐 =

QC ____ KC  ปฏิกิริยำเลื่อนจำก_______________

22
30-Jan-24

45
แบบฝึกหัด
ที่สภำวะสมดุลในภำชนะ 1 ลิตรมี N2, H2, และ NH3 จำนวน 0.30, 0.40 และ 0.10 โมล
จะต้องเติม N2 กี่โมลลงในสภำวะสมดุลเพื่อให้ควำมเข้มข้นของ NH3 ที่สภำวะสมดุลใหม่
เพิ่มเป็น 2 เท่ำ ที่อุณหภูมิเดิม
วิธีทำ N 2 (g) + 3H 2 (g) 2NH3 (g)
จำกโจทย์ สมดุลเริ่มต้น
รบกวนสมดุล
กำรเปลี่ยนแปลง
ที่สมดุลใหม่

46
แบบฝึกหัด
ที่สภำวะสมดุลในภำชนะ 1 ลิตรมี N2, H2, และ NH3 จำนวน 0.30, 0.40 และ 0.10 โมล
จะต้องเติม N2 กี่โมลลงในสภำวะสมดุลเพื่อให้ควำมเข้มข้นของ NH3 ที่สภำวะสมดุลใหม่
เพิ่มเป็น 2 เท่ำ ที่อุณหภูมิเดิม
วิธีทำ N 2 (g) + 3H 2 (g) 2NH3 (g)
จำกโจทย์ สมดุลเริ่มต้น 0.30 0.40 0.10
จำกโจทย์ สมดุลใหม่ 0.25

หำค่ำ KC จำกสมดุลเริ่มต้น 𝐾𝑐 =

ที่สมดุลใหม่ มีค่ำ KC เท่ำกับที่สมดุลเริ่มต้น 𝐾𝐶 =

23
30-Jan-24

47
แบบฝึกหัด
ที่สภำวะสมดุลในภำชนะ 1 ลิตรมี N2, H2, และ NH3 จำนวน 0.30, 0.40 และ 0.10 โมล
จะต้องเติม N2 กี่โมลลงในสภำวะสมดุลเพื่อให้ควำมเข้มข้นของ NH3 ที่สภำวะสมดุลใหม่
เพิ่มเป็น 2 เท่ำ ที่อุณหภูมิเดิม
วิธีทำ N 2 (g) + 3H 2 (g) 2NH3 (g)
จำกโจทย์ สมดุลใหม่ 0.25 + X 0.25 0.20

[NH3 ]2 แทนค่ำ
Kc =
[N 2 ][H 2 ]3

 เติม N2 เท่ำกับ ______ โมล

48
แบบฝึกหัด
สภำวะสมดุลต่อไปนี้เกิดในภำชนะ 8 ลิตร ที่ 700 K
CCl 4 (g) C(s) + 2Cl 2 (g)
ถ้ำเริ่มต้นใช้ CCl4 1 atm ปล่อยให้สลำยตัวจนถึงสมดุลพบว่ำมีควำมดันรวม 1.35 atm
1) จงหำค่ำ KP 2) ถ้ำรบกวนสมดุลโดยกำรเติม Cl2 ลงไป 0.5 atm พบว่ำควำมดัน
CCl4 ที่สภำวะสมดุลใหม่ เป็น 0.8 atm จงหำควำมดันรวมของ Cl2 ที่สมดุลใหม่
วิธีทำ 1) จงหำค่ำ KP
CCl 4 (g) C(s) + 2Cl 2 (g)
สมดุล
จำกควำมดันรวม 1.35 atm; ดังนั้น X = ______ atm
สมดุล

𝐾𝑝 =

24
30-Jan-24

49
แบบฝึกหัด
สภำวะสมดุลต่อไปนี้เกิดในภำชนะ 8 ลิตร ที่ 700 K
CCl 4 (g) C(s) + 2Cl 2 (g)
ถ้ำเริ่มต้นใช้ CCl4 1 atm ปล่อยให้สลำยตัวจนถึงสมดุลพบว่ำมีควำมดันรวม 1.35 atm
วิธีทำ 2) ถ้ำรบกวนสมดุลโดยกำรเติม Cl2 ลงไป 0.5 atm พบว่ำควำมดัน CCl4 ที่
สภำวะสมดุลใหม่ เป็น 0.8 atm จงหำควำมดันรวมของ Cl2 ที่สมดุลใหม่
CCl 4 (g) C(s) + 2Cl 2 (g)
สมดุลเริ่มต้น
รบกวนสมดุล
เปลี่ยนแปลง
สมดุลใหม่

 ที่สมดุลใหม่ มีควำมดันรวมของ Cl2 = _____________ atm

หลักของเลอชำเตอลีเอ (Le Châtelier’s principle) 50


2. กำรเปลี่ยนแปลงควำมดันเนื่องจำกกำรเปลี่ยนแปลงปริมำตร
• กำรเพิ่มควำมดันด้วยกำรลดปริมำตร
จะทำให้สมดุลเลื่อนไปทำงด้ำนที่มจี ำนวนโมลของแก๊สน้อยกว่า
• กำรลดควำมดันด้วยกำรเพิ่มปริมำตร
จะทำให้สมดุลเลื่อนไปทำงด้ำนที่มจี ำนวนโมลของแก๊สมากกว่า
เช่น 2SO 2 (g) + N 2 (g) 2SO 3 (g)
จำนวนโมลของแก๊ส = 2+1 = 3 จำนวนโมลของแก๊ส = 2
เพิ่มควำมดันด้วยกำรลดปริมำตร; สมดุลเลื่อนไปทำงขวำ
ลดควำมดันด้วยกำรเพิ่มปริมำตร; สมดุลเลื่อนไปทำงซ้ำย
CO 2 (g) + H 2 (g) CO(g) + H 2 O(g)
จำนวนโมลของแก๊ส = 2 จำนวนโมลของแก๊ส = 2
จำนวนโมลของแก๊สทั้ง 2 ข้ำงเท่ำกัน กำรเพิ่มหรือลดควำมดันไม่มีผลต่อสมดุล

25
30-Jan-24

51
แบบฝึกหัด P เพิ่ม หรือ ลด V เลื่อนไปจำนวนโมลน้อย
พิจำรณำผลของกำรเปลี่ยนแปลงควำมดันและปริมำตร
a) 2PbS(s) + 3O 2 (g) 2PbO(s) + 2SO 2 ( g )
จำนวนโมลของแก๊ส = จำนวนโมลของแก๊ส =
เพิ่มควำมดันด้วยกำรลดปริมำตร; สมดุลเลื่อนไปทำง________
ลดควำมดันด้วยกำรเพิ่มปริมำตร; สมดุลเลื่อนไปทำง________
b) PCl5 (g) PCl3 (g) + Cl 2 (g)
จำนวนโมลของแก๊ส = จำนวนโมลของแก๊ส =
เพิ่มควำมดันด้วยกำรลดปริมำตร; สมดุลเลื่อนไปทำง ________
ลดควำมดันด้วยกำรเพิ่มปริมำตร; สมดุลเลื่อนไปทำง ________
c) H 2 (g) + CO 2 (g) H 2 O(g) + CO(g)
จำนวนโมลของแก๊ส = จำนวนโมลของแก๊ส =
จำนวนโมลของแก๊สทั้ง 2 ข้ำง______ กำรเพิ่มหรือลดควำมดัน_____________

หลักของเลอชำเตอลีเอ (Le Châtelier’s principle) 52


3. กำรรบกวนสมดุลโดยกำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
กำรเปลี่ยนแปลงสมดุลจะทำให้ค่ำคงที่สมดุลเปลี่ยนแปลง
เช่น ปฏิกิริยำกำรสังเครำะห์แอมโมเนีย ซึ่งเป็นปฏิกิริยำคำยควำมร้อน (Exothermic reaction)

• ที่อุณหภูมิต่ำ
มีค่ำ KC สูง; มี [NH3] มำก

• ที่อุณหภูมิสูง
สมดุลเลื่อนไปทำง
ที่เพิ่ม [N2] และ [H2]

26
30-Jan-24

หลักของเลอชำเตอลีเอ (Le Châtelier’s principle) 53


3. กำรรบกวนสมดุลโดยกำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
ถ้ำมีกำรเพิ่มควำมร้อน(อุณหภูมิ)ให้แก่ระบบ
ระบบจะพยำยำมกลับเข้ำสู่สมดุลโดยเกิดปฏิกิริยำไปในทิศทำงที่ลดควำมร้อน
• สำหรับปฏิกิริยำคำยควำมร้อน (Exothermic reaction)
เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ➔ เกิดปฏิกิริยำย้อนกลับ ➔ KC ลดลง
• สำหรับปฏิกิริยำดูดควำมร้อน (Endothermic reaction)
เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ➔ เกิดปฏิกิริยำไปข้ำงหน้ำ ➔ KC เพิ่มขึ้น
เช่น
เป็นปฏิกิริยำดูดควำมร้อน (Endothermic reaction)(ใช้ควำมร้อนทำให้  เกิดไปด้ำนหน้ำ)
เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ➔ เกิดปฏิกิริยำไปข้ำงหน้ำ ➔ KC เพิ่มขึ้น

หลักของเลอชำเตอลีเอ (Le Châtelier’s principle) 54


3. กำรรบกวนสมดุลโดยกำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
kf
จำก k = Ae − Ea / RT และ K =
kr
− Ea f / RT − Ea r / RT
k f = Af e k r = Ar e
kf Af − ( Ea f − Ea r ) / RT
K= K= e
kr Ar
Af
จำก ∆H = Eaf -Ear K= e − H / RT
Ar
− H Af
2.303 log K = + log
RT Ar

27
30-Jan-24

หลักของเลอชำเตอลีเอ (Le Châtelier’s principle) 55


3. กำรรบกวนสมดุลโดยกำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
− H A
จำก 2.303 log K = + log f
RT Ar
− H Af
ที่อุณหภูมิ T1 2.303 log K1 = + log (1)
RT1 Ar
− H Af
ที่อุณหภูมิ T2 2.303 log K 2 = + log (2)
RT2 Ar
(2) – (1) K2 H  1 1 
log =  − 
K1 2.303R  T1 T2 

หลักของเลอชำเตอลีเอ (Le Châtelier’s principle) 56


3. กำรรบกวนสมดุลโดยกำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
จำก K2 H  1 1 
log =  − 
K1 2.303R  T1 T2 

• สำหรับปฏิกิริยำคำยควำมร้อน (Exothermic reaction)


∆H เป็น ลบ เมื่อ T2 > T1 ดังนั้น log K 2 เป็นลบ คือ K2 < K1
K1
 เมื่อ T สูงขึ้น ค่ำ K ลดลง สมดุลเลื่อนไปทำงซ้ำย
• สำหรับปฏิกิริยำดูดควำมร้อน (Endothermic reaction)
∆H เป็น บวก เมื่อ T2 > T1 ดังนั้น log K 2 เป็นบวก คือ K2 > K1
K1
 เมื่อ T สูงขึ้น ค่ำ K เพิ่มขึ้น สมดุลเลื่อนไปทำงขวำ

28
30-Jan-24

หลักของเลอชำเตอลีเอ (Le Châtelier’s principle) 57


4. กำรรบกวนโดยกำรเติมแก๊สเฉื่อย
กำรเติมแก๊สเฉื่อยลงไปในสมดุล จะทำให้ควำมดันของระบบเพิ่มขึ้น
แต่ไม่ส่งผลต่อควำมดันย่อยของสำรในปฏิกิริยำ จึงไม่ส่งผลต่อสมดุล

5. กำรรบกวนโดยกำรเติมตัวเร่งปฏิกิริยำ
กำรเติมตัวเร่งปฏิกิริยำจะทำให้พลังงำนกระตุ้นของปฏิกิริยำลดลงซึ่งส่งผลต่อ
อัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำ แต่ไม่ส่งผลต่อสมดุลเคมี
ดังนั้นกำรเติมตัวเร่ง จะทำให้ปฏิกิริยำไปถึงสมดุลเร็วขึ้น

58
แบบฝึกหัด
ปฏิกิริยำต่อไปนี้เป็นสภำวะสมดุลที่ 298 K ในภำชนะ 1 L [CO 2 ] PCO2
Q = =
C(s) + O 2 (g) CO 2 (g) H 0 = −393.5 kJ [O 2 ] PO2
เมื่อรบกวนสมดุลด้วยปัจจัยต่อไปนี้มีผลอย่ำงไรต่อ [O2]
พิจำรณำกำรเลื่อนของสมดุลเพื่อกลับเข้ำสู่สมดุล ถ้ำจำกซ้ำยไปขวำ จะทำให้ [O2] ลดลง
ถ้ำจำกขวำไปซ้ำย จะทำให้ [O2] เพิ่มขึ้น
ก) เพิ่ม C(s) ________________ เนื่องจำก C(s) สถำนะเป็นของแข็ง มีค่ำ
ค่อนข้ำงคงที่ในสมดุล
ข) เพิ่ม [CO2] [O2] _________ เนื่องจำก กำรเพิ่ม CO2 ทำให้ Q > K ระบบจะ
ดำเนินกำรลดค่ำ Q โดย  จะเกิดจำก___________
ค) เพิ่ม [O2] [O2] _________
ง) ลดอุณหภูมิ [O2] _________ เนื่องจำก  นี้เป็นปฏิกิริยำแบบ_____ควำมร้อน
ดังนั้นถ้ำลดอุณหภูมิ ระบบจะทำกำรเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มอุณหภูมิ โดย
กำรเกิดปฏิกิริยำจำก____________

29
30-Jan-24

59
แบบฝึกหัด
ปฏิกิริยำต่อไปนี้เป็นสภำวะสมดุลที่ 298 K ในภำชนะ 1 L [CO 2 ] PCO2
Q = =
C(s) + O2 (g) CO2 (g) H = −393.5 kJ
0
[O 2 ] PO2
เมื่อรบกวนสมดุลด้วยปัจจัยต่อไปนี้มีผลอย่ำงไรต่อ [O2]
พิจำรณำกำรเลื่อนของสมดุลเพื่อกลับเข้ำสู่สมดุล ถ้ำจำกซ้ำยไปขวำ จะทำให้ [O2] ลดลง
ถ้ำจำกขวำไปซ้ำย จะทำให้ [O2] เพิ่มขึ้น
จ) ใส่ Ar ____________เนื่องจำกกำรเติมแก๊สเฉื่อยลงไปในสมดุล จะทำให้ควำม
ดันของระบบเพิ่มขึ้น แต่ไม่ส่งผลต่อควำมดันย่อยของสำรใน
ปฏิกิริยำ ______________

ฉ) ลดปริมำตร ____________ เนื่องจำก จำนวนโมลของแก๊สของทั้งสองข้ำงเท่ำกัน


ดังนั้นกำรเปลี่ยนแปลงปริมำตร ______________

60
แบบฝึกหัด
ปฏิกิริยำ 2AB + B2 (g) 2AB2 (g) H = zJ

ที่ 27oC มี KC =x และ ที่ 57oC มี KC = y จงเขียนควำมสัมพันธ์ระหว่ำง x, y, และ z


วิธีทำ จำกควำมสัมพันธ์ log K 2 = H  1 − 1 
K 1 2.303R T T  1 2 
แทนค่ำ (1) คือที่ 270C และ (2) คือที่ 570C

30
30-Jan-24

กรด-เบส (Acids-Bases)

รศ.ดร. พัชรีนารถ ทรัพย์อาภากร

2
กรด-เบส (Acids-Bases)
เมื่ออยู่ในสารละลายน้า;
กรด คือ สารที่แตกตัวให้ โปรตอน(หรือ ไฮโดรเจนไอออน)
H O(l)
HCl 2 H+ + Cl-
H2SO4 H2O(l) 2 H+ + SO42-
เบส คือ สารที่แตกตัวให้ ไฮดรอกไซด์ไอออน
H2O(l)
NaOH Na+ + OH-
H2O(l)
Ca(OH)2 Ca2+ + 2 OH-

1
30-Jan-24

3
กรด-เบส (Acids-Bases)
กรด คือ สารที่ให้ โปรตอน
เบส คือ สารที่รับ โปรตอน
HCl + H2O → H3O+ + Cl- HCl – Cl-
a1 b2 a2 b1
กรด1 เบส2 กรด2 เบส1 H3O + – H2O
-
HCl-Cl = คู่กรด-เบส (conjugate acid – base pair)
HCl = คู่กรด (conjugate acid)
-
Cl = คูเ่ บส (conjugate base)

4
กรด-เบส (Acids-Bases)
กรด คือ สารที่ให้ โปรตอน
เบส คือ สารที่รับ โปรตอน
NH3 + H2O → NH4+ + OH-
b1 a2 a1 b2
คู่กรด-เบส (conjugate acid – base pair)
NH3 – NH4+
H2O – OH-

2
30-Jan-24

5
กรด-เบส (Acids-Bases)

กรด คือ สารที่ ให้โปรตอน


- โมเลกุลที่ให้ H+ เช่น HCl, CH3COOH, H2O
- ไอออนบวก เช่น NH4+
- ไอออนลบ เช่น HSO-4
เบส คือ สารที่ รับโปรตอน
- โมเลกุลที่รับ H+ เช่น NH3, H2O
- ไอออนบวก เช่น [Al(H2O)5(OH)]2+
- ไอออนลบ เช่น Cl-, CH3COO-

6
กรด-เบส (Acids-Bases)
H2O เป็นได้ทังกรดและเบส
HCl + H2O H3O+ + Cl-
กรด เบส
NH3 + H2O NH4+ + OH-
เบส กรด
สารที่สามารถเป็นได้ทังกรดและเบส
➔ เรียกว่า “สารแอมฟิโพรติก (Amphiprotic)”
- สารที่สามารถเป็นได้ทังกรดและเบสแล้วแต่ปฏิกิริยาที่เข้าร่วม
- - -
เช่น H2O, NH3, HSO4 , HCO3 , H2PO4

3
30-Jan-24

7
กรด-เบส (Acids-Bases)

การแตกตัวเป็นไอออนด้วยตนเอง (Autoionization)
- สารที่สามารถเป็นได้ทังกรดและเบสถ่ายโอนโปรตอนให้แก่กัน
เช่น H2O และ NH3
H3O + – H2O
H2O(l) + H2O(l) ⇌ H3 O+ + OH- (aq)
H2O – OH-
(aq)
a1 b2 a2 b1
NH3(l) + NH3(l) ⇌ NH4+(aq) + NH2-(aq)
a1 b2 a2 b1

8
กรด-เบส (Acids-Bases)
กรด คือ สารที่ รับคู่อิเล็กตรอน
เบส คือ สารที่ ให้คู่อิเล็กตรอน
A + :B A:B
กรด เบส
เช่น Ag+ + 2CN- → [Ag(CN)2]-
กรด เบส
BF3 + NH3 → H3N:BF3
H+ + OH- → H 2O

4
30-Jan-24

9
กรด-เบส (Acids-Bases)
กรด คือ สารที่แตกตัวให้ โปรตอน(หรือ ไฮโดรเจนไอออน)
เบส คือ สารที่แตกตัวให้ ไฮดรอกไซด์ไอออน

กรด คือ สารที่ให้ โปรตอน


เบส คือ สารที่รับ โปรตอน

กรด คือ สารที่ รับคู่อิเล็กตรอน


เบส คือ สารที่ ให้คู่อิเล็กตรอน

10
แบบฝึกหัด
• จงเขียนคู่กรดของสารต่อไปนี
เขียนคู่กรดโดยเพิ่ม H+ ที่สารนั้น
OH-
N2H4
H 2O
N3-
CH3NH2

5
30-Jan-24

11
แบบฝึกหัด
• จงเขียนคู่เบสของสารต่อไปนี
เขียนคู่เบสโดยลด H+ ออกจากสารนัน
OH-
HClO
H 2O
PH3
HSO4-

12
แบบฝึกหัด
• จงระบุว่าในสมการต่อไปนี
สารใดเป็นกรด-คู่เบส(กรด1-เบส1)และ เบส-คู่กรด(กรด2-เบส2)
N2H4 + NH2- N2H3- + NH3

HNO3 + H2O H3O+ + NO3-

6
30-Jan-24

13
ความแรงของกรด-เบส (Strength of Acid-Base)
วิธีการพิจารณามี 2 วิธี
1. เปรียบเทียบจากร้อยละการแตกตัวเป็นไอออนในตัวท้าละลายชนิดเดียวกัน

HA + H2O ⇌ H3 O + + A -

14
ความแรงของกรด-เบส (Strength of Acid-Base)
กรดแก่ (Strong acids) เป็นอิเล็กโทรไลต์แก่ที่แตกตัวได้ 100% ในน้า
HCl(aq) + H2O(l) → H3O+(aq) + Cl-(aq)
เช่น HCl, HBr, HI, HNO3, HClO3, HClO4, H2SO4
อย่างไรก็ตาม กรดส่วนมากจะเป็น กรดอ่อน (weak acids) ซึ่งสามารถแตกตัว
ได้เพียงบางส่วนเมื่ออยู่ในน้า
-
HF(aq) + H2O(l) ⇌ H3O+(aq) + F (aq)
-
CH3COOH(aq) + H2O(l) ⇌ H3O+(aq) + CH3COO (aq)
-
HCN(aq) + H2O(l) ⇌ H3O+(aq) + CN (aq)

7
30-Jan-24

15
ความแรงของกรด-เบส (Strength of Acid-Base)
ในท้านองเดียวกัน
เบสแก่ (Strong bases)
H2O
NaOH(s) → Na+(aq) + OH-(aq)
H2O -
Ba(OH)2(s) → Ba2+(aq) + 2OH (aq)
เบสอ่อน (Weak bases)
N2H4(aq) + H2O(l) ⇌ N2H5+ (aq) + OH-(aq)
NH3(aq) + H2O(l) ⇌ NH4+(aq) + OH-(aq)

16
ความแรงของกรด-เบส (Strength of Acid-Base)
ส้าหรับคู่กรดเบสคู่หนึ่ง
ถ้ากรดเป็นกรดแก่ คู่เบสจะเป็นเบสอ่อน
ถ้าเบสเป็นเบสแก่ คู่กรดจะเป็นกรดอ่อน

เช่น HCl + H2O H3O+ + Cl-


กรดแก่1 กรดอ่อน2

8
30-Jan-24

17
ความแรงของกรด-เบส (Strength of Acid-Base)
เมื่ออยู่ในสารละลายน้า;
กรด + เบส เกลือ + น้า
H2O(l)
กรด HCl H+ + Cl- ปฏิกิริยาสะเทิน
เบส NaOH
H2O(l)
Na++ OH- HCl + NaOH NaCl + H2O
เกลือ
เกลือ คือ สารประกอบไอออนิกที่ประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบที่ไม่ใช่
H+ และ OH-

18
เกลือที่เกิดจากปฏิกิริยาสะเทิน
1) กรดแก่รวมกับเบสแก่ ได้เกลือที่มีฤทธิ์เป็นกลางในน้า
HCl(aq) + NaOH(aq) ⎯
⎯→ NaCl(aq) + H 2 O (l)

2) กรดแก่รวมกับเบสอ่อน ได้เกลือที่มีฤทธิ์เป็นกรดในน้า
HCl(aq) + NH 3(aq) ⎯
⎯→ NH 4 Cl (aq)

3) กรดอ่อนรวมกับเบสแก่ ได้เกลือที่มีฤทธิ์เป็นเบสในน้า
CH 3COOH (aq) + NaOH(aq) ⎯
⎯→ CH 3COONa (aq) + H 2 O (l)
4) กรดอ่อนรวมกับเบสอ่อน ได้เกลือที่มีฤทธิ์เป็น กรด กลาง หรือ เบสในน้าขึนกับ
ชนิดของไอออนบวกและลบของเกลือที่ได้
CH 3COOH (aq) + NH 3(aq) ⎯
⎯→ CH 3COONH 4 (aq)

9
30-Jan-24

19
ความแรงของกรด-เบส (Strength of Acid-Base)
• กรด ส่วนใหญ่เป็นกรดอ่อน
ข้อยกเว้น กรดแก่ แตกตัว 100% มีดังนี HCl, HBr, HI, HNO3, HClO3, HClO4,
H2SO4
• เบส ส่วนใหญ่เป็นเบสอ่อน
ข้อยกเว้น เบสแก่ แตกตัว 100% มีดังนี LiOH, NaOH, KOH, RbOH, CsOH,
Ca(OH)2, Sr(OH)2, Ba(OH)2

• เกลือ ส่วนใหญ่เป็นอิเล็กโทรไลต์แก่
ข้อยกเว้น อิเล็กโทรไลต์อ่อน มีดังนี HgCl2, Hg(CN)2
อิเล็กโทรไลต์แก่ปานกลาง มีดังนี CdCl2, CdBr2, CdI2, Pb(OAc)2

20
ความแรงของกรด-เบส (Strength of Acid-Base)
วิธีการพิจารณามี 2 วิธี
2. เปรียบเทียบจากโครงสร้างโมเลกุลของกรดและเบส

10
30-Jan-24

21
ความแรงของกรด-เบส (Strength of Acid-Base)

ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง; 1. สภาพไฟฟ้าลบ (EN) ของ X


2. ขนาดของ X
กรณีคาบเดียวกัน ปัจจัย 1 มีอิทธิพลมากกว่า (X มี EN มาก ดึงดูด e- คู่สร้าง
พันธะมาก โปรตอนถูกดึงดูดน้อย โปรตอนจึงหลุดง่าย)
ความแรงของกรด CH4 < NH3 < H2O < HF
กรณีหมู่เดียวกัน ปัจจัย 2 มีอิทธิพลมากกว่า (X มีขนาดใหญ่ ความหนาแน่น
ของประจุน้อย จึงดึงดูดโปรตอนได้น้อย โปรตอนจึงหลุดง่าย)
ความแรงของกรด HF < HCl < HBr < HI

22
ความแรงของกรด-เบส (Strength of Acid-Base)

กรดออกโซ : กรดที่ประกอบด้วย O และ H อย่างน้อย 1 อะตอม


- กรณีที่อะตอมกลางเป็นธาตุเดียวกัน ดูที่เลขออกซิเดชันของอะตอมกลาง
→ ถ้าเลขออกซิเดชันยิ่งมาก ยิ่งมีความเป็นกรดแก่มากขึน
เช่น H2SO3, ox no. ของ S = +4 H2SO4, ox no. ของ S = +6
 H2SO4 เป็นกรดที่แก่กว่า H2SO3
-กรณีอะตอมกลางเป็นธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกัน (เลขออกซิเดชันเท่ากัน)
ดูที่ EN→ EN เพิ่ม ยิ่งมีความเป็นกรดแก่มากขึน
ความแรงของกรด HClO4 > HBrO4 > HIO4
EN Cl > Br > I

11
30-Jan-24

23
ความแรงของกรด-เบส (Strength of Acid-Base)

→ ความเป็นเบสมากขึนเมื่อความหนาแน่นประจุลบของแอนไอออนมากขึน

N3- > O2- > F- O2- > S2-


F- > Cl- > Br- > I- N3- > NH2- > NH2-

24
ความแรงของกรด-เบส (Strength of Acid-Base)

- เป็นกรดที่มีจ้านวนโปรตอนที่แตกตัวได้มากกว่า 1 โปรตอน
- กรดที่มีประจุลบมากกว่าจะเป็นกรดที่อ่อนกว่า
เพราะ H+ จะหลุดออกจากไอออนที่มีประจุลบมากกว่าได้ยากกว่า
เช่น กรดฟอสฟอริก (H3PO4)

ความแรงของกรด H3PO4 > H2PO4- > HPO42-

12
30-Jan-24

25
แบบฝึกหัด
• จงเปรียบเทียบความแรงของกรด
- CH4 และ NH3
NH3 เป็นกรด_____กว่า CH4
กรดไฮโดร, C และ N อยู่ในคาบเดียวกัน, EN ของ N ___ C

- H2S และ H2O


H2S เป็นกรด _____ กว่า H2O
กรดไฮโดร, O และ S อยู่ในหมู่เดียวกัน, ขนาดของ S ___ O

26
แบบฝึกหัด
• จงเปรียบเทียบความแรงของเบส
- NH3 และ NF3
NH3 เป็นเบส _____ กว่า NF3
N ของ NH3 มี__________________มากกว่า N ของ NF3

- N3- และ O2-


N3- เป็นเบส _____ กว่า O2-
N3- มี___________________มากกว่า

13
30-Jan-24

27
แบบฝึกหัด
• จงเรียงล้าดับความแรงของกรด
- HIO , HIO2, HIO3, HIO4
ความแรงของกรด HIO4 ___ HIO3 ___ HIO2 ___ HIO
พิจารณาเลขออกซิเดชันของอะตอมกลาง: ยิ่งมากยิ่งเป็นกรดแก่
กรด เลขออกซิเดชันของ I
HIO
HIO2 ความแรงของกรด
HIO3
HIO4

28
แบบฝึกหัด
• จงเรียงล้าดับความแรงของเบส
- - - -
- ClO , ClO2 , ClO3 , ClO4
- - - -
ความแรงของเบส ClO ___ ClO2 ___ ClO3 ___ ClO4
เป็นคู่เบสของกรดออกซี: ยิ่งกรดออกซีแรงมากจะเป็นคู่เบสที่อ่อนมาก
กรด เลขออกซิเดชันของ Cl ความแรงของกรด
HClO HClO4 __ HClO3 __ HClO2 __ HClO
HClO2 ดังนันความแรงของคู่เบส
HClO3 ClO- __ ClO2- __ ClO3- __ ClO4-
HClO4

14
30-Jan-24

29
แบบฝึกหัด
ก้าหนดค่า Ka ของกรดต่อไปนี
Ka ของ HF = 6.7x10-4, Ka ของ HCN = 4.0x10-10, Ka ของ CH3COOH = 1.75x10-5
จงเรียบล้าดับความแรงของกรดและของคู่เบส
วิธีท้า พิจารณาความแรงของกรด จากค่า ka

จากโจทย์ Ka ของ HF > CH3COOH > HCN


 ความแรงของกรด HF ___ CH3COOH ___ HCN
ถ้ากรดเป็นกรดแก่ คู่เบสจะเป็นเบสอ่อน
 ความแรงของคู่เบส F- ___ CH3COO- ___ CN-

15
30-Jan-24

สมดุลไอออน
(Ionic equilibrium)
รศ.ดร. พัชรีนารถ ทรัพย์อาภากร

2
สมดุลของกรด-เบสในน้ำ
กำรแตกตัวเป็นไอออนด้วยตนเองของน้ำ
H2O(l) + H2O(l) ⇌ H3O+(aq) + OH-(aq)

K= [H3O+][OH-]
[H2O]2
เนื่องจำกน้ำแตกตัวได้น้อยมำก ดังนัน [H2O] มีค่ำคงที่
K[H2O]2 = [H3O+][OH-]
Kw = [H3O+][OH-]

1
30-Jan-24

3
สมดุลของกรด-เบสในน้ำ
Kw = [H3O+][OH-]
Kw = ค่ำคงที่ผลคูณของไอออนของน้ำ เท่ำกับ 1.0 x 10-14 ที่ 25oC
1.0 x10-14 = [H3O+][OH-]
ส้ำหรับน้ำบริสุทธิ์ : [H3O+] = [OH-]

ที่ 25oC  [H3O+] = [OH-] = 1.0 x 10-7 M

4
แบบฝึกหัด
จงหำ[H+] และ [OH-] ในสำรละลำย 0.001 M HCl
วิธีท้ำ

จำกโจทย์ : [H+] = 0.001 M


จำก Kw = [H+][OH-]

 [OH-] =

2
30-Jan-24

5
นิยำมของ pH และ pOH
pH = -log [H+] pOH = -log [OH-]
ส้ำหรับน้ำบริสุทธิ์ : [H+] = 1.0 x10-7 M
pH = -log [H+] = -log(1.0 x10-7)  pH = 7
จำก Kw = [H+][OH-]
-log Kw = -log [H+] - log [OH-]
pKw = pH + pOH
pH + pOH = 14

6
กำรแตกตัวของอิเล็กโทรไลต์อ่อน
กรดอ่อน
CH3COOH + H2O ⇌ H3O+ + CH3COO-

K= [H3O+][CH3COO-] K.[H2O] = Ka
[CH3COOH][H2O]

Ka = ค่ำคงที่กำรแตกตัวของกรด

Ka = [H3O+][CH3COO-]
[CH3COOH]
pKa = -log Ka

3
30-Jan-24

7
กำรแตกตัวของอิเล็กโทรไลต์อ่อน
เบสอ่อน
NH3 + H2O ⇌ NH4+ + OH-

Kb = [NH4+][OH-]
[NH3]
Kb = ค่ำคงที่กำรแตกตัวของเบส

pKb = -log Kb

8
กำรแตกตัวของอิเล็กโทรไลต์อ่อน

กรดที่แตกตัวเป็นไอออนได้น้อย ค่ำ ka จะมีค่ำน้อย


กรดที่แตกตัวเป็นไอออนได้มำก ค่ำ ka จะมีค่ำมำก

Ka มำก ยิ่งมีควำมแรงของกรดมำก

pKa = -log Ka
pKa น้อย ยิ่งมีควำมแรงของกรดมำก

4
30-Jan-24

9
แบบฝึกหัด
เมื่อเตรียมสำรละลำยกรดอะซิติกเข้มข้น 0.10 M และวัด pH พบว่ำมีค่ำเท่ำกับ
2.88 จงค้ำนวณหำค่ำ Ka ของกรดอะซิติกและหำค่ำร้อยละกำรแตกตัว
วิธีท้ำ

จำกค่ำ pH ท้ำให้สำมำรถทรำบค่ำ [H+]


pH = [H+] = ___________M

10
แบบฝึกหัด
เมื่อเตรียมสำรละลำยกรดอะซิติกเข้มข้น 0.10 M และวัด pH พบว่ำมีค่ำเท่ำกับ
2.88 จงค้ำนวณหำค่ำ Ka ของกรดอะซิติกและหำค่ำร้อยละกำรแตกตัว
วิธีท้ำ CH3COOH ⇌ H+ + CH3COO-
[ ]เริ่มต้น:
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง:
[ ]ที่สมดุล:
C  1,000 ประมำณค่ำได้
Ka
Ka =

5
30-Jan-24

11
แบบฝึกหัด
เมื่อเตรียมสำรละลำยกรดอะซิติกเข้มข้น 0.10 M และวัด pH พบว่ำมีค่ำเท่ำกับ
2.88 จงค้ำนวณหำค่ำ Ka ของกรดอะซิติกและหำค่ำร้อยละกำรแตกตัว
วิธีท้ำ
ร้อยละกำรแตกตัว (% กำรแตกตัว)
[ ] ที่แตกตัว
% กำรแตกตัว = x 100
[ ] เริ่มต้น

12
แบบฝึกหัด
เมื่อเตรียมสำรละลำยแอมโมเนีย เข้มข้น 0.010 M พบว่ำ แอมโมเนียแตกตัวได้
4.2 % จงค้ำนวณหำค่ำ Kb ของแอมโมเนีย
วิธีท้ำ จำกโจทย์ NH3 0.010 M แตกตัว 4.2 %
ที่สมดุล [OH-] =

[ ]เริ่มต้น:
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง:
[ ]ที่สมดุล:

6
30-Jan-24

13
แบบฝึกหัด
เมื่อเตรียมสำรละลำยแอมโมเนีย เข้มข้น 0.010 M พบว่ำ แอมโมเนียแตกตัวได้
4.2 % จงค้ำนวณหำค่ำ Kb ของแอมโมเนีย
วิธีท้ำ NH3 + H2O ⇌ NH4+ + OH-
[ ]ที่สมดุล: 0.010 M 4.2 x10-4 M 4.2 x10-4 M

Kb =

14
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำ [H+], [CH3COO-] และ [CH3COOH] ในสำรละลำยที่เตรียมได้โดย
ละลำย HCl 0.10 โมลและ CH3COOH 0.20 โมลลงในน้ำ จำกนันท้ำให้ปริมำตรรวม
ของสำรละลำยเท่ำกับ 1 ลิตร ก้ำหนด Ka ของ CH3COOH = 1.8 x10-5
วิธีท้ำ HCl เป็นกรดแก่แตกตัว 100% HCl → H+ + Cl-
จำกโจทย์ : HCl = 0.10 mol dm-3 ดังนัน [H+] = _______ M
จำก CH3COOH ⇌ H+ + CH3COO-
[ ]เริ่มต้น:
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง:
[ ]ที่สมดุล:

7
30-Jan-24

15
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำ [H+], [CH3COO-] และ [CH3COOH] ในสำรละลำยที่เตรียมได้โดย
ละลำย HCl 0.10 โมลและ CH3COOH 0.20 โมลลงในน้ำ จำกนันท้ำให้ปริมำตรรวม
ของสำรละลำยเท่ำกับ 1 ลิตร ก้ำหนด Ka ของ CH3COOH = 1.8 x10-5
วิธีท้ำ จำก CH3COOH ⇌ H+ + CH3COO-
[ ]ที่สมดุล: 0.20 M 0.10 M XM

Ka =

ที่สภำวะสมดุล [CH3COOH] = _________ M


[H+] = _________ M
[CH3COO-] = _________ M

16
แบบฝึกหัด
น้ำสำรละลำย HA และ HB มำผสมกันโดยมีปริมำตรรวมเท่ำกับ 1 ลิตร และ
สำรละลำยทังสองนีมีควำมเข้มข้นเท่ำกับ 1 M จงค้ำนวณหำ
1) pH ของสำรละลำยผสม
2) ควำมเข้มข้นของ A-
3) ควำมเข้มข้นของ B-
ก้ำหนดให้ค่ำ Ka ของ HA = 10-2 และ Ka ของ HB = 10-6
วิธีท้ำ Ka ของ HA = 10-2 ______ Ka ของ HB = 10-6
 HA แตกตัวได้________ HB

8
30-Jan-24

17
แบบฝึกหัด
น้ำสำรละลำย HA และ HB มำผสมกันโดยมีปริมำตรรวมเท่ำกับ 1 ลิตร และ
สำรละลำยทังสองนีมีควำมเข้มข้นเท่ำกับ 1 M จงค้ำนวณหำ
วิธีท้ำ
[ ]เริ่มต้น:
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง:
[ ]ที่สมดุล:
1.00 < 1,000 ไม่สำมำรถประมำณค่ำได้
10-2
Ka =

18
แบบฝึกหัด
น้ำสำรละลำย HA และ HB มำผสมกันโดยมีปริมำตรรวมเท่ำกับ 1 ลิตร และ
สำรละลำยทังสองนีมีควำมเข้มข้นเท่ำกับ 1 M จงค้ำนวณหำ
วิธีท้ำ
[ ]เริ่มต้น:
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง:
[ ]ที่สมดุล:
1.00 > 1,000 0.095 > 1,000 สำมำรถท้ำกำร
10-6 10-6 ประมำณค่ำได้
+ -
Ka = [H3O ][B ]
[HB]

9
30-Jan-24

19
แบบฝึกหัด
น้ำสำรละลำย HA และ HB มำผสมกันโดยมีปริมำตรรวมเท่ำกับ 1 ลิตร และ
สำรละลำยทังสองนีมีควำมเข้มข้นเท่ำกับ 1 M จงค้ำนวณหำ
วิธีท้ำ 1) pH ของสำรละลำยผสม
ที่สมดุลมี [H+] = ______ M
pH = -log [H+] =
2) ควำมเข้มข้นของ A-
[A-] = ______ M
3) ควำมเข้มข้นของ B-
[B-] = ______ M

20
กำรแตกตัวของกรดหลำยโปรตอน
กรดที่แตกตัวให้โปรตอนมำกกว่ำ 1 ตัว ซึ่งแตกตัวขันตอนละ 1 โปรตอน
เช่น H2CO3, H2S, H3PO4
ขันตอนที่ 1: H S 2 (aq) H + HS +
K = 1.1x10
(aq)

(1)
(aq) a1
−7

ขันตอนที่ 2: HS −
(aq)H +S +
K = 1.0x10
(aq)
2−
(aq)(2) a2
−14

โดยทั่วไป Ka2 << Ka1


(โปรตอนจะแตกตัวจำกไอออนลบที่มีประจุลบยำกกว่ำดังนันเป็นกรดที่อ่อนกว่ำ)
[H + ][HS− ] [H + ][S2− ]
K a1 = K a2 =
[H 2S] [HS- ]
 รวม (1) + (2) H 2S(aq) 2H + (aq) + S2− (aq)

Kรวม = Ka1 x Ka2 [H + ]2 [S2− ]


= = 1.1x10−7 x 1.1x10−14 = 1.1 x 10 −21
[H 2S]

10
30-Jan-24

21
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)

เช่น MX เป็นเกลือ เมื่อละลำยน้ำจะให้ M+ และ X-


M+ + H2O ⇌ MOH + H+
H2O + X- ⇌ OH- + HX
OH- และ H+ ที่เกิดขึนจะมีผลต่อ pH ของสำรละลำย

22
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)

กรดแก่ - เบสแก่ pH = 7
กรดอ่อน - เบสแก่ pH > 7
กรดแก่ - เบสอ่อน pH < 7
กรดอ่อน - เบสอ่อน ขึนกับชนิดของเกลือ

11
30-Jan-24

23
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)
- ได้สำรละลำยเป็นกลำง
เช่น NaOH + HCl → NaCl
Na+ เป็นไอออนที่มำจำกเบสแก่ Cl- เป็นไอออนที่มำจำกกรดแก่
ทัง Na+ และ Cl- ไม่เกิดไฮโดรลิซิส คือ ไม่ท้ำปฏิกิริยำกับน้ำ
เพรำะ Na+ ไม่รวมกับ OH- เนืองจำก NaOH เป็นเบสแก่คอยแต่จะแตกตัวเป็นไอออนหมด
เพรำะ Cl- ไม่รวมกับ H+ เนืองจำก HCl เป็นกรดแก่คอยแต่จะแตกตัวเป็นไอออนหมด
ดังนันปริมำณ ของ H+ และ OH- ในสำรละลำยยังคงเท่ำกันตำมเดิมเหมือน
ในน้ำบริสุทธิ์ สำรละลำยจึงเป็นกลำง
และ สรุปได้ว่ำ Na+ และ Cl- ไม่แยกสลำยด้วยน้ำ

24
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)

- ได้สำรละลำยเป็น pH > 7
เช่น CH3COONa (CH3COOH + NaOH)
Na+ มำจำกเบสแก่  ไม่เกิดไฮโดรลิซิส
CH3COO- + H2O ⇌ CH3COOH + OH-

[OH-] > [H+] pH > 7

12
30-Jan-24

25
แบบฝึกหัด
จงแสดงให้เห็นว่ำ NaCN เป็นเบส
วิธีท้ำ NaCN เกิดจำก

[OH-] ____ [H+] pH ____ 7

26
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)

CH3COOH + NaOH → CH3COONa + H2O


ไฮโดรลิซิสของไอออนลบ (จำกกรดอ่อน)
CH3COO- + H2O ⇌ CH3COOH + OH-
[OH-][CH3COOH]
Kh =
[CH3COO-]
Kh = ค่ำคงที่ไฮโดรไลซิส หรือ ค่ำคงที่กำรแยกสลำยด้วยน้ำ

13
30-Jan-24

27
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)

Kw [H+][OH-]
ถ้ำใช้ =
Ka [H+][CH3COO-]
[CH3COOH]

= [OH-][CH3COOH] = Kh
[CH3COO-]

Kh = Kw
Ka

28
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)

ปริมาณเกลือที่เกิดไฮโดรลิซิสไป
% ไฮโดรลิซิส = X 100
ปริมาณเกลือเริ่มต้น

14
30-Jan-24

29
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำย CH3COONa เข้มข้น 0.10 M และ %กำรไฮโดรไลซิส
(ก้ำหนดให้ Ka ของ CH3COOH =1.8 x10-5 )
วิธีท้ำ CH3COONa เป็นเกลือของ_______กับ _______
ไอออนที่มำจำกกรดอ่อนเท่ำนันที่เกิดไฮโดรลิซิส

ที่สมดุล Kh =

Kh = Kw
Ka

30
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำย CH3COONa เข้มข้น 0.10 M และ %กำรไฮโดรไลซิส
(ก้ำหนดให้ Ka ของ CH3COOH =1.8 x10-5 )
วิธีท้ำ CH3COO- + H2O ⇌ CH3COOH + OH-
[ ]เริ่มต้น:
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง:
[ ]ที่สมดุล:
0.1 > 1,000 สำมำรถประมำณค่ำได้
5.6 x10-10
[OH-][CH3COOH]
Kh =
[CH3COO-]

15
30-Jan-24

31
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำย CH3COONa เข้มข้น 0.10 M และ %กำรไฮโดรไลซิส
(ก้ำหนดให้ Ka ของ CH3COOH =1.8 x10-5 )
วิธีท้ำ [OH-] = 7.5 x10-6 M
pOH = -log [OH-]
จำก pH + pOH = 14 pH =
[CH3COOH] x 100
% ไฮโดรไลซิส =
[CH3COO-]

32
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)

- ได้สำรละลำยเป็น pH < 7
เช่น NH4Cl (NH4OH + HCl)
Cl- มำจำกกรดแก่  ไม่เกิดไฮโดรลิซิส
ไฮโดรลิซิสของไอออนบวก (จำกเบสอ่อน)
NH4+ + H2O ⇌ H3O+ + NH3
[H+] > [OH-] pH < 7
+
Kh = [H3O ][NH3]
[NH4+]

16
30-Jan-24

33
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)

ถ้ำใช้ Kw = [H3O+][OH-]
Kb [NH4+][OH-]
[NH3]

[H3O+][NH3]
= = Kh
[NH4+]

Kh = Kw
Kb

34
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำย N2H5Cl 0.10 M
(ก้ำหนดให้ Kb ของ N2H4 = 1.7 x10-6)
วิธีท้ำ N2H5Cl เป็นเกลือของ__________________
ไอออนที่มำเบสอ่อนเท่ำนันที่เกิดไฮโดรลิซิส
N2H5+ + H2O ⇌ N2H4 + H3O+
หรือ N2H5+ + H2O ⇌ N2H5OH + H+
+
Kh = [H ][N2H5+OH]
+
ที่สมดุล Kh = [H3O ][N+2H4]
[N2H5 ] [N2H5 ]

Kh = Kw
Kb

17
30-Jan-24

35
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำย N2H5Cl 0.10 M
(ก้ำหนดให้ Kb ของ N2H4 = 1.7 x10-6)
วิธีท้ำ N 2 H5 + + H 2 O ⇌ N 2 H 4 + H 3 O+
[ ]เริ่มต้น:
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง:
[ ]ที่สมดุล:
0.1 > 1,000 สำมำรถประมำณค่ำได้
5.9 x10-9
[H O+][N2H4]
Kh = 3
[N2H5+]

36
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำย N2H5Cl 0.10 M
(ก้ำหนดให้ Kb ของ N2H4 = 1.7 x10-6)
วิธีท้ำ [H3O+] = __________M
pH = -log[H3O+]

18
30-Jan-24

37
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)

สำรละลำยที่ได้จะเป็นกรด เบส หรือกลำง ขึนกับควำมสำมำรถในกำรเกิด


ไฮโดรไลซิสของแต่ละไอออน
CH3COONH4 KaCH3COOH = KbNH3 = 1.8 x10-5

Khcation = Khanion  กลำง

38
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)

NH4CN KaHCN = 4.9 x10-10 KbNH3 = 1.8 x10-5

CN- Khanion = Kw = 1.0 x10-14 = 2.0 x10-5


Ka 4.9 x10-10
Khcation = Kw = 1.0 x10-5
-14
NH4+ = 5.6 x10-10
Kb 1.8 x10
CN- + H2O ⇌ HCN + OH-
 [OH-] > [H+] → เบส

19
30-Jan-24

39
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)

CHOONH4 KaCHOOH = 1.8 x10-4 KbNH3 = 1.8 x10-5

CHOO- Khanion = Kw = 1.0 x10-14 = 5.6 x10-11


Ka 1.8 x10-4

NH4+ Khcation = Kw = 1.0 x10-14 = 5.6 x10-10


Kb 1.8 x10-5
NH4+ + H2O ⇌ NH4OH + H+
 [H+] > [OH-] → กรด

40
กำรแยกสลำยด้วยน้ำ (Hydrolysis)

NH4CN NH4+ + H2O ⇌ NH4OH + H+


CN- + H2O ⇌ HCN + OH-
NH4+ + CN- ⇌ NH3 + HCN
[NH3][HCN]
Kh =
[NH4+][CN-]
Kw K wK a
= Kh [H+] =
KaKb Kb
Note ควำมเข้มข้นของเกลือไม่มผี ลต่อ pH เหมือน 2 กรณีแรก

20
30-Jan-24

41
สำรละลำยบัฟเฟอร์ (Buffer solution)
เพื่อท้ำกำรรักษำ pH ของระบบไว้ให้ไม่เปลี่ยนไปจำกเดิมด้วยกำร
ใช้ สารละลายบัฟเฟอร์

คือ สำรละลำยซึ่ง pH ไม่เปลี่ยนแปลงไปมำกนักเมื่อเติมกรดแก่


หรือเบสแก่ ปริมำณเล็กน้อย

42
สำรละลำยบัฟเฟอร์ (Buffer solution)
เช่น CH3COOH + CH3COONa
เมื่อเติม กรดแก่ลงไปเล็กน้อย
H+ + CH3COO- ⇌ CH3COOH
ไม่ค่อยแตกตัว
เมื่อเติม เบสแก่ลงไปเล็กน้อย
- -
OH + CH3COOH ⇌ CH3COO + H2O

เช่น NH3 + NH4Cl

21
30-Jan-24

43
สำรละลำยบัฟเฟอร์ (Buffer solution)
สำรละลำยผสมในข้อใดบ้ำงที่เป็นสำรละลำยบัฟเฟอร์
a) CH3COONa + CH3COOH e) NaOH + HCl
b) NH3 + HCl f) CH3COOH + NaOH

c) HCl + NaCl g) NH4Cl + NH3


d) HCl + CH3COOH h) H3PO4 + NaH2PO4

44
สำรละลำยบัฟเฟอร์ (Buffer solution)
เช่น CH3COOH + CH3COONa
CH3COOH ⇌ H+ + CH3COO-
+ - K [CH COOH]
Ka = [H ][CH3COO ] [H+] = a 3 -
[CH3COOH] [CH3COO ]

[H+] = a
K [กรด] -log [H+] = -logKa - log [กรด]
[เกลือ] [เกลือ]

pH = pKa - log [กรด]


[เกลือ]

22
30-Jan-24

45
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำยที่ประกอบด้วย CH3COOH และ CH3COONa
เข้มข้นอย่ำงละ 1 โมลำร์ (ก้ำหนดให้ KaCH3COOH = 1.8 x10-5)
วิธีท้ำ 1

แทนค่ำ

pH =

46
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำยที่ประกอบด้วย CH3COOH และ CH3COONa
เข้มข้นอย่ำงละ 1 โมลำร์ (ก้ำหนดให้ KaCH3COOH = 1.8 x10-5)
วิธีท้ำ 2 CH3COOH ⇌ H+ + CH3COO-
pH = pKa - log [กรด]
[เกลือ]

23
30-Jan-24

47
สำรละลำยบัฟเฟอร์ (Buffer solution)
เช่น NH3 + NH4Cl
NH3 + H2O ⇌ NH4+ + OH-
+ - K [NH ]
Kb = [NH4 ][OH ] [OH-] = b +3
[NH3] [NH4 ]
[OH-] = Kb[เบส] -log [OH -] = -logK - log [เบส]
[เกลือ] b
[เกลือ]
[เบส]
pOH = pKb - log
[เกลือ]

48
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำยที่ประกอบด้วย 0.2 M NH3 และ 0.2 M
NH4Cl (ก้ำหนดให้ KbNH3 = 1.8 x10-5)
วิธีท้ำ 1

แทนค่ำ

pOH = -log [OH-]


pH + pOH = 14

24
30-Jan-24

49
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำยที่ประกอบด้วย 0.2 M NH3 และ 0.2 M
NH4Cl (ก้ำหนดให้ KbNH3 = 1.8 x10-5)
วิธีท้ำ 2 NH3 + H2O ⇌ NH4+ + OH-
[เบส]
pOH = pKb - log
[เกลือ]

pH + pOH = 14

50
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำอัตรำส่วนระหว่ำง CH3COOH กับ CH3COONa เพื่อเตรียม
สำรละลำยบัฟเฟอร์ที่มีค่ำ pH เท่ำกับ 5.70 (ก้ำหนดให้ KaCH3COOH = 1.8 x10-5)
วิธีท้ำ จำก pH = -log [H+] 5.70 = -log [H+]
 [H+] =
CH3COOH ⇌ H+ + CH3COO-
[H+][CH3COO-] [CH3COOH] +
Ka = = [H ]
[CH3COOH] [CH3COO-] Ka

[CH3COOH] =
[CH3COO-]

25
30-Jan-24

51
แบบฝึกหัด
• เตรียมสำรละลำยบัฟเฟอร์โดยท้ำกำรผสม 0.6 M NH3 จ้ำนวน 200 cm3
กับ 0.3 M NH4Cl จ้ำนวน 300 cm3
1) จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำยบัฟเฟอร์ที่เตรียมได้
2) จงค้ำนวณหำ pH หลังจำกเติม H+ จ้ำนวน 0.02 โมล
(ก้ำหนดให้ Kb NH3 = 1.8 x10-5)
สมมติให้ปริมำตรของสำรละลำยไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเติม H+

52
แบบฝึกหัด
• เตรียมสำรละลำยบัฟเฟอร์โดยท้ำกำรผสม 0.6 M NH3 จ้ำนวน 200 cm3 กับ
0.3 M NH4Cl จ้ำนวน 300 cm3
1) จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำยบัฟเฟอร์ที่เตรียมได้
วิธีท้ำ

+
ต้องค้ำนวณหำค่ำ [NH3] และ [NH4 ] ในสำรละลำยบัฟเฟอร์(ปริมำตรรวม)
0.6 M NH3 จ้ำนวน 200 cm3 ปริมำตรรวมของสำรละลำย
0.3 M NH4Cl จ้ำนวน 300 cm3 = 200 + 300 = 500 cm3

26
30-Jan-24

53
แบบฝึกหัด
• เตรียมสำรละลำยบัฟเฟอร์โดยท้ำกำรผสม 0.6 M NH3 จ้ำนวน 200 cm3 กับ
0.3 M NH4Cl จ้ำนวน 300 cm3
1) จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำยบัฟเฟอร์ที่เตรียมได้
วิธีท้ำ NH3 + H2O ⇌ NH4+ + OH-
จำกควำมสัมพันธ์ C1V1 = C2V2
[NH3];

[NH4+];

54
แบบฝึกหัด
• เตรียมสำรละลำยบัฟเฟอร์โดยท้ำกำรผสม 0.6 M NH3 จ้ำนวน 200 cm3 กับ
0.3 M NH4Cl จ้ำนวน 300 cm3
1) จงค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำยบัฟเฟอร์ที่เตรียมได้
วิธีท้ำ NH3 + H2O ⇌ NH4+ + OH-
[NH3] = 0.24 M [NH4+] = 0.18 M
K [NH ]
แทนค่ำ [OH-] = b +3
[NH4 ]
pOH = -log[OH-]

จำก pH + pOH = 14

27
30-Jan-24

55
แบบฝึกหัด
• เตรียมสำรละลำยบัฟเฟอร์โดยท้ำกำรผสม 0.6 M NH3 จ้ำนวน 200 cm3 กับ
0.3 M NH4Cl จ้ำนวน 300 cm3
2) จงค้ำนวณหำ pH หลังจำกเติม H+ จ้ำนวน 0.02 โมล
วิธีท้ำ NH3 + H2O ⇌ NH4+ + OH-
เมื่อเติม H+ ลงไป H+ จะท้ำปฏิกิริยำดังสมกำร
NH3 + H+ → NH4+
จำกโจทย์ ปริมำตรของสำรละลำยไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเติม H+ = 500 cm3
K [NH ]
[OH-] = b +3 ค้ำนวณหำ [NH3] และ [NH4+] หลังจำกที่เติมกรด
[NH4 ]

56
แบบฝึกหัด
• เตรียมสำรละลำยบัฟเฟอร์โดยท้ำกำรผสม 0.6 M NH3 จ้ำนวน 200 cm3 กับ
0.3 M NH4Cl จ้ำนวน 300 cm3
2) จงค้ำนวณหำ pH หลังจำกเติม H+ จ้ำนวน 0.02 โมล
วิธีท้ำ ค้ำนวณ หำ [H+] ที่เติมเข้ำไป;
จำกโจทย์ ปริมำตรของสำรละลำยไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเติม H+ = 500 cm3
จำกควำมสัมพันธ์ n = CV
1000

 [H+] ที่เติมเข้ำไป = ___________ M

28
30-Jan-24

57
แบบฝึกหัด
• เตรียมสำรละลำยบัฟเฟอร์โดยท้ำกำรผสม 0.6 M NH3 จ้ำนวน 200 cm3 กับ
0.3 M NH4Cl จ้ำนวน 300 cm3
2) จงค้ำนวณหำ pH หลังจำกเติม H+ จ้ำนวน 0.02 โมล
วิธีท้ำ [H+] ที่เติมเข้ำไป = 0.04 M
NH3 + H2O ⇌ NH4+ + OH-
เมื่อเติม H+ ลงไป H+ จะท้ำปฏิกิริยำดังสมกำร
NH3 + H+ → NH4+
[ ] ก่อนเติมกรด 0.24 0.18
[ ] หลังเติมกรด

58
แบบฝึกหัด
• เตรียมสำรละลำยบัฟเฟอร์โดยท้ำกำรผสม 0.6 M NH3 จ้ำนวน 200 cm3 กับ
0.3 M NH4Cl จ้ำนวน 300 cm3
2) จงค้ำนวณหำ pH หลังจำกเติม H+ จ้ำนวน 0.02 โมล
วิธีท้ำ
จำก [OH-] = Kb[NH+3] =
[NH4 ]
pOH = - log [OH-] =
จำก pH + pOH = 14 pH =
pH หลังจำกเติม H+ จ้ำนวน 0.02 โมล = _________
( pH ก่อนเติม H+ = 9.38 ดังนัน pH ลดลง ______ หน่วยหลังเติม H+)

29
30-Jan-24

59
แบบฝึกหัด
จะต้องเติม CH3COONa กี่กรัมลงใน 1.00 โมล ของ CH3COOH เพื่อให้ได้บัฟเฟอร์
pH 5.0 ปริมำตร 1 ลิตร
ก้ำหนดให้ Ka ของ CH3COOH = 2.0 x 10-5
และน้ำหนักโมเลกุลของ CH3COONa เท่ำกับ 82 g/mol
วิธีท้ำ

จะต้องใช้ CH3COONa =

60
สำรละลำยบัฟเฟอร์ (Buffer solution)
HA ⇌ H+ + A- pH = pKa - log [HA]-
[A ]
- เมื่อเติมกรดแก่ปริมำณเล็กน้อย
H+ จำกกรดแก่จะท้ำปฏิกิริยำกับ A- (คู่เบส) เกิด HA ท้ำให้ HA เพิ่ม และ A- ลดลง
H+ (aq) + A- (aq) → HA (aq)
(จำกกรดแก่ที่เติม)
[HA] HA + [H + ]
อัตรำส่วน ในสำรละลำยบั ฟเฟอร์ จ ะเปลี ย
่ นเป็ น
[A− ] A− − [H + ]
[HA]
 ถ้ำในสำรละลำยบัฟเฟอร์มีอัตรำส่วน ที่เหมำะสมคือ 𝟏𝟎 - 𝟏
[A− ] 𝟏 𝟏𝟎
เมื่อเติมกรดแก่หรือเบสแก่ลงไปเล็กน้อยจะท้ำให้ pH เปลี่ยนน้อยมำก

30
30-Jan-24

61
สำรละลำยบัฟเฟอร์ (Buffer solution)
HA ⇌ H+ + A- pH = pKa - log [HA]-
[A ]
- เมื่อเติมเบสแก่ปริมำณเล็กน้อย
OH- จำกเบสแก่จะท้ำปฏิกิริยำกับ HA (กรด) เกิด A- ท้ำให้ A- เพิ่ม และ HA ลดลง
OH- (aq) + HA (aq) → A- (aq) + H2O (l)
(จำกเบสแก่ที่เติม)
[HA] HA − [OH − ]
อัตรำส่วน ในสำรละลำยบั ฟเฟอร์ จ ะเปลี ย
่ นเป็ น
[A− ] A− + [OH − ]
[HA]
 ถ้ำในสำรละลำยบัฟเฟอร์มีอัตรำส่วน ที่เหมำะสมคือ 𝟏𝟎 - 𝟏
[A− ] 𝟏 𝟏𝟎
เมื่อเติมกรดแก่หรือเบสแก่ลงไปเล็กน้อยจะท้ำให้ pH เปลี่ยนน้อยมำก

62
สำรละลำยบัฟเฟอร์ (Buffer solution)
ตัวอย่ำงเช่น กำรเตรียมสำรละลำยบัฟเฟอร์ของสำรละลำยที่ประกอบด้วย CH3COOH
และ CH3COONa เข้มข้นอย่ำงละ 0.10 โมลำร์ (ก้ำหนดให้ KaCH3COOH = 1.8 x10-5)
- ค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำยบัฟเฟอร์นี
วิธีท้ำ 1 CH3COOH ⇌ H+ + CH3COO-
[H+][CH3COO-]
Ka = [H+] = Ka[CH3COOH]
[CH3COOH] [CH3COO-]
-5
แทนค่ำ [H+] = 1.8 x10 (0.10 M) = 1.8 x 10-5
(0.10 M)
pH = -log [H+] = -log (1.8 x10-5) = 4.74

31
30-Jan-24

63
สำรละลำยบัฟเฟอร์ (Buffer solution)
ตัวอย่ำงเช่น กำรเตรียมสำรละลำยบัฟเฟอร์ของสำรละลำยที่ประกอบด้วย CH3COOH
และ CH3COONa เข้มข้นอย่ำงละ 0.10 โมลำร์ (ก้ำหนดให้ KaCH3COOH = 1.8 x10-5)
- ค้ำนวณหำ pH ของสำรละลำยบัฟเฟอร์นี
วิธีท้ำ 2 CH3COOH ⇌ H+ + CH3COO-
pH = pKa - log [กรด]
[เกลือ]
= - log (1.8 x10-5) - log [0.10 M]
[0.10 M]
= 4.74 - log 1 = 4.74

64
สำรละลำยบัฟเฟอร์ (Buffer solution)
ตัวอย่ำงเช่น กำรเตรียมสำรละลำยบัฟเฟอร์ของสำรละลำยที่ประกอบด้วย CH3COOH
และ CH3COONa เข้มข้นอย่ำงละ 0.10 โมลำร์ => pH = 4.74
- เมื่อเติม HCl ลงไป 0.01 mol ในสำรละลำยบัฟเฟอร์ 1 ลิตร (ปริมำตรไม่เปลี่ยนแปลง)
pH = ?

H+ (aq) + CH3COO- (aq) → CH3COOH (aq)

[CH3COOH] เพิ่มขึน = 0.10 + 0.01 = 0.11 M [CH3COO-] ลดลง = 0.10 - 0.01 = 0.09 M
[CH3 COOH] 0.11
pH = pK a − log − = −log 1.8x10−5 − log = 4.66
[CH3 COO ] 0.09

32
30-Jan-24

65
สำรละลำยบัฟเฟอร์ (Buffer solution)
ตัวอย่ำงเช่น กำรเตรียมสำรละลำยบัฟเฟอร์ของสำรละลำยที่ประกอบด้วย CH3COOH
และ CH3COONa เข้มข้นอย่ำงละ 0.10 โมลำร์ => pH = 4.74
- เมื่อเติม NaOH ลงไป 0.01 mol ในสำรละลำยบัฟเฟอร์ 1 ลิตร (ปริมำตรไม่เปลี่ยนแปลง)
pH = ?

OH- (aq) + CH3COOH (aq) → CH3COO- (aq)

[CH3COOH] ลดลง = 0.10 - 0.01 = 0.09 M [CH3COO-] เพิ่มขึน = 0.10 + 0.01 = 0.11 M
[CH3 COOH] 0.09
pH = pK a − log = −log 1.8x10−5 − log = 4.83
[CH3 COO− ] 0.11

66
สำรละลำยบัฟเฟอร์ (Buffer solution)
สำรละลำยจะมีควำมเป็นบัฟเฟอร์สูงเมื่อ
[กรด] [เบส] 𝟏𝟎 𝟏
เมื่ออัตรำส่วน หรือ อยูร่ ะหว่าง ถึง
[เกลือ] [เกลือ] 𝟏 𝟏𝟎
(หรือ 𝟏𝟎 − 𝟎. 𝟏)

pH = pK a ± 1 หรือ pOH = pK b ± 1

33
30-Jan-24

67
กำรไทเทรตระหว่ำงกรดและเบส (Acid-Base titration)

คือจุดที่กรดและเบสท้ำปฏิกิริยำสะเทินกันพอดี

คือจุดที่อินดิเคเตอร์เปลี่ยนสี

68
กำรไทเทรตระหว่ำงกรดและเบส (Acid-Base titration)
คือจุดที่อินดิเคเตอร์เปลี่ยนสี

End point

34
30-Jan-24

69
กรำฟของกำรไทเทรต (Titration curves)

Titrant

Titrand
ปริมำตรของ Titrant

70
กรำฟของกำรไทเทรต (Titration curves)

35
30-Jan-24

71
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดแก่ - เบสแก่
เช่น กำรไทเทรต 0.10 M HCl 50.00 ml ด้วย 0.10 M NaOH
HCl + NaOH → NaCl + H2O
NaOH (ml) pH
0.00 1.00
30.00 1.60
pH
49.00 3.00 7
49.90 4.00 จุดสมมูล
49.99 5.00 pH = 7
50.00 7.00
50.01 9.00
50.10 10.00 50
ปริมาตรของ NaOH (ml)

72
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดแก่ - เบสแก่
เช่น กำรไทเทรต 0.10 M HCl 50.00 ml ด้วย 0.10 M NaOH
HCl + NaOH → NaCl + H2O
วิธีกำรค้ำนวณหำจุดสมมูล;
pH จ้ำนวนโมล HCl = จ้ำนวนโมล NaOH
7 จุดสมมูล 𝐶𝐻𝐶𝑙 𝑉𝐻𝐶𝑙 𝐶𝑁𝑎𝑂𝐻 𝑉𝑁𝑎𝑂𝐻
pH = 7 1000
=
1000
(0.10)(50.00) = 0.10 𝑉𝑁𝑎𝑂𝐻

50 𝑉𝑁𝑎𝑂𝐻 = 50.00 𝑚𝑙
ปริมาตรของ NaOH (ml) จุดสมมูล

36
30-Jan-24

73
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดอ่อน - เบสแก่
เช่น กำรไทเทรต 0.10M CH3COOH 50.00 ml ด้วย 0.10M NaOH

กรดอ่อน + เกลือของกรดอ่อน

74
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดอ่อน - เบสแก่
เช่น กำรไทเทรต 0.10M CH3COOH 50.00 ml ด้วย 0.10M NaOH

CH3COOH + NaOH → CH3COO-Na+ + H2O

จ้ำนวนโมล CH3COOH = 0.10 x 50 = 5.0 x10-3 โมล


1000
จ้ำนวนโมล OH- = 0.10 x 100010 = 1.0 x10-3 โมล

 มี CH3COO- เกิดขึน = 1.0 x10-3 โมล


ดังนัน CH3COOH เหลืออยู่ = (5.0 x10-3) - (1.0 x10-3)
= 4.0 x10-3 โมล

37
30-Jan-24

75
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดอ่อน - เบสแก่
เช่น กำรไทเทรต 0.10M CH3COOH 50.00 ml ด้วย 0.10M NaOH

CH3COOH + NaOH → CH3COO-Na+ + H2O


𝐶𝑉
จากความสัมพันธ์ 𝑛 =
1000
มี CH3COO- เกิดขึน = 1.0 x10-3 โมล
[CH3COO- ] = 1.0 x10-3 x 1000 = 0.017 M
(50+10)
CH3COOH เหลืออยู่ = 4.0 x10-3 โมล
[CH3COOH] = 4.0 x 10-3x 1000 = 0.067 M
(50+10)

76
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดอ่อน - เบสแก่
เช่น กำรไทเทรต 0.10M CH3COOH 50.00 ml ด้วย 0.10M NaOH

CH3COOH + NaOH → CH3COO-Na+ + H2O

ทรำบค่ำ Ka ของ CH3COOH = 1.8 x 10-5

จำก [H+] = Ka [กรด]


[เกลือ]
= 7.09 x10-5 M
pH = 4.15

38
30-Jan-24

77
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดอ่อน - เบสแก่
เช่น กำรไทเทรต 0.10M CH3COOH 50.00 ml ด้วย 0.10M NaOH

CH3COOH + NaOH → CH3COO-Na+ + H2O

จำนวนโมล OH- = จำนวนโมล CH3COOH = 0.10 x 50


1000
= 5.0 x10-3 โมล
 CH3COOH จะถูกเปลีย่ นเป็ น CH3COO- หมด
[CH3 COO- ] = 5.0 x 10-3 x 1000 = 0.05 M
50 + 50

78
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดอ่อน - เบสแก่
เช่น กำรไทเทรต 0.10M CH3COOH 50.00 ml ด้วย 0.10M NaOH

CH3COO- + H2O ⇌ CH3COOH + OH-


Kw
Kh = K = 5.6 x10-10
a
[CH3COOH][OH-]
=
[CH3COO-]

39
30-Jan-24

79
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดอ่อน - เบสแก่
เช่น กำรไทเทรต 0.10M CH3COOH 50.00 ml ด้วย 0.10M NaOH

CH3COO- + H2O ⇌ CH3COOH + OH-


[ ]เริ่มต้น: 0.05 M 0.00 M 0.00 M
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง: -X M +X M +X M
[ ]ที่สมดุล: 0.05-X M XM XM
0.05 > 1,000 สำมำรถประมำณค่ำได้
5.6 x10-10
 (X)(X) = 5.6 x10-10 pOH = 5.28
0.05
 pH = 8.72
X = [OH-] = 5.3 x10-6

80
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดอ่อน - เบสแก่
เช่น กำรไทเทรต 0.10M CH3COOH 50.00 ml ด้วย 0.10M NaOH

pH จะคิดได้จำก [OH-] ที่เหลือเท่ำนัน


เช่น ถ้ำใช้ NaOH 51.00 ml; [OH-] = 5.1 x10-3 โมล
ที่จุดสมมูลใช้ NaOH 50.00 ml; [OH-] = 5.0 x10-3 โมล
ดังนัน เหลือ NaOH = 1.0 x10-4 โมล
 [OH-] = 1.0 x10-4 โมล x 1000 = 9.9 x10-4 M
101 cm 3

pOH = 3.00  pH = 11.00

40
30-Jan-24

81
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดอ่อน - เบสแก่
เช่น กำรไทเทรต 0.10M CH3COOH 50.00 ml ด้วย 0.10M NaOH
จุดสมมูล NaOH (ml) pH
pH = 8.72 0.00 2.87
pH 20.00 4.57
ช่วงอินดิเคเตอร์
8.72 8.0-10.0 40.00 5.35
49.90 7.45
49.99 8.44
50.00 8.72
50 50.01 9.00
ปริมาตรของ NaOH (ml) 50.10 10.00
51.00 11.00

82
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดแก่ - เบสอ่อน
เช่น กำรไทเทรต 0.10M NH3 50.00 ml ด้วย 0.10M HCl

จุดสมมูล
pH = 5.28
pH

ช่วง
5.28 indicator
4.0-6.5

50
ปริมาตรของ HCl (ml)

41
30-Jan-24

83
กำรไทเทรตระหว่ำง กรดอ่อน - เบสอ่อน
เช่น กำรไทเทรตระหว่ำง CH3COOH – NH3
CH3COOH + NH4OH → CH3COONH4 + H2O
12.0 สารละลายบัฟเฟอร์
NH3 / CH3COONH4
10.0
8.0
pH จุดสมมูล
6.0
4.0
สารละลายบัฟเฟอร์
2.0 CH COOH / CH COONH
3 3 4
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100
ปริมาตร NH3 (ml)

84
แบบฝึกหัด
ท้ำกำรไทเทรตกรด HF เข้มข้น 0.20 M 50 ml ด้วย 0.10 M NaOH จงหำ pH เมื่อ
1) เติม NaOH ลงไป 10 ml 2) เติม NaOH ลงไป 100 ml
ก้ำหนดให้ pKa ของ HF เท่ำกับ 3.19
วิธีท้ำ 1) เติม NaOH ลงไป 10 ml

จ้ำนวนโมลของ HF =

จ้ำนวนโมลของ NaOH =

 เหลือ HF อยู่ = ________โมล และมี NaF เกิดขึน = ________ โมล

42
30-Jan-24

85
แบบฝึกหัด
ท้ำกำรไทเทรตกรด HF เข้มข้น 0.20 M 50 ml ด้วย 0.10 M NaOH จงหำ pH เมื่อ
1) เติม NaOH ลงไป 10 ml 2) เติม NaOH ลงไป 100 ml
ก้ำหนดให้ pKa ของ HF เท่ำกับ 3.19 𝐶𝑉
จากความสั มพั น ธ์ 𝑛=
วิธีท้ำ 1) เติม NaOH ลงไป 10 ml 1000
HF + NaOH → NaF + H2O
[HF] = = M

[NaF] = = M

จำก pKa = -log Ka

86
แบบฝึกหัด
ท้ำกำรไทเทรตกรด HF เข้มข้น 0.20 M 50 ml ด้วย 0.10 M NaOH จงหำ pH เมื่อ
1) เติม NaOH ลงไป 10 ml 2) เติม NaOH ลงไป 100 ml
ก้ำหนดให้ pKa ของ HF เท่ำกับ 3.19
วิธีท้ำ 1) เติม NaOH ลงไป 10 ml
HF + H2O ⇌ F- + H3O+
Ka = [H3O+][F-]
[HF ]

43
30-Jan-24

87
แบบฝึกหัด
ท้ำกำรไทเทรตกรด HF เข้มข้น 0.20 M 50 ml ด้วย 0.10 M NaOH จงหำ pH เมื่อ
1) เติม NaOH ลงไป 10 ml 2) เติม NaOH ลงไป 100 ml
ก้ำหนดให้ pKa ของ HF เท่ำกับ 3.19
วิธีท้ำ 2) เติม NaOH ลงไป 100 ml
HF + NaOH → NaF + H2O
จ้ำนวนโมลของ HF =

จ้ำนวนโมลของ NaOH =
ซึ่งมีจ้ำนวนโมลเท่ำกับ HF ที่มีอยู่  ในสำรละลำยจะเหลือแต่ NaF = _____ โมล
[NaF] =

88
แบบฝึกหัด
ท้ำกำรไทเทรตกรด HF เข้มข้น 0.20 M 50 ml ด้วย 0.10 M NaOH จงหำ pH เมื่อ
1) เติม NaOH ลงไป 10 ml 2) เติม NaOH ลงไป 100 ml
ก้ำหนดให้ pKa ของ HF เท่ำกับ 3.19
วิธีท้ำ 2) เติม NaOH ลงไป 100 ml
F- + H2O ⇌ HF + OH-
[ ]ที่สมดุล:
-
Kh = [OH -][HF] = Kw
[F ] Ka

pOH = -log[OH-] จำก pH + pOH = 14

44
30-Jan-24

89
อินดิเคเตอร์ส้ำหรับ กรด-เบส

เป็นสำรอินทรีย์สำมำรถเปลี่ยนสีได้เมื่อ pH ของสำรละลำย
เปลี่ยนแปลงไป
ตัวอินดิเคเตอร์เป็นกรดอ่อนหรือเบสอ่อนซึ่งคู่เบสหรือคู่กรดของมัน
มีสีแตกต่ำงออกไป

90
อินดิเคเตอร์ส้ำหรับ กรด-เบส

ที่สภำวะสมดุล : HIn ⇌ H+ + In-


สี1 สี2

HIn In-

45
30-Jan-24

91
อินดิเคเตอร์ส้ำหรับ กรด-เบส
ที่สภำวะสมดุล : HIn ⇌ H+ + In-

Ka = [H+][In-]
[HIn]
Ka [HIn]
[H+] =
[In-]

pH = pKIn - log [HIn]


[In-]

92
ตัวอย่ำงอินดิเคเตอร์ส้ำหรับ กรด-เบส

http://isbchem1.pbworks.com/f/FG15_13.jpg

46
30-Jan-24

93
แบบฝึกหัด
อินดิเคเตอร์ชนิดหนึ่งมีค่ำ Ka เท่ำกับ 1.0 x 10-7และช่วง pH เท่ำกับ 4.7 - 9.3
อยำกทรำบว่ำ กำรเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ชนิดนีที่ pH 4.7 และ 9.3 จะต้องมี
อัตรำส่วนระหว่ำง [In-] ต่อ [HIn] เป็นเท่ำใด
วิธีท้ำ ช่วง pH เท่ำกับ 4.7 - 9.3;
ควำมเข้มข้นของ H+ ที่ pH 4.7 มีค่ำเท่ำกับ
จำก Ka = [H+][In-]
pH = -log [H+] [HIn]
[In-] = K+a
ควำมเข้มข้นของ H+ ที่ pH 9.3 มีค่ำเท่ำกับ [HIn] [H ]

94
แบบฝึกหัด
อินดิเคเตอร์ชนิดหนึ่งมีค่ำ Ka เท่ำกับ 1.0 x 10-7และช่วง pH เท่ำกับ 4.7 - 9.3
อยำกทรำบว่ำ กำรเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ชนิดนีที่ pH 4.7 และ 9.3 จะต้องมี
อัตรำส่วนระหว่ำง [In-] ต่อ [HIn] เป็นเท่ำใด
วิธีท้ำ [In-] = K+a
[HIn] [H ]
ที่ pH 4.7 : [In-] = [HIn] > [In-]
[HIn] _____ เท่ำ

ที่ pH 9.3 : [In-] = [In-] > [HIn]


[HIn] _____ เท่ำ

47
30-Jan-24

95
แบบฝึกหัด
อินดิเคเตอร์ชนิดหนึ่งมีค่ำ Ka เท่ำกับ 1.0 X10-6เปลี่ยนสีจำกสีเหลืองเป็นสีน้ำเงิน และมี
ช่วง pH เท่ำกับ 4 - 7 อยำกทรำบว่ำจะสังเกตเห็นสีเหลืองได้ [HIn] จะต้องมำกกว่ำ [In-]
กี่เท่ำเป็นอย่ำงน้อยที่สุด
วิธีท้ำ ที่ค่ำ pH เท่ำกับ 4 คือ
[H+] ที่ pH 4; pH = -log [H+]
HIn ⇌ H+ + In-
Ka = [H+][In-] Ka = [In-]
[HIn] [H+] [HIn]
[In-] =
[HIn]
ดังนัน [HIn] ต้องมำกกว่ำ [In-] อย่ำงน้อย ________ เท่ำ

96
แบบฝึกหัด
อินดิเคเตอร์ชนิดหนึ่งมีค่ำ Ka เท่ำกับ 3.0 x 10-5 อยำกทรำบว่ำ pH จะเปลี่ยนแปลง
ไปเท่ำไร ถ้ำอินดิเคเตอร์เปลี่ยนจำกสีแดง 75% ไปเป็นสีน้ำเงิน 75%
วิธีท้ำ จะได้ว่ำ [H+] = [HIn] -Ka
[In ]
อินดิเคเตอร์มีสีแดง (75%)

อินดิเคเตอร์มีสีน้ำเงิน (75%)

ดังนัน pH เปลี่ยนแปลงไป =

48
30-Jan-24

97
ผลของไอออนร่วมในสำรละลำยกรดอ่อน-เบสอ่อน
ตัวอย่ำง จะต้องเติม NaCN กี่โมลลงในสำรละลำย 0.2 M HCN 1 ลิตร จึงจะท้ำให้
สำรละลำยมีควำมเข้มข้นของ H+ เท่ำกับ 1.0 x10-6 M
ก้ำหนดให้ Ka ของ HCN = 4.0 x10-10
วิธีท้ำ HCN ⇌ H+ + CN-
[ ]เริ่มต้น: 0.2 M 0.00 M XM
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง: - 1 x10 M + 1 x10 M 1 x10-6 M
-6 -6

[ ]ที่สมดุล:  0.2 M 1 x10-6 M X M


-6
-10 = [X][1 x10 ]
- +
[CN -][H+]
4 x10 -10 = [CN ][H ] 4 x10
Ka = [HCN] 0.2
[HCN]
X = [CN-] = 8 x10-5 M  จะต้องเติม NaCN = 8 x10-5 โมล

98
ผลของไอออนร่วมในสำรละลำยกรดอ่อน-เบสอ่อน
โดยปกติจะใช้สำรละลำยอิ่มตัวของ H2S (0.10 M)
H2S ⇌ H+ + HS-
HS- ⇌ H+ + S2-
จะเห็นว่ำ [S2-] ขึนอยูก่ ับ
H2S ⇌ 2H + S + 2-
[H+] ตำมสมดุล
+ 2 2- โดยปกติจะใช้สำรละลำยอิ่มตัวของ H2S (0.10 M)
Ka = [H ] [S ] = 1.1 x10-21
[H2S] [H+]2[S2-] = 1.1 x10-21
0.10
[H+]2[S2-] = 1.1 x10-22

49
30-Jan-24

99
แบบฝึกหัด
จงหำ [S2-] ในสำรละลำยอิ่มตัวของ H2S (0.10 M) ซึ่งได้ปรับ pH = 2 โดยใช้ HCl
ก้ำหนดค่ำ Ka = 1.1 x10-21
วิธีท้ำ

100
สมดุลของสำรที่ละลำยน้ำได้น้อยมำก
ส่วนที่ละลำยได้ถึงแม้จะเล็กน้อยแต่แตกตัวเป็นไอออนได้หมด และ
เกิดสมดุลระหว่ำงไอออนในสำรละลำยอิ่มตัวกับของแข็งที่ไม่ละลำย

Ag+ - สำรละลำย AgCl (s) ⇌ Ag+ (aq) + Cl- (aq)


Cl
อิ่มตัว ของแข็ง ไอออน

ตะกอน AgCl

50
30-Jan-24

101
สมดุลของสำรที่ละลำยน้ำได้น้อยมำก
AgCl (s) ⇌ Ag+ (aq) + Cl- (aq)
[Ag+][Cl-]
K = [AgCl]
เมื่อให้ K [AgCl(s)] = Ksp
Ksp = [Ag+][Cl-]
Ksp คือ ค่ำคงที่ผลคูณกำรละลำย

102
สมดุลของสำรที่ละลำยน้ำได้น้อยมำก
CaF2 (s) ⇌ Ca2+ (aq) + 2F- (aq)
Ksp = [Ca2+][F-]2

Ksp ต่้ำมำก ละลำยน้ำได้น้อยมำก


Ksp จึงสำมำรถใช้บอกสภำพละลำยได้ของสำรว่ำเป็นอย่ำงไร
Ksp ขึนอยู่กับ อุณหภูมิ

51
30-Jan-24

103
สมดุลของสำรที่ละลำยน้ำได้น้อยมำก

http://boomeria.org/chemlectures/textass2/ksptable.jpg

104
สมดุลของสำรที่ละลำยน้ำได้น้อยมำก
กำรละลำย
มำก
น้อย
Ksp; AgCl > AgBr > AgI

กำรละลำย; AgCl > AgBr > AgI


***จะเปรียบเทียบกำรละลำยจำกค่ำ Ksp ได้ต้องเป็นสำรที่มีสูตรเคมีคล้ำยๆกัน
(กำรแตกตัวเป็นไอออนคล้ำยๆกัน)***

52
30-Jan-24

105
แบบฝึกหัด
จงหำค่ำ Ksp ของ BaSO4 เมื่อกำรทดลองพบว่ำควำมสำมำรถในกำรละลำย
ของ BaSO4 เท่ำกับ 3.91 x 10-5 mol/dm3
วิธีท้ำ
จำกโจทย์ BaSO4 ละลำยได้ 3.91 x 10-5 M
 [Ba2+] = __________M และ [SO42-] = __________ M
จำก

106
แบบฝึกหัด
ควำมสำมำรถในกำรละลำยของ Pb(IO3)2 ที่ 25 oC เท่ำกับ 4.0 x10-5 M
จงหำค่ำ Ksp ของ Pb(IO3)2
วิธีท้ำ

จำกโจทย์ Pb(IO3)2 ละลำยได้ 4.0 x 10-5 M  [Pb2+] = _______ M

ดังนัน [IO3-] =
 [Pb2+] = ________ M และ [IO3-] = ________ M
Ksp = Ksp = __________

53
30-Jan-24

107
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำสภำพละลำยได้ในหน่วยโมลำร์ของ AgCl ในน้ำที่ 25oC
ก้ำหนดให้ Ksp AgCl = 1.7 x 10-10
วิธีท้ำ
[ ]เริ่มต้น:
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง:
[ ]ที่สมดุล:

สภำพละลำยได้ของ AgCl = ___________M

108
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำควำมเข้มข้นของ Ag+ และ CrO42- ในสำรละลำยอิ่มตัวของ Ag2CrO4
ก้ำหนดให้ Ksp Ag2CrO4 = 1.9 x10-12
วิธีท้ำ สมกำรดุล?
[ ]ที่สมดุล:

[Ag+] = __________ M

54
30-Jan-24

109
แบบฝึกหัด
ค่ำ Ksp ของ PbI2 และ NiCO3 เท่ำกับ 8.3 x10-9 และ 1.4 x10-7 ตำมล้ำดับ
สำรประกอบใดจะสำมำรถละลำยน้ำได้ดีกว่ำกัน
วิธีท้ำ PbI2 ;
[ ]ที่สมดุล:

PbI2 (s) แตกตัวได้ Pb2+ = _________และ I- = _________

110
แบบฝึกหัด
ค่ำ Ksp ของ PbI2 และ NiCO3 เท่ำกับ 8.3 x10-9 และ 1.4 x10-7 ตำมล้ำดับ
สำรประกอบใดจะสำมำรถละลำยน้ำได้ดีกว่ำกัน
วิธีท้ำ NiCO3;
[ ]ที่สมดุล:

NiCO3 (s) แตกตัวได้ Ni2+ และ CO32- = _____________M

55
30-Jan-24

111
แบบฝึกหัด
ค่ำ Ksp ของ PbI2 และ NiCO3 เท่ำกับ 8.3 x10-9 และ 1.4 x10-7 ตำมล้ำดับ
สำรประกอบใดจะสำมำรถละลำยน้ำได้ดีกว่ำกัน
วิธีท้ำ PbI2 ; PbI (s) ⇌ Pb2+ (aq) + 2I- (aq)
2
PbI2 (s) แตกตัวได้ Pb2+ = _________ M และ I- = _________ M

NiCO3; NiCO3 (s) ⇌ Ni2+ (aq) + CO32- (aq)


NiCO3 (s) แตกตัวได้ Ni2+ และ CO32- = _________ M

 PbI2 จะละลำยน้ำได้______ NiCO3

112
กำรตกตะกอน (Precipitation)

Solubility Product Constant


เช่น ในสำรละลำยอิ่มตัว AgCl;
AgCl (s) ⇌ Ag+ (aq) + Cl- (aq)
Ksp = [Ag+][Cl-] เรียกว่ำ
ในสำรละลำยอิ่มตัว Ag2CrO4; “ผลคูณไอออน”
Ag2CrO4 (s) ⇌ 2Ag+ (aq) + CrO42- (aq)
Ksp = [Ag+]2[CrO42-]

56
30-Jan-24

113
กำรตกตะกอน (Precipitation)
ผลคูณไอออน < Ksp ไม่เกิดตะกอน

ผลคูณไอออน = Ksp ไม่เกิดตะกอน


(เป็นจุดเริ่มต้นกำรเกิดตะกอน)
ผลคูณไอออน > Ksp เกิดตะกอน

114
กำรตกตะกอน (Precipitation)
เช่น สมมติว่ำสำรละลำยมี [Ag+] = 1.4 x10-7 M
Ksp ของ AgCl = 1.7 x 10-10
AgCl (s) ⇌ Ag+ (aq) + Cl- (aq) ผลคูณไอออน = [Ag+][Cl-]
ที่สมดุล; Ksp = [Ag+][Cl-]
เพื่อรักษำสมดุล [Cl-] = Ksp = 1.7 x 10-10 = 1.2 x 10-3 M
[Ag+] 1.4 x 10-7
1.2 x 10-3 M เป็นควำมเข้มข้นสูงสุดของ Cl- ที่จะมีอยู่ได้ในสำรละลำยนัน
โดยไม่ท้ำให้เกิดตะกอน
ถ้ำ [Cl-] ที่เติมมีค่ำมำกกว่ำ 1.2 x 10-3 M
เกิดตะกอน
จะท้ำให้ผลคูณไอออน > Ksp

57
30-Jan-24

115
แบบฝึกหัด
เมื่อผสมสำรละลำย 0.0030 M Pb(NO3)2 0.10 L กับสำรละลำย 0.0400 M
Na2SO4 0.40 L จะเกิดตะกอนของ PbSO4 หรือไม่
ก้ำหนด Ksp ของ PbSO4 = 2.0 x10-8
วิธีท้ำ PbSO4 (s) ⇌ Pb2+(aq) + SO42-(aq)
ต้องค้ำนวณหำผลคูณไอออน แล้วน้ำมำเปรียบเทียบกับค่ำ Ksp
ผลคูณไอออน < Ksp ไม่เกิดตะกอน
ผลคูณไอออน = Ksp ไม่เกิดตะกอน
ผลคูณไอออน > Ksp เกิดตะกอน

116
แบบฝึกหัด
เมื่อผสมสำรละลำย 0.0030 M Pb(NO3)2 0.10 L กับสำรละลำย 0.0400 M
Na2SO4 0.40 L จะเกิดตะกอนของ PbSO4 หรือไม่
ก้ำหนด Ksp ของ PbSO4 = 2.0 x10-8
วิธีท้ำ PbSO4 (s) ⇌ Pb2+(aq) + SO42-(aq)
ผลคูณไอออน = [Pb2+][SO42-]
ค้ำนวณหำ [Pb2+] และ [SO42-] ในสำรละลำยรวม (ปริมำตรรวม)
0.0030 M Pb(NO3)2 0.10 L
ปริมำตรรวม = 0.10 + 0.40 = 0.50 L
0.0400 M Na2SO4 0.40 L

58
30-Jan-24

117
แบบฝึกหัด
เมื่อผสมสำรละลำย 0.0030 M Pb(NO3)2 0.10 L กับสำรละลำย 0.0400 M
Na2SO4 0.40 L จะเกิดตะกอนของ PbSO4 หรือไม่
ก้ำหนด Ksp ของ PbSO4 = 2.0 x10-8
วิธีท้ำ PbSO4 (s) ⇌ Pb2+(aq) + SO42-(aq)
ค้ำนวณหำ [Pb2+]; 0.0030 M Pb(NO3)2 0.10 L ในปริมำตร 0.50 L
C1V1 = C2V2

 ควำมเข้มข้นของ Pb2+ = __________ M

118
แบบฝึกหัด
เมื่อผสมสำรละลำย 0.0030 M Pb(NO3)2 0.10 L กับสำรละลำย 0.0400 M
Na2SO4 0.40 L จะเกิดตะกอนของ PbSO4 หรือไม่
ก้ำหนด Ksp ของ PbSO4 = 2.0 x10-8
วิธีท้ำ PbSO4 (s) ⇌ Pb2+(aq) + SO42-(aq)
ค้ำนวณหำ [SO42-]; 0.0400 M Na2SO4 0.40 L ในปริมำตร 0.50 L
C1V1 = C2V2

 ควำมเข้มข้นของ SO42- = __________ M

59
30-Jan-24

119
แบบฝึกหัด
เมื่อผสมสำรละลำย 0.0030 M Pb(NO3)2 0.10 L กับสำรละลำย 0.0400 M
Na2SO4 0.40 L จะเกิดตะกอนของ PbSO4 หรือไม่
ก้ำหนด Ksp ของ PbSO4 = 2.0 x10-8
วิธีท้ำ PbSO4 (s) ⇌ Pb2+(aq) + SO42-(aq)
[Pb2+] = 6.0 x 10-4 M [SO42- ] = 3.2 x 10-2 M
ผลคูณไอออน = [Pb2+][SO42-]

Ksp ของ PbSO4 = 2.0 x10-8


 ผลคูณไอออน ____ Ksp
ดังนัน _________กำรตกตะกอนของ PbSO4

120
แบบฝึกหัด
ในสำรละลำยซึ่งประกอบด้วย Sn2+ และ Zn2+ อย่ำงละ 0.1 M ในสำรละลำยอิ่มตัว
ของ H2S (0.1 M) จงหำควำมเข้มข้นของ H+ ที่สำมำรถท้ำให้ไอออนใดไอออน
หนึ่งเท่ำนันที่ตกตะกอนเป็นเกลือซัลไฟด์
ก้ำหนดให้ Ksp ของ SnS = 1.0 x10-26
Ksp ของ ZnS = 1.2 x10-23
Ka ของ H2S = 1.1 x10-21
วิธีท้ำ

หำ [S2-] ที่ท้ำให้เกลือเริ่มตกตะกอน
นั่นคือ หำ [S2-] ขณะที่ผลคูณไอออน = Ksp

60
30-Jan-24

121
แบบฝึกหัด
ในสำรละลำยซึ่งประกอบด้วย Sn2+ และ Zn2+ อย่ำงละ 0.1 M ในสำรละลำยอิ่มตัว
ของ H2S (0.1 M) จงหำควำมเข้มข้นของ H+ ที่สำมำรถท้ำให้ไอออนใดไอออน
หนึ่งเท่ำนันที่ตกตะกอนเป็นเกลือซัลไฟด์
วิธีท้ำ หำ [S2-] ที่ท้ำให้ SnS เริ่มตกตะกอน
SnS (s) ⇌ Sn2+ (aq) + S2- (aq)
ก้ำหนดให้ Ksp ของ SnS = 1.0 x 10-26

ถ้ำ [S2-] > _________ M จะท้ำให้ SnS ตกตะกอน

122
แบบฝึกหัด
ในสำรละลำยซึ่งประกอบด้วย Sn2+ และ Zn2+ อย่ำงละ 0.1 M ในสำรละลำยอิ่มตัว
ของ H2S (0.1 M) จงหำควำมเข้มข้นของ H+ ที่สำมำรถท้ำให้ไอออนใดไอออน
หนึ่งเท่ำนันที่ตกตะกอนเป็นเกลือซัลไฟด์
วิธีท้ำ หำ [S2-] ที่ท้ำให้ ZnS เริ่มตกตะกอน
ZnS (s) ⇌ Zn2+ (aq) + S2- (aq)
ก้ำหนดให้ Ksp ของ ZnS = 1.2 x10-23

ถ้ำ [S2-] > _________ M จะท้ำให้ ZnS ตกตะกอน

61
30-Jan-24

123
แบบฝึกหัด
ในสำรละลำยซึ่งประกอบด้วย Sn2+ และ Zn2+ อย่ำงละ 0.1 M ในสำรละลำยอิ่มตัว
ของ H2S (0.1 M) จงหำควำมเข้มข้นของ H+ ที่สำมำรถท้ำให้ไอออนใดไอออน
หนึ่งเท่ำนันที่ตกตะกอนเป็นเกลือซัลไฟด์
วิธีท้ำ หำ [S2-] ที่ท้ำให้ SnS และ ZnS เริ่มตกตะกอน
ถ้ำ [S2-] > _________ M จะท้ำให้ SnS ตกตะกอน
ถ้ำ [S2-] > _________ M จะท้ำให้ ZnS ตกตะกอน
 SnS ตกตะกอน _____ ZnS เพรำะใช้ [S2-] ______
ถ้ำ ________< [S2-] ≤ ________
เฉพาะ ________ เท่านั้นที่จะตกตะกอน

124
แบบฝึกหัด
ในสำรละลำยซึ่งประกอบด้วย Sn2+ และ Zn2+ อย่ำงละ 0.1 M ในสำรละลำยอิ่มตัว
ของ H2S (0.1 M) จงหำควำมเข้มข้นของ H+ ที่สำมำรถท้ำให้ไอออนใดไอออน
หนึ่งเท่ำนันที่ตกตะกอนเป็นเกลือซัลไฟด์
วิธีท้ำ H2S (aq) ⇌ 2H+ (aq) + S2- (aq) Ka = [H+]2[S2-]
[H2S]
ก้ำหนดให้ Ka ของ H2S = 1.1 x10-21

ถ้ำ [S2-] = 1.0 x10-25 M จะท้ำให้ SnS เริ่มตกตะกอน


จำกโจทย์ [H2S] = 0.1 M

62
30-Jan-24

125
แบบฝึกหัด
ในสำรละลำยซึ่งประกอบด้วย Sn2+ และ Zn2+ อย่ำงละ 0.1 M ในสำรละลำยอิ่มตัว
ของ H2S (0.1 M) จงหำควำมเข้มข้นของ H+ ที่สำมำรถท้ำให้ไอออนใดไอออน
หนึ่งเท่ำนันที่ตกตะกอนเป็นเกลือซัลไฟด์
วิธีท้ำ ถ้ำ 1.0 x10-25 < [S2-] ≤ 1.2 x 10-22
เฉพาะ SnS เท่านั้นที่จะตกตะกอน
เพื่อป้องกันไม่ให้ ZnS ตกตะกอน [S2-] ≤ 1.2 x10-22 M

จะท้ำให้เฉพำะ _________ เท่ำนันที่จะตกตะกอน

126
แบบฝึกหัด
เติม 0.010 โมลของ Fe(OH)2 (s) ลงในน้ำ 1 ลิตร แล้วเติมกรดแก่ลงไปจนกระทั่ง
Fe(OH)2 ละลำยหมด (โดยสมมติว่ำปริมำตรของสำรละลำยไม่เปลี่ยนแปลง) อยำก
ทรำบว่ำ Fe(OH)2 จะละลำยหมดที่ pH เท่ำกับเท่ำใด ?
วิธีท้ำ ก้ำหนด Ksp ของ Fe(OH)2 = 8.0 x10-16

pOH = -log[OH-]

pH + pOH = 14

63
30-Jan-24

127
ผลของไอออนร่วมต่อสภำพละลำยได้

เช่น เติม NaCl ลงในสำรละลำย AgCl


AgCl (s) ⇌ Ag+ (aq) + Cl- (aq)
จำก NaCl; ไอออนร่วม คือ Cl- ที่ได้เพิ่มจำก NaCl
Cl- ส่งผลให้สมดุลของกำรละลำยเลื่อนไปทำงซ้ำย
ปรำกฏกำรณ์นีเรียกว่ำ ผลของไอออนร่วม

128
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำสภำพละลำยได้ของ AgCl ในสำรละลำย 0.010 M NaCl
ก้ำหนด Ksp ของ AgCl = 1.7 x10-10
วิธีท้ำ
[ ]เริ่มต้น:
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง:
[ ]ที่สมดุล:
0.01
สำมำรถประมำณค่ำได้ > 1,000
1.7 x10-10

64
30-Jan-24

129
แบบฝึกหัด
จงค้ำนวณหำสภำพละลำยได้ของ AgCl ในสำรละลำย 0.010 M NaCl
ก้ำหนด Ksp ของ AgCl = 1.7 x10-10
วิธีท้ำ AgCl (s) ⇌ Ag+ (aq) + Cl- (aq)
[ ]ที่สมดุล: XM 0.01

สภำพละลำยได้ของ AgCl = ___________M


สภำพละลำยได้ของ AgCl ที่ไม่มี Cl- = 1.3 x10-5 M
X2 = 1.7 x10-10 ; X = 1.7x10 = 1.30x10-5
−10

130
แบบฝึกหัด
จงหำควำมสำมำรถในกำรละลำยของ Mg(OH)2 ในสำรละลำย 0.10 M NaOH
ก้ำหนด Ksp = 1.2 x10-11
วิธีท้ำ
[ ]เริ่มต้น:
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง:
[ ]ที่สมดุล:
0.1
> 1,000
1.2 x10-11
สำมำรถประมำณค่ำได้

65
30-Jan-24

131
แบบฝึกหัด
จงหำควำมสำมำรถในกำรละลำยของ Mg(OH)2 ในสำรละลำย 0.10 M NaOH
ก้ำหนด Ksp = 1.2 x10-11
วิธีท้ำ Mg(OH)2 (s) ⇌ Mg2+ (aq) + 2OH- (aq)
[ ]ที่สมดุล: XM 0.10 M

ควำมสำมำรถในกำรละลำยของ Mg(OH)2
ในสำรละลำย 0.10 M NaOH = __________ M

132
แบบฝึกหัด
สำรละลำยอิ่มตัวของ H2S (0.10 M) ประกอบด้วย Zn2+ และ Fe2+ เข้มข้น
ชนิดละ 0.10 M จงหำควำมเข้มข้นของ S2- เพื่อที่จะแยกไอออนทังสองออก
จำกกัน
ก้ำหนดให้ Ksp ของ ZnS = 1.1 x10-23 Ksp ของ FeS = 4.4 x10-19
วิธีท้ำ หำ [S2-] ที่ท้ำให้ ZnS และ FeS เริ่มตกตะกอน
[Zn2+] = 0.10 M

[S2-] ที่ท้ำให้ ZnS เริ่มตกตะกอน = __________

66
30-Jan-24

133
แบบฝึกหัด
สำรละลำยอิ่มตัวของ H2S (0.10 M) ประกอบด้วย Zn2+ และ Fe2+ เข้มข้น
ชนิดละ 0.10 M จงหำควำมเข้มข้นของ S2- เพื่อที่จะแยกไอออนทังสองออก
จำกกัน
ก้ำหนดให้ Ksp ของ ZnS = 1.1 x10-23 Ksp ของ FeS = 4.4 x10-19
วิธีท้ำ หำ [S2-] ที่ท้ำให้ ZnS และ FeS เริ่มตกตะกอน
[Fe2+] = 0.10 M

[S2-] ที่ท้ำให้ FeS เริ่มตกตะกอน = __________

134
แบบฝึกหัด
สำรละลำยอิ่มตัวของ H2S (0.10 M) ประกอบด้วย Zn2+ และ Fe2+ เข้มข้น
ชนิดละ 0.10 M จงหำควำมเข้มข้นของ S2- เพื่อที่จะแยกไอออนทังสองออก
จำกกัน
ก้ำหนดให้ Ksp ของ ZnS = 1.1 x10-23 Ksp ของ FeS = 4.4 x10-19
วิธีท้ำ
[S2-] ที่ท้ำให้ ZnS เริ่มตกตะกอน =
[S2-] ที่ท้ำให้ FeS เริ่มตกตะกอน =
[S2-] ที่ท้ำให้ ZnS เริ่มตกตะกอน แต่ FeS ยังไม่ตกตะกอน คือ
__________ < [S2-]  __________

67
30-Jan-24

135
แบบฝึกหัด
จงหำควำมเข้มข้นของ [Ag+] เมื่อน้ำ AgCl มำละลำยใน 0.10 M BaCl2
ก้ำหนดให้ Ksp ของ AgCl = 1.0 x10-10
วิธีท้ำ
จำก BaCl2; ไอออนร่วม คือ Cl- ที่ได้เพิ่มจำก BaCl2

[ ]เริ่มต้น:
[ ]ที่เปลี่ยนแปลง:
[ ]ที่สมดุล:
0.20 > 1,000
สำมำรถประมำณค่ำได้
1.0 x10-10

136
แบบฝึกหัด
จงหำควำมเข้มข้นของ [Ag+] เมื่อน้ำ AgCl มำละลำยใน 0.10 M BaCl2
ก้ำหนดให้ Ksp ของ AgCl = 1.0 x10-10
วิธีท้ำ AgCl (s) ⇌ Ag+ (aq) + Cl- (aq) Ksp = [Ag+][Cl-] = 1.0 x 10-10
[ ]ที่สมดุล: XM 0.20 M

[Ag+] = _______ M

68
30-Jan-24

137
แบบฝึกหัด
สำรละลำยชนิดหนึ่งมี Sn2+ และ Zn2+ อย่ำงละ 0.001 M และอิ่มตัวด้วย H2S 0.1
M เติม HCl ลงไปจนสำรละลำยมี pH เท่ำกับ 1.0 จำกกำรทดลองนีจะเกิดตะกอน
หรือไม่ และถ้ำเกิดตะกอนขึนจะเป็นตะกอนของสำรใด
ก้ำหนดให้ Ksp ของ ZnS = 1.2 x10-22 Ksp ของ SnS = 1.0 x10-25
Ka ของ H2S = 1.0 x10-21
วิธีท้ำ H2S (aq) ⇌ 2H+ (aq) + S2- (aq)
+ 2 2-
pH =1 Ka = 1.1 x10-21 = [H ] [S ]
[H+] = ________ M [H2S]

[S2-] =

138
แบบฝึกหัด
สำรละลำยชนิดหนึ่งมี Sn2+ และ Zn2+ อย่ำงละ 0.001 M และอิ่มตัวด้วย H2S 0.1
M เติม HCl ลงไปจนสำรละลำยมี pH เท่ำกับ 1.0 จำกกำรทดลองนีจะเกิดตะกอน
หรือไม่ และถ้ำเกิดตะกอนขึนจะเป็นตะกอนของสำรใด
วิธีท้ำ กรณี ZnS; Ksp = [Zn2+][S2-] = 1.2 x 10-22

[S2-] จะต้องมำกกว่ำ ________ ZnS จึงตกตะกอน


กรณี SnS;

[S2-] จะต้องมำกกว่ำ ________ SnS จึงตกตะกอน


แต่ [S2-] = ________ ดังนัน ______เท่ำนันทีต่ กตะกอน

69
23-Jan-24

ธาตุเรพริเซนเททีฟ
Representative elements
รศ.ดร.พัชรีนารถ ทรัพย์อาภากร

01403117 หลักมูลเคมีท่วั ไป

1
23-Jan-24

2
23-Jan-24

3
23-Jan-24

อโลหะ
กึง่ โลหะ อโลหะ

โลหะ

โลหะ

4
23-Jan-24

ธาตุเรพริเซนเททีฟ, ธาตุแทรนซิชัน และ ธาตุอนิ เนอร์แทรนซิชัน


มีอยู่ประมาณร้ อยละ 75 ของธาตุท้งั หมด

มีท้งั หมด 7 ธาตุ

10

5
23-Jan-24

11

12

6
23-Jan-24

13

เป็ นการเตรียมแร่ให้ อยู่ในสภาพที่เหมาะสมสาหรับขั้นตอนต่อไป โดยการบดสินแร่ให้


ละเอียดแล้ วแยกสินแร่ออกจากสิ่งเจือปน โดยมีวิธกี ารหลายวิธี เช่น
- การลอยตัว (Floatation) บดสินแร่แล้ วผสมกับ
นา้ + นา้ มัน + สารซักล้ าง ตีเป็ นฟอง สินแร่จะ
ลอยตัวอยู่ด้านบนโดยเกาะกับฟองนา้ ซึ่งแยกจากนา้
และสารเจือปนจะจมอยู่ด้านล่าง
- การใช้ แม่เหล็กไฟฟ้ ากาลังสูงดึงดูดโลหะแยกสินแร่ออกมา
- การใช้ Hg ละลายโลหะอื่น เช่น Ag หรือ Cu ได้ โลหะ
ผสมแยกออกจากสิ่งเจือปน
- การเผาไล่นา้ สาหรับสินแร่ท่มี ผี ลึก 14

7
23-Jan-24

ใช้ วิธที างเคมีแบ่งออกเป็ น 3 วิธี


- การสกัดโดยใช้ ความร้ อน (วิธยี ่าง และ วิธถี ลุง)
- การสกัดโดยใช้ สารละลาย
- การสกัดโดยใช้ วิธอี เิ ล็กโทรไลซิส

15

- การสกัดโดยใช้ความร้อน (วิธีย่าง และ วิธีถลุง)

16

8
23-Jan-24

- การสกัดโดยใช้ความร้อน (วิธีย่าง และ วิธีถลุง)


• ในการถลุงโดยทั่วไปจะเติม ฟลักซ์ (Flux) เช่น CaCO3 ลงไปด้ วย
เพื่อรวมกับสิ่งเจือปน เช่น ซิลิกาและซิลเิ กตในแร่ เกิดเป็ น กากถลุง (slag) ซึ่งเป็ นของแข็ง
และสามารถแยกออกจากโลหะหลอมเหลวที่ต้องการได้

ตัวอย่าง ปฏิกิริยาเกิดกากถลุง CaSiO3 โดยใช้ฟลักซ์ CaCO3

17

- การสกัดโดยใช้สารละลาย (hydrometallurgy)
โดยวิธชี ะละลาย (leaching) เป็ นการใช้ สารเคมีท่เี หมาะสมละลายโลหะออกจากสินแร่
เช่น สกัด Cu ออกจากสินแร่โดยใช้ dil. H2SO4

เช่น สกัด Au ออกจากสินแร่ท่มี คี ุณภาพต่า โดยใช้ CN- (Gold cyanidation)

electrolysis
Au(s)
18

9
23-Jan-24

- การสกัดโดยใช้วิธีอิเล็กโทรไลซิส (electrolysis)
• วิธนี ้ ใี ช้ กบั โลหะที่มี Eo น้ อย (หมู่ IA, IIA) ซึ่งเกิดปฏิกริ ิยารีดกั ชันเพื่อให้ ได้
โลหะยากจึงใช้ อิเล็กโทรไลซิส
เช่น อิเล็กโทรไลซิส NaCl หลอมเหลวได้ Na(l) ที่ข้วั แคโทด และ Cl2(g) ที่ข้วั แอโนด
วิธนี ้ นี ิยมใช้ ในการเตรียม Na ในอุตสาหกรรม โดยใช้ เซลล์ไฟฟ้ าชื่อ ดาวน์เซลล์ (down cell)

19

มีหลายวิธขี ้ นึ กับชนิดของโลหะ และขึ้นอยู่กบั การนาไปใช้ ประโยชน์ ที่นิยมมี 3 วิธี คือ


- การกลั่นลาดับส่วน
- การทาอิเล็กโทรไลซิส
- การทาโซนรีไฟนิ่ง

20

10
23-Jan-24

มีหลายวิธขี ้ นึ กับชนิดของโลหะ และขึ้นอยู่กบั การนาไปใช้ ประโยชน์ ที่นิยมมี 3 วิธี คือ


- การกลันล
่ าดับส่วน
ใช้ แยกโลหะที่มีจุดเดือดต่า เช่น ปรอท สังกะสี และแมกนีเซียม ออกจากโลหะอื่นด้ วยการ
กรรมวิธกี ารกลั่นลาดับส่วน ซึ่งเป็ นการแยกเอาโลหะแต่ละชนิดออกจากกันโดยอาศัยความ
แตกต่างของจุดเดือด

21

มีหลายวิธขี ้ นึ กับชนิดของโลหะ และขึ้นอยู่กบั การนาไปใช้ ประโยชน์ ที่นิยมมี 3 วิธี คือ


- การทาอิเล็กโทรไลซิ ส
• จะใช้ โลหะที่ต้องการทาให้ บริสุทธิ์เป็ นขั้วบวก (Anode) แล้ วใช้ สารละลายอิเล็กโทรไลต์เป็ น
ตัวกลางเพื่อนาอิออนของโลหะไปเกาะที่ข้วั ลบ (Cathode)
• ดังนั้นเมื่อโลหะที่ข้วั บวกละลายหมดไปโลหะที่ไปเกาะที่ข้วั ลบจะเป็ นโลหะที่มีความบริสุทธิ์สูง
(> 99.5%) ส่วนโลหะเจือปนต่างๆ จะทาปฏิกริ ิยากับสารละลายอิเล็กโทรไลต์และถูกละลายอยู่
ในสารละลายหรือบางส่วนจะตกตะกอนอยู่ท่สี ่วนล่างของบ่อเซลล์ไฟฟ้ า

22

11
23-Jan-24

มีหลายวิธขี ้ นึ กับชนิดของโลหะ และขึ้นอยู่กบั การนาไปใช้ ประโยชน์ ที่นิยมมี 3 วิธี คือ


- การทาโซนรีไฟนิง่
• วิธนี ้ ีจะใช้ แท่งโลหะที่ไม่บริสุทธิ์เคลื่อนผ่านขดลวดความร้ อน
ซึ่งมีอุณหภูมิสูง ทาให้ แท่งโลหะเกิดการหลอมเหลว โลหะเจือ
ปนจะหลอมละลายอยู่ในส่วนที่เป็ นของเหลว
• เมื่อแท่งโลหะเคลื่อนที่ผ่านออกจากขดลวดความร้ อนโลหะจะ
มีอุณหภูมิต่าลงและตกผลึกเป็ นโลหะบริสุทธิ์ ส่วนโลหะเจือปน
จะยังคงตกค้ างอยู่ในส่วนที่เป็ นของเหลวในบริเวณขด
ลวดความร้ อน
• ท้ายที่สุดสารเจือปนส่วนใหญ่จะรวมตัวกันอยู่ท่สี ่วนท้ายของ
แท่งโลหะซึ่งเมื่อเย็นตัวลงก็สามารถตัดโลหะส่วนที่ไม่บริสุทธิ์น้ ี
23
ออกไปได้

24

12
23-Jan-24

Rb

25

26

13
23-Jan-24

27

28

14
23-Jan-24

29

ประโยชน์ของเปอร์ออกไซด์และซุปเปอร์ออกไซด์ คือ

CuCl2

30

15
23-Jan-24

31

32

16
23-Jan-24

- เกลือแอลคาไลเป็ นสารประกอบไอออนซึ่งละลายนา้ ได้ ดีเป็ นส่วนใหญ่


- โดยปริมาณการละลายขึ้นกับพลังงานแลตทิซ (Hlattice, Hlatt) และ
พลังงานไฮเดรชัน (Hhydration, Hhyd)

33

- เกลือแอลคาไลเป็ นสารประกอบไอออนซึ่งละลายนา้ ได้ ดีเป็ นส่วนใหญ่


- โดยปริมาณการละลายขึ้นกับพลังงานแลตทิซ (Hlattice, Hlatt) และ
พลังงานไฮเดรชัน (Hhydration, Hhyd)

34

17
23-Jan-24

ขนาดใหญ่ขึ้น ขนาดใหญ่ขึ้น
➔ Hlatt เป็ น + น้อยลง ➔ Hhyd เป็ น - น้อยลง
ผลของ
ขนาดและ
จานวนประจุ 35

- สภาพละลายได้ และขนาดของ r+ และ r-

36

18
23-Jan-24

- สภาพละลายได้ และขนาดของ r+ และ r-

สรุปได้ว่า
“เกลือที่มีไอออนบวกและไอออนลบที่มีขนาดแตกต่างกัน
จะมีสภาพละลายได้ มากกว่าเมื่อมีขนาดใกล้ เคียงกัน”
37

- สภาพละลายได้ และขนาดของ r+ และ r-

38

19
23-Jan-24

39

การเตรียมโซดาแอซ
ในอุตสาหกรรมใช้ Solvay process โดยผ่าน NH3 และ CO2 ลงในนา้ เกลือ

NaHCO3 - ผงฟู

40

20
23-Jan-24

41

Ra

42

21
23-Jan-24

43

44

22
23-Jan-24

ธาตุเป็ น
ตัวรีดวิ ซ์

แสดงความเป็ นเบสของ
โลหะออกไซด์

แสดงความไม่เสถียรของเกลือคาร์บอเนต
45

46

23
23-Jan-24

47

48

24
23-Jan-24

49

เกลือแอลคาไลน์เอิร์ทที่สาคัญ ได้ แก่ คาร์บอเนต ซัลเฟต ออกไซด์ ไฮดรอกไซด์ และ


ฟลูออไรด์ เป็ นเกลือละลายนา้ ได้ น้อย (ซึ่งแตกต่างจากเกลือของแอลคาไลซึ่งละลายนา้ ได้ ด)ี
ตาราง แสดงค่าคงตัวผลคูณสภาพละลายได้ (Ksp) ของเกลือของโลหะหมู่ IIA

แนวโน้มสภาพละลายได้ของเกลือของหมู่ IIA เป็ นไปในแนวทางเดียวกับโลหะหมู่ IA


**เปรียบเทียบ ตามคอลัมน์ในตารางได้ แต่เปรียบเทียบตามแถวไม่ได้ เพราะการแตกตัวไม่เหมือนกัน 50

25
23-Jan-24

ตาราง แสดงค่าคงตัวผลคูณสภาพละลายได้ (Ksp) ของเกลือของโลหะหมู่ IIA

- เมือ่ ไอออนลบมีขนาดเล็ก (ดูแถว OH- และ F-)


จะเกิดเกลือทีล่ ะลายน้ าได้มากขึ้ นเมือ่ ไอออนบวกมีขนาดใหญ่

51

ตาราง แสดงค่าคงตัวผลคูณสภาพละลายได้ (Ksp) ของเกลือของโลหะหมู่ IIA

- เมือ่ ไอออนลบมีขนาดใหญ่ (ดูแถว SO42-, CO32-, C2O42-, และ CrO42-)


จะเกิดเกลือทีล่ ะลายน้ าได้มากขึ้ นเมือ่ ไอออนบวกมีขนาดเล็ก

52

26
23-Jan-24

-เกลือของไอออนโลหะหมู่ IIA ที่มไี อออนประจุ -2 สูตรทั่วไป AB เช่น CaCO3 จะ


ละลายได้ น้อยกว่าไอออนลบประจุ -1 สูตรทั่วไป AB2 เช่น CaF2
เพราะพลังงานแลตทิซของเกลือที่มไี อออนลบประจุ -2 มีค่ามากกว่า ประจุ -1

-ไอออนบวกของหมู่ IA และ IIA ที่มจี านวนอิเล็กตรอนเท่ากัน เช่น Na+ และ Mg2+


ไอออน +2 จะละลายได้ น้อยกว่า เพราะมีพลังงานแลตทิซมากกว่า

-ไฮดรอกไซด์ของหมู่ IIA ละลายนา้ แล้ วแสดงความเป็ นเบสอ่อนกว่าหมู่ IA


53

- หมายถึง ธาตุท่อี ยู่ในตาแหน่งทแยงมุมมีสมบัติคล้ ายกัน


- มักเกิดกับธาตุคาบที่ 2 และ 3
เช่น Li อยู่คาบที่ 2 แต่มีสมบัติคล้ ายกับ Mg ซึ่งอยู่ตาแหน่งทแยงมุมในคาบที่ 3
ตัวอย่างเช่น Li รวมกับ N2 ที่ T สูงให้ ไนไตรด์เหมือน Mg

54

27
23-Jan-24

- หมายถึง ธาตุท่อี ยู่ในตาแหน่งทแยงมุมมีสมบัติคล้ ายกัน


- มักเกิดกับธาตุคาบที่ 2 และ 3
เช่น Be มีความสัมพันธ์ทแยงมุมกับ Al โดยเกิดเป็ นสารประกอบโคเวเลนซ์ท่มี ี
ลักษณะเป็ นพอลิเมอร์คล้ ายกัน เป็ นต้ น
(BeCl2 ในสภาพแก๊สเป็ นเส้ นตรง Cl-Be-Cl)

55

56

28
23-Jan-24

57

58

29
23-Jan-24

Ca(OCl)2 = ผงฟอกจาง

59

- นา้ ธรรมชาติท่ไี ม่เป็ นฟองกับสบู่ เรียนกว่า “นา้ กระด้ าง (hard water)”


- ส่วนนา้ ที่เป็ นฟองกับสบู่ เรียนกว่า “นา้ อ่อน (soft water)”
-โดยนา้ กระด้ างจะมีไอออนบางอย่างเจือปน คือ
แคตไอออน Ca 2+ , Mg 2+ และ Fe 2+
แอนไอออน HCO3-, SO42-, หรือ NO3-
- นา้ กระด้ างที่มี HCO3- อย่างเดียว เรียนกว่า “นา้ กระด้ างชั่วคราว”
- นา้ กระด้ างที่มี SO42-, หรือ NO3- เรียนกว่า “นา้ กระด้ างถาวร”

60

30
23-Jan-24

- นา้ กระด้ างไม่เป็ นฟองกับสบู่ เพราะสบู่จะทาปฏิกริ ิยากับแคตไอออนในนา้


กระด้ างเกิดตะกอนที่เรียกว่า “ไคลสบู่ (scum)”

- เป็ นการกาจัดแคตไอออนที่ทาให้ เกิดไคลสบู่ แบ่งวิธไี ด้ ดังนี้


✓ นา้ กระด้ างชั่วคราวมี 2 วิธี คือ การต้ ม และ การเติมเบสแก่
✓ นา้ กระด้ างถาวรมี 2 วิธี คือ เติมโซดาซักผ้ า และ การเติมโซเดียมไทร
ฟอสเฟต
✓ การแก้ นา้ กระด้ างโดยวิธแี ลกเปลี่ยนไอออน 61

- นา้ กระด้ างชั่วคราวมี 2 วิธี คือ การต้ ม และ การเติมเบสแก่

62

31
23-Jan-24

-นา้ กระด้ างถาวรมี 2 วิธี คือ เติมโซดาซักผ้ า และ การเติมโซเดียมไทรฟอสเฟต

63

-การแก้ นา้ กระด้ างโดยวิธแี ลกเปลี่ยนไอออน


• เป็ นวิธกี ารแก้ ความกระด้ างโดยให้ นา้ กระด้ างไหลผ่านเรซินสังเคราะห์ เพื่อให้ เกิดการแลก
เปลี่ยนแคตไอออนในเรซิน กับแคตไอออนในนา้ กระด้ าง
• โดยแคตไอออนในนา้ กระด้ างเกาะอยู่กบั เรซินสังเคราะห์และแคตไอออนในเรซินสังเคราะห์
หลุดมาอยู่กบั นา้
• สารในเรซินสังเคราะห์นยิ มใช้ แร่ซีโอไลต์ ซึ่งเป็ นสารโซเดียมอะลูมโิ นซิลิเกต

64

32
23-Jan-24

-การแก้ นา้ กระด้ างโดยวิธแี ลกเปลี่ยนไอออน


• ปัจจุบนั นิยมใช้ สารเรซินอนินทรีย์สตู รทั่วไปเป็ น R-H+ และ R-H-
- ซึ่งแลกเปลี่ยนแคตไอออนในนา้ ด้ วย H+ และแลกเปลี่ยนแอนไอออนในนา้ ด้ วย OH-
- นา้ ที่ผ่านเรซินชนิดนี้มปี ริมาณไอออนน้ อยมาก เรียกว่า นา้ ที่ขจัดไอออนแล้ ว
(deionized water)

65

66

33
23-Jan-24

Ga

B Al In Tl
67

68

34
23-Jan-24

69

มีวิธที ่แี ตกต่างกัน

70

35
23-Jan-24

มีวิธที ่แี ตกต่างกัน

โดยการอิเล็กโทรไลซิสบอกไซด์โดยมีไครโอไลต์เป็ นตัวทาละลาย (ทาให้ บอกไซด์มจี ุด


หลอมเหลวลดลง) ทาให้ ปฏิกริ ิยาเกิดที่อณ
ุ หภูมติ ่าลง

71

ธาตุหมู่ IIIA เกิดปฏิกริ ิยาเป็ นตัวรีดวิ ซ์คล้ ายคลึงกับปฏิกริ ิยาของธาตุหมู่ IA และ IIA
แต่จะเกิดปฏิกริ ิยาช้ ากว่ามากในที่น้ จี ะกล่าวเฉพาะปฏิกริ ิยาที่สาคัญของ B และ Al

72
ฟิ ล์มป้ องกัน, เคลือบผิว

36
23-Jan-24

ธาตุหมู่ IIIA เกิดปฏิกริ ิยาเป็ นตัวรีดวิ ซ์คล้ ายคลึงกับปฏิกริ ิยาของธาตุหมู่ IA และ IIA
แต่จะเกิดปฏิกริ ิยาช้ ากว่ามากในที่น้ จี ะกล่าวเฉพาะปฏิกริ ิยาที่สาคัญของ B และ Al

73

74

37
23-Jan-24

75

76

38
23-Jan-24

77

78

39
23-Jan-24

เช่น การเตรียมสารประกอบไดบอเรน
6LiH + 8BF3 → 6LiBF4 + B2H6

B2H6 + 3O2 → B2O3 + 3H2O


Boron trioxide

79

80

40
23-Jan-24

C Ge Pb

Si Sn
81

82

41
23-Jan-24

แกรไฟต์

เพชร

83

แกรไฟต์

ฟูลเลอรีน
เพชร

ท่อนาโน
84

42
23-Jan-24

85

สูตรโครงสร้าง
(Isoelectronic หมายถึง สารที่มีจานวนอิเล็กตรอนทั้งหมดเท่ากัน)

86

43
23-Jan-24

สูตรโครงสร้าง

สูตรโครงสร้าง

87

Magnesium silicide

88

44
23-Jan-24

89

หรือ

90

45
23-Jan-24

91

92

46
23-Jan-24

93

94

47
23-Jan-24

95

96

48
23-Jan-24

มีสมบัติเบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้ า

97

98

49
23-Jan-24

99

ที่ T ลดลงสมดุลเลื่อนขวาสีนา้ ตาลแดงจะจางลงเพราะ NO2 ลดลงและ N2O4 เพิ่มขึ้น


100

50
23-Jan-24

ที่สาคัญมี 2 ชนิด คือ HNO3 และ HNO2

101

102
REMOVE GOLD FROM BOARDS

51
23-Jan-24

103

ธาตุฟอสฟอรัสมีหลายอัญรูปที่สาคัญ
ได้ แก่ ฟอสฟอรัสขาว ฟอสฟอรัสแดง และ ฟอสฟอรัสดา
P

P P
P

104

52
23-Jan-24

ธาตุฟอสฟอรัสมีหลายอัญรูปที่สาคัญ
ได้ แก่ ฟอสฟอรัสขาว ฟอสฟอรัสแดง และ ฟอสฟอรัสดา

105

ธาตุฟอสฟอรัสมีหลายอัญรูปที่สาคัญ
ได้ แก่ ฟอสฟอรัสขาว ฟอสฟอรัสแดง และ ฟอสฟอรัสดา

106

53
23-Jan-24

107

108

54
23-Jan-24

109

Synthesized in 2000 110

55
23-Jan-24

111

112

56
23-Jan-24

เป็ น paramagnetic

113

114

57
23-Jan-24

115

116

58
23-Jan-24

117

118

59
23-Jan-24

119

120

60
23-Jan-24

121

122

61
23-Jan-24

123

เป็ นเลขออกซิเดชันที่สาคัญ

124

62
23-Jan-24

125

126

63
23-Jan-24

127

128

64
23-Jan-24

129

130

65
23-Jan-24

- HF กรดกัดแก้ว

131

132

66
23-Jan-24

133

134

67
23-Jan-24

มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเต็ม จึงเสถียรและอยู่ได้ เป็ นอะตอมเดียวในสถานะแก๊ส

135

แต่ทุกธาตุจะเรืองแสงให้ สเี ฉพาะถ้ าใช้ ใน หลอดปล่อยประจุ (Gas Discharge Lamp)


(หลอดที่ให้ กาเนิดแสงโดยวิธกี ารกระตุ้นอะตอม)

136

68
23-Jan-24

จุดหลอมเหลวและจุดเดือดจึงเพิ่มขึ้นเมื่ออะตอมมีเลขเชิงอะตอมมาก

137

138

69
23-Jan-24

139

140

70
23-Jan-24

141

142

71
23-Jan-24

ธาตุแทรนซิชนั
Transition elements
รศ.ดร.พัชรีนารถ ทรัพย์อาภากร

01403117 หลักมูลเคมีท่วั ไป

1
23-Jan-24

แลนทาไนด์
แอกทิไนด์ 4

2
23-Jan-24

ส่วนใหญ่ทาปฏิกริ ิยา เช่น ออกซิเจนได้ ออกไซด์ แฮโลเจนได้ แฮไลด์


แต่บางธาตุมีสมบัติเป็ นตัวรีดิวซ์ท่ดี ีมาก (เหมือนโลหะหมู่ IA และ IIA) เช่น
Sc (สแกนเดียม), Y(อิตเทรียม)
รวมทั้ง La (แลนทานัม) และธาตุอนุกรมแลนทาไนด์เป็ นตัวรีดิวซ์ ดังนี้

3
23-Jan-24

สาหรับ Pt (แพลททินัม) และ Au (ทอง) เป็ นตัวรีดิวซ์ท่ไี ม่ดี ไม่ทาปฏิกริ ิยากับ


กรดที่เป็ นตัวออกซิไดส์ เช่นกรด HNO3 หรือกรดที่ไม่เป็ นตัวออกซิไดส์ (HCl
และ H2SO4)
แต่ Pt และ Au (รวมทั้ง Pd) ละลายได้ ในกรดผสม HNO3 กับ HCl ที่เรียกว่า
กรดกัดทอง (aqua regia)

มีเลขออกซิเดชันได้ หลายค่า
ยกเว้ น Sc (มี +3 เท่านั้น) และ Zn (มี +2 เท่านั้น)

4
23-Jan-24

สารประกอบส่วนใหญ่มีสี ยกเว้ น สารประกอบ Zn2+ มักมีสขี าว


(สีท่ปี รากฏคือสีจากคลื่นแสงที่ถูกดูดกลืนน้ อยที่สดุ )
สารประกอบมีสมบัติแม่เหล็กทั้งแบบ paramagnetic และ diamagnetic
เกิดสารประกอบเชิงซ้ อนหรือสารประกอบโคออร์ดเิ นชันได้ มาก
โลหะแทรนซิชันและสารประกอบหลายชนิดทาหน้ าที่เป็ น catalyst ได้ ดี

สแกนเดียม อิตเทรียม แอคทิเนียม-


แลนทานัม
-ลูทีเทียม ลอว์เรนเซี ยม

ไทเทเนียม เซอร์โคเนียม แฮฟเนียม รัทเทอร์


ฟอร์เดียม

วาเนเดียม ไนโอเบียม แทนทาลัม ดับเนียม

10

5
23-Jan-24

โครเมียม

โมลิบดีนมั

ทังสเตน
ซี บอร์เกียม
11

12

6
23-Jan-24

13

K2CrO7 + conc. H2SO4 Cleaning solution


Potassium dichromate for Glassware

14

7
23-Jan-24

แมงกานีส

เทคนีเซี ยม

รีเนียม

โบห์เรียม 15

16

8
23-Jan-24

ที่สดุ

“ สารตั้งต้ นที่ทาหน้ าที่เป็ นทั้งตัวออกซิไดส์ และตัวรีดิวซ์”

17

18

9
23-Jan-24

19

20

10
23-Jan-24

21

เช่น เหล็กมีสมบัติคล้ ายโคบอลต์กบั นิเกิลมากกว่าคล้ ายรูทเิ นียมหรือออสเมียม

22

11
23-Jan-24

hematite (Fe2O3) , magnetite (Fe3O4) และ siderite (FeCO3)

23

24

12
23-Jan-24

HCl

dil. H2SO4

conc. H2SO4

conc. HNO3

25

ไม่มีสี สีเหลือง
26

13
23-Jan-24

27

28

14
23-Jan-24

เกิดจากเกลือปกติสองชนิดรวมกันเป็ นโมเลกุลใหญ่

29

30

15
23-Jan-24

31

32

16
23-Jan-24

ถ้ าต้ องการทองแดงบริสทุ ธิ์ ต้ องใช้ วิธแี ยกสลายด้ วยไฟฟ้ า


Anode: บลิสเตอร์คอปเปอร์ Cathode: ทองแดงบริสทุ ธิ์ Electrolyte: CuSO4 + H2SO4
เมื่อปรับศักย์ไฟฟ้ าให้ พอเหมาะ Cu และ Fe จะละลายจาก anode, ส่วน Au, Ag, Pt จะตกอยู่ก้นเซลล์
33
จากนั้นปรับศักย์ไฟฟ้ าให้ พอเหมาะที่จะรีดิวซ์เฉพาะ Cu2+ → Cu ให้ มาเกาะที่ cathode และเหลือ Fe2+ ในสารละลาย

34

17
23-Jan-24

35

36

18
23-Jan-24

37

ขั้นตอนการถ่ายรูปและล้างรูปขาวดา
1. การถ่ ายภาพ เมื่อแสงตกกระทบฟิ ล์มซึ่งเคลือบด้วย AgBr จะทำให้ AgBr บำงส่วน
ถูกกระตุน้ ไปอยูท่ ี่สภำวะเร้ำ (excited state)

2. การล้างฟิ ลม์
2.1 นำฟิ ล์มที่ถูกแสงแล้วมำทำปฏิกิริยำกับตัวรี ดิวซ์ (developer) เช่น hydroquinone
ซึ่ง AgBr* จะถูกรี ดิวซ์เป็ นโลหะเงินเม็ดเล็ก ๆ ติดอยูบ่ นแผ่นฟิ ล์ม

38

19
23-Jan-24

ขั้นตอนการถ่ายรูปและล้างรูปขาวดา
2. การล้างฟิ ลม์
2.2 ฟิ ล์มเดียวกันนี้จะมีบำงส่วนที่ไม่ถูกแสง (เป็ นส่วนที่วัตถุต้องการถ่ายภาพบังแสงไว้ )และ
ยังคงเป็ น AgBr อยูซ่ ่ ึงจะล้ำงออกไปได้ โดยทำให้เกิดไอออนเชิงซ้อนกับ S2O32–

สารละลายไทโอซัลเฟตที่ใช้ น้ เี รียกว่า นา้ ยาไฮโป

39

ขั้นตอนการถ่ายรูปและล้างรูปขาวดา
3. การอัดรูป
- อำศัยกระบวนกำรทำนองเดียวกับกำรถ่ำยรู ป เพียงแต่เปลี่ยนจำกฟิ ล์มมำใช้กระดำษ
ที่ฉำบด้วย AgBr
- เมื่อให้แสงผ่ำนฟิ ล์มที่ลำ้ งแล้วทะลุไปยังกระดำษ แล้วนำไปล้ำงส่วนที่เป็ นสี ขำวใน
ฟิ ล์มก็จะกลำยเป็ นสี ดำในรู ป
- ส่วนที่เคยเป็ นสี ดำก็กลำยเป็ นสี ขำวจึงได้ภำพขำวดำเหมือนจริ ง

40

20
23-Jan-24

Au (s) + 3HNO3 (aq) + 4HCl (aq) → HAuCl4 (aq) + 3NO2 (g) + 3H2O ()

41

42

21
23-Jan-24

43

44

22
23-Jan-24

- ทำโลหะเจือ เช่น ทองเหลือง (Cu + Zn) , ทำตัวกล่องเซลล์แห้ง (ถ่ำยไฟฉำย)

45

46

23
23-Jan-24

47

48

24
23-Jan-24

การตรวจหาปรอท

49

50

25
23-Jan-24

51

52

26

You might also like