You are on page 1of 16

สารเคมี

1. สารเคมีสาหร ับปร ับสภาพชีวมวล


1. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด ์เข ้มข ้น 2 เปอร ์เซ็นต ์
วิธเี ตรียม : ละลายโซเดียมไฮดรอกไซด ์ 20 กร ัมในนํ ้ากลัน

และปร ับปริมาตรเป็ น 1000 มิลลิลต
ิ ร

2. สารเคมีสาหร ับการวิเคาะห ์ลักษณะองค ์ประกอบของชีวมวล


(TAPPI 203 om-88)
1. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด ์ [NaOH] เข ้มข ้น 17.5 เปอร ์เซ็นต ์
วิธเี ตรียม : ละลายโซเดียมไฮดรอกไซด ์ 175 กร ัมในนํ ้ากลัน ่
และปร ับปริมาตรเป็ น 1000 มิลลิลต ิ ร
2. สารละลายโพแทสเซียมไดโครเมต [K2Cr2O7] เข ้มข ้น 0.5 นอร ์มัล
วิธเี ตรียม : ละลายโพแทสเซียมไดโครเมต 24.52 กร ัมในนํ ้ากลั่น
และปร ับปริมาตรเป็ น 1000 มิลลิลต ิ ร
3. สารละลายโพแทสเซียมไดโครเมตมาตรฐาน [K2Cr2O7] เข ้มข ้น 0.100
นอร ์มัล
วิธเี ตรียม : ละลายโพแทสเซียมไดโครเมต 4.904 กร ัมในนํ ้ากลั่น
และปร ับปริมาตรเป็ น 1000 มิลลิลต ิ ร
4. สารละลายเฟอร ์รสั แอมโมเนี ยซลั เฟตเข ้มข ้น 0.100 นอร ์มัล
วิธเี ตรียม : ละลายเฟอร ์ร ัสแอมโมเนี ยซลั เฟต [Fe(NH4)(SO4).6H2O] หนัก
40.5 กร ัมในนํ ้ากลัน
่ เติมกรดซัลฟุรก ิ เข ้มข ้นปริมาตร 10 มิลลิลต ิ ร
ปร ับปริมาตรเป็ น 1000 มิลลิลต ิ รด ้วยนํ ้ากลัน่
ทําการหาค่าความเข ้มข ้นทีแน่่ นอนทุกครงที ้ั ใช่ ้โดยนํ าไปไตเตรทกับส
ารละลายโพแทสเซียมไดโครเมตมาตรฐาน
วิธห ่ นอน :
ี าค่าความเข ้มข ้นทีแน่
1. ปิ เปตสารละลายโพแทสเซียมไดโครเมตมาตรฐานปริมาตร 10
มิลลิลต ิ ร ใส่ลงในขวดรูปชมพู่ขนาด 250 มิลลิลต ิ ร แล ้วเติมนํ ้ากลัน ่
90 มิลลิลต ิ ร
2. ค่อยๆเทกรดซัลฟุรกิ เข ้มข ้นปริมาตร 12 มิลลิลต ิ ร
ลงในขวดโดยเอียงขวดทํามุมประมาณ 45 องศากับพืน ้
้ งไว
ตังทิ ้ ้ใหเ้ ย็น
3. หยดอินดิเคเตอร ์ 2 ถึง 4 หยด
นํ าไปไตเตรทกับสารละลายเฟอร ์ร ัสแอมโมเนี ยซลัเฟตทีต ่ ้องการทรา
บความเข ้มข ้นทีแน่ ่ นอน
วิธก ี ารคํานวณความเข ้มข ้นทีแน่ ่ นอน :
N1V1 = N2V2
่ N1 = ความเข ้มข ้นของสารละลายโพแทสเซียมไดโครเมต,
เมือ
นอร ์มัล
N2 = ความเข ้มข ้นของสารละลายเฟอร ์รสั แอมโมเนี ยซลั เฟต,
นอร ์มัล
V1 = ปริมาตรของสารละลายโพแทสเซียมไดโครเมต, มิลลิลต ิ ร
V2 = ปริมาตรของสารละลายเฟอร ์ร ัสแอมโมเนี ยซลั เฟต, มิลลิลต ิ ร
5. สารละลายอินดิเคเตอร ์ (indicator)
วิธเี ตรียม : ละลาย 1,10-ฟี นานโธรลีนโมโนไฮเดรท (C12H8N2.H2O) หนัก
1.5 กร ัม กับ เฟอร ์รสั ซลั เฟต (FeSO4.H2O) หนัก 0.7
กร ัมในนํ ้ากลันปริ
่ มาตรเป็ น 100 มิลลิลต ิ ร
ใช ้เป็ นอินดิเคเตอร ์ในการไตเตรท
6. กรดซัลฟุรกิ เข ้มข ้น 98 เปอร ์เซ็นต ์ (ค่าความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 1.84)
7. สารละลายกรดซัลฟุรกิ เข ้มข ้น 3 นอร ์มัล
วิธเี ตรียม : ค่อยๆเทกรดซัลฟุรก ิ เข ้มข ้นปริมาตร 83.5 มิลลิลต ิ ร
ลงในบีกเกอร ์ทีมี ่ นํ้ากลันบรรจุ
่ อยู่ ปร ับปริมาตร เป็ น 1000 มิลลิลต ิ ร
3. สารเคมีสาหร ับหาความสามารถในการทางานของเอนไซม ์
(FPU assay) โดยวิธ ี Mandel and Stembery
และน้ าตาลรีดวิ ซ ์ (DNS method)
1. สารละลายซิเตรตบัฟเฟอร ์เข ้มข ้น 0.05 โมลาร ์ ทีมี ่ ความเป็ นกรดด่าง 4.8
วิธเี ตรียม :

1. ชังไตรโซเดี ยมซิเตรตไดไฮเดรตปริมาณ 14.72 กร ัม
ละลายในนํ ้ากลันประมาณ
่ 800 มิลลิลต ิ ร
2. ปร ับค่าความเป็ นกรดด่างเป็ น 4.8 ด ้วยกรดไฮโดรคลอริกเข ้มข ้น 3
โมลาร ์ ปร ับปริมาตรสุทธิใหเ้ ป็ น 1000 มิลลิลต ิ รด ้วยนํ ้ากลัน

2. สารละลายกรดไดไนโตรสาลิไซลิก
วิธเี ตรียม :
1. ละลายกรดไดไนโตรสาลิไซลิก 5 กร ัม
กับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด ์ 8 กรมั ในนํ ้ากลัน ่ 200 มิลลิลต ิ ร
้ ยวกันในอ่างควบคุมอุณหภูมท
ทําให ้ละลายเป็ นเนื เดี ่ี ณหภูมิ 70
ิ อุ
องศาเซลเซียส
2. ค่อยๆละลาย โซเดียมโปแตสเซียมทาร ์เทรตอีก 150
กร ัมจนได ้สารละลายใส ปร ับปริมาตรสุดท ้ายให ้เป็ น 500 มิลลิลต ิ ร
และ เก็บในขวดทึบแสงทีอุ ่ ณหภูมห ิ อ้ ง


4. อาหารเลียงเชื
อส้ าหร ับ Zymomonas mobilis
อาหารแข็ง อาหารเหลว
ยีสต ์เอกแทรก (Yeast 5 กร ัม ยีสต ์เอกแทรก (Yeast 5 กร ัม
extract) extract)
เปปโตน (Peptone) 10 กร ัม เปปโตน (Peptone) 10 กร ัม
กลูโคส (Glucose) 20 กร ัม กลูโคส (Glucose) 20 กร ัม
ผงวุ่น (agar) 15 กร ัม นํ ้า 1000
มิลลิลติ ร
นํ ้า 1000
มิลลิลต
ิ ร


5. อาหารเลียงเชื
อส้ าหร ับ YM (Yeast malt)
อาหารแข็ง อาหารเหลว
มอลท ์เอกแทรก (Malt 3 กร ัม มอลท ์เอกแทรก (Malt 3 กร ัม
extract) extract)
ยีสต ์เอกแทรก (Yeast 3 กร ัม ยีสต ์เอกแทรก (Yeast 3 กร ัม
extract) extract)
เปปโตน (Peptone) 5 กร ัม เปปโตน (Peptone) 5 กร ัม
กลูโคส (Glucose) 10 กร ัม กลูโคส (Glucose) 10 กร ัม
ผงวุ่น (agar) 20 กร ัม นํ ้า 1000
มิลลิลติ ร
นํ ้า 1000
มิลลิลต
ิ ร

วิธวี เิ คราห ์ผล


1. การศึกษาลักษณะองค ์ประกอบของชีวมวล
สารเคมี
1. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด ์เข ้มข ้น 17.5 เปอร ์เซ็นต ์
2. สารละลายโพแทสเซียมไดโครเมตเข ้มข ้น 0.5 นอร ์มัล
3. กรดซัลฟิ วริกเข ้มข ้น

4. สารละลายเฟอร ์ร ัสแอมโมเนี ยซัลเฟตทีทราบความเข ้มข ้นแน่ นอน
5. กรดซัลฟุรกิ ความเข ้มข ้น 3 นอร ์มัล

วิธวี เิ คราะห ์
1.1 การวิเคราะห ์ปริมาณเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิ น โดยวิธ ี TAPPI
203 om-88
่ วมวล 1.5 กร ัม ใส่ลงบีกเกอร ์ขนาด 250 มิลลิลต
ชังชี ิ ร
เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด ์เข ้มข ้น 17.5 เปอร ์เซ็นต ์ ปริมาตร100
มิลลิลต ่
ิ ร นํ าไปกวนบนเครืองกวนสาร 30 นาที เติมนํ ้ากลัน
่ 100 มิลลิลติ ร
้ งไว
ตังทิ ้ ้ทีอุ
่ ณหภูมหิ อ้ ง 30 นาที

กรองสารละลายเพือแยกตะกอนออกโดยทิ ้
งสารละลายใส 10-20
มิลลิลต ิ รแรกของการกรอง เก็บสารละลายเพือนํ ่ าไปวิเครห ์ 100 มิลลิลติ ร

1.2 วิเคราะห ์ปริมาณแอลฟา-เซลลูโลส (เซลลูโลส)


ปิ เปตสารละลายใสทีผ่ ่ านการกรองแล ้ว 10 มิลลิลต ิ ร ใส่ขวดรูปชมพู่ขนาด
250 มิลลิลต ิ ร เติมสารละลาย โพแทสเซียมไดโครเมตเข ้มข ้น 0.5 นอร ์มัล
ปริมาณ 10 มิลลิลต ิ ร และนํ ้ากลัน่ 50 มิลลิลต
ิ ร ผสมใหเ้ ข ้ากัน
ค่อยๆเทกรดซัลฟิ วริกเข ้มข ้น 30 มิลลิลต ิ รลงไป โดยเอียงขวดทํามุม 45
องศากับพืนเพื้ อป้่ องกันการเดือดอย่างรุนแรงของสารละลาย ตังทิ ้ งไว
้ ้ให ้เย็น
หยดอินดิเคเตอร ์ 2-4 หยด
และไตเตรตกับสารละลายเฟอร ์ร ัสแอมโมเนี ยซัลเฟตทีทราบความเข่ ้มข ้นแน่ นอน
จนสารละลายเปลียนเป็ ่ นสีนํ้าตาลอมม่วง
บันทึกปริมาตรสารละลายเฟอร ์ร ัสแอมโมเนี ยซลั เฟต เตรียมสารละลายแบลงค ์
(Blank) โดยปิ เปตโซเดียมไฮดรอกไซด ์เข ้มข ้น 17.5 เปอร ์เซ็นต ์ 5 มิลลิลต ิ ร
และนํ ้ากลันปริ
่ มาณ 5 มิลลิลต ิ รใส่ขวดรูปชมพู่ขนาด 250 มิลลิลต ิ ร
การคํานวณ
แอลฟา-เซลลูโลส (เปอร ์เซ็นต ์) = 100 - [(6.85 (V2-V1) x N x 20) /
AW]
่ V1 =
เมือ
่ ้ในการไตเตรตกับสารตัวอย่
ปริมาตรเฟอร ์ร ัสแอมโมเนี ยซัลเฟตทีใช
าง, มิลลิลต
ิ ร
V2 =
ปริมาตรเฟอร ์ร ัสแอมโมเนี ยซัลเฟตทีใช่ ้ในการไตเตรตกับแบลงค ์,
มิลลิลติ ร
N=
่ นอนของสารละลายเฟอร ์ร ัสแอมโมเนี ยซัลเฟต,
ความเข ้มข ้นทีแน่
นอร ์มัล
A = ปริมาตรสารละลายตัวอย่างทีใช ่ ้, มิลลิลต
ิ ร
W = นํ ้าหนักชีวมวล, กร ัม

1.3 การวิเคราะห ์ปริมาณแกมม่า-เซลลูโลส


ปิ เปตสารละลายปริมาตร 50 มิลลิลต ิ ร ลงในกระบอกตวงทีมี ่ จก
ุ ปิ ด
เติมกรดซัลฟุรก ิ ความเข ้มข ้น 3 นอร ์มัล ปริมาตร 50 มิลลิลต ิ ร
้ ยวกัน ใหค้ วามร ้อน 70-90 องศาเซลเซียสเป็ นเวลา 2-3 นาที
ผสมให ้เป็ นเนื อเดี

เพือให ้ตกตะกอนอย่างสมบูรณ์แล ้วกรองสารละลายโดยเก็บส่วนวิเคราะห ์
ปิ เปตสารละลายใสทีผ่ ่ านการกรองแล ้ว 10 มิลลิลต ิ ร ใส่ขวดรูปชมพู่ขนาด 250
มิลลิลติ ร เติมสารละลาย โพแทสเซียมไดโครเมตเข ้มข ้น 0.5 นอร ์มัล ปริมาณ 10
มิลลิลต ิ ร และนํ ้ากลัน
่ 50 มิลลิลติ ร ผสมให ้เข ้ากัน ค่อยๆเทกรดซัลฟิ วริกเข ้มข ้น
30 มิลลิลต ิ รลงไป โดยเอียงขวดทํามุม 45
องศากับพืนเพื้ อป้
่ องกันการเดือดอย่างรุนแรงของสารละลาย ตังทิ ้ งไว้ ้ให ้เย็น
หยดอินดิเคเตอร ์ 2-4 หยด และไตเตรตกับสารละลายเฟอร ์ร ัสแอมโมเนี ยซลั เฟต
เตรียมสารละลายแบลงค ์ (Blank) โดยปิ เปตโซเดียมไฮดรอกไซด ์เข ้มข ้น 17.5
ิ ร นํ ้ากลัน
เปอร ์เซ็นต ์ 2.5 มิลลิลต ่ 2.5 มิลลิลต
ิ ร และกรดซัลฟุรกิ ความเข ้มข ้น 3
นอร ์มัล ปริมาตร 5 มิลลิลต ิ ร ใส่ขวดรูปชมพู่ขนาด 250 มิลลิลต ิ ร
การคํานวน
แกมม่า-เซลลูโลส = [(6.85 (V4-V3) x N x 20) / AW]
เมือ ่ V3 =
ปริมาตรเฟอร ์ร ัสแอมโมเนี ยซัลเฟตทีใช ่ ้ในการไตเตรตกับสารตัวอย่าง,
มิลลิลต ิ ร
V4 =
ปริมาตรเฟอร ์ร ัสแอมโมเนี ยซัลเฟตทีใช ่ ้ในการไตเตรตกับแบลงค ์, มิลลิลต ิ ร

1.4 การวิเคราะห ์ปริมาณเบต ้า-เซลลูโลส (เฮมิเซลลูโลส)


เบต ้า-เซลลูโลส = 100 - ( แอลฟา-เซลลูโลส + แกมม่า-เซลลูโลส )

1.5 การวิเคราะห ์ปริมาณลิกนิ น


ปริมาณลิกนิ น = 100 - เปอร ์เซ็นต ์เซลลูโลส -
เปอร ์เซ็นต ์เฮมิเซลลูโลส

2. การหาความสามารถในการทางานของเอนไซม ์ (FPU
assay)
การหาความสามารถในการทํางานของเอนไซม ์ในการย่อยกระดาษกรอง
โดยใช ้วิธข
ี อง Mandel และ Stembery มีวธิ ก ี ารดังนี ้
สารเคมี
1. สารละลายซิเตรตบัฟเฟอร ์เข ้มข ้น 0.05 โมลาร ์ พีเอช 4.8
2. สารละลายกรดไนโตรซาลิไซลิก
วิธวี เิ คราะห ์

ใส่กระดาษกรองเบอร ์ 1 ขนาด 1x6 เซนติเมตร จํานวน 50 มิลลิกร ัม


ลงในหลอดทดลอง เติมสารละลายซิเตรตบัฟเฟอร ์เข ้มข ้น 0.05 โมลาร ์
่ คา่ พีเอช 4.8 ปริมาตร 1 มิลลิลต
ทีมี ิ ร และเติมสารละลายเอนไซม ์ 0.5 มิลลิลต ิ ร
เขย่าใหเ้ ข ้ากัน นํ าไปอุน
่ ในอ่างควบคุมอุณหภูมท ิ ่ี 50 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 1

ชัวโมง ่
เมือครบเวลา ทําการต ้มในนํ ้าเดือดเป็ นเวลา 5 นาที เพือหยุ
่ ดปฎิกริ ยิ า
แยกตะกอนออกโดยเครืองปั ่ ่ นเหวียง
่ นํ าส่วนใสไปวิเคราะห ์ปริมาณนํ ้าตาลรีดวิ ซ ์

วิธค
ี านวน
กําหนดให ้ 1 ยูนิตของเอนไซม ์ คือ
ปริมาณเอนไซม ์ทีย่่ อยสลายสารตังต
้ ้นให ้เป็ นกลูโคส 1 ไมโครโมล ภายใน 1 นาที
่ ้ทดสอบ นั่นคือ
ภายใต ้สภาวะทีใช
1 ยูนิตของเอนไซม ์ = 1 ไมโครโมลของกลูโคสทีถู ่ กปล่อยออกมาใน 1
นาที
= 0.180 มิลลิกร ัมของกลูโคสทีถู่ กปล่อยออกมาใน 1 นาที
กลูโคส 0.180 มิลลิกร ัม มีคา่ เท่ากับ 1ไมโครโมล
𝑥
ถ ้าเอนไซม ์ย่อยสลายได ้กลูโคส x มิลลิกรมั จะมีคา่ เท่ากับ หรือเท่ากับ
0.180
5.556x ไมโครโมล
ในระยะเวลา 60 นาที กลูโคสถูกปล่อยออกมาเท่ากับ 5.556x ไมโครโมล
5.556𝑥
ระยะเวลา 1 นาที กลูโคสถูกปล่อยออกมาเท่ากับ ไมโครโมล/นาที
60
หรือเท่ากับ 0.926x ไมโครโมล/นาที

เมือใช ้เอนไซม ์ 0.5 มิลลิลต
ิ ร จะมีกลูโคสเท่ากับ 0.0926x ไมโครโมล/นาที
0.0926𝑥
ถ ้าใช ้เอนไซม ์ 1.0 มิลลิลต
ิ ร จะมีกลูโคสเท่ากับ หรือเท่ากับ 0.185x
0.5
ไมโครโมล/นาที

เมือใช ้ย่อยเซลลูโลส(กระดาษกรอง) 50 มิลลิกร ัม จะมีกลูโคสเท่ากับ 0.185x
ไมโครโมล/นาที
0.185𝑥
ถ ้าใช ้ย่อยเซลลูโลส 1 มิลลิกร ัม จะมีกลูโคสเท่ากับ หรือเท่ากับ 3.7x
50∗10−3
ไมโครโมล/นาที/กรมั
่ ากับ 3.7x ยูนิต/กร ัม (Filter paper units: FPU/กร ัม)
ซีงเท่

3. การวิเคราะห ์น้ าตาลรีดวิ ซ ์ (DNS method)


สารเคมี
1. สารละลายไดไนโตรซาลิไซลิก

วิธวี เิ คราะห ์
ปิ เปตสารละลายตัวอย่างทีจะวิ่ เคราะห ์ 1 มิลลิลติ ร ลงในหลอดทดลอง
โดยมีตวั ทําละลายเป็ นสารละลายแบลงค ์ เติมสารละลายไดไนโตรซาลิไซลิก 1
มิลลิลติ ร ผสมให ้เข ้ากัน นํ าไปต ้มในอ่างควบคุมอุณหภูมท ิ ่ี 100 องศาเซลเซียส
เป็ นเวลา 5 นาที แล ้วทําให ้เย็ นโดยแช่ในนํ ้าแข็ง เพือหยุ
่ ดปฏิกริ ยิ า เติมนํ ้ากลัน

10 มิลลิลต ิ รลงในหลอดทดลอง

เขย่าใหเ้ ข ้ากันแล ้วนํ าไปวัดค่าการดูดกลืนแสงทีความยาว ่ 550 นาโนเมตร
คลืน
นํ าค่าการดูดกลืนแสงทีวั่ ดได ้มาคํานวณหาปริมาณนํ ้าตาลรีดวิ ซ ์จากกราฟมาตรฐ
าน
การสร ้างกราฟมาตรฐาน
1. อบกลูโคสทีอุ ่ ณหภูมิ 105-110 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 2 ชัวโมง ่

เพือใช ้เตรียมสารละลายมาตรฐาน กลูโคสทีมี ่ ความเข ้มข ้น 3
มิลลิกร ัมต่อมิลลิลต
ิ ร
เตรียมหลอดทดลองให ้มีสารละลายมาตรฐานกลูโคสทีมี ่ ความ
เข ้มข ้นต่างๆ โดยใช ้สูตรการคํานวณ N1V1 = N2V2
N1 คือ ความเข ้มข ้นของสารละลายนํ ้าตาลกลูโคสเริมต ่ ้น 3
มิลลิกร ัมต่อมิลลิลต ิ ร
V1 คือ
ปริมาตรของสารละลายนํ ้าตาลกลูโคสเริมต ่ ้นทีต
่ ้องใช ้ตามช่องที่ 2
ในตารางที่ ก-1
N2 คือ ความเข ้มข ้นของสารละลายนํ ้าตาลกลูโคสทีต ่ ้องการตามช่องที่
4 ในตารางที่ ก-1
V2 คือ ปริมาตรของสารละลายนํ ้าตาลกลูโคสสุดท ้าย 5 มิลลิลต ิ ร
2. ทําตามวิธวี เิ คราะห ์นํ ้าตาลรีดวิ ซ ์
3. นํ าค่าการดูดกลืนแสงทีวั่ ดทีได ่ ้มาเขียนกราฟมาตรฐาน
และหาค่าความชนั

ตารางที่ การเตรียมสารละลายนํ ้าตาลกลูโคสมาตรฐาน


หลอดที่ สารละลายกลูโคส เข ้มข ้น 3 นํ ้ากลัน
่ ความเข ้มข ้นกลูโคส
มก./มล. (มิลลิลติ ร) (มิลลิกร ัม/มิลลิลต
ิ ร)
(มิลลิลต
ิ ร)
1 0.0 5.0 0.0
2 0.5 4.5 0.3
3 1.0 4.0 0.6
4 1.5 3.5 0.9
5 2.0 3.0 1.2
6 2.5 2.5 1.5
7 3.0 2.0 1.8
8 3.5 1.5 2.1
9 4.0 1.0 2.4
10 4.5 0.5 2.7
11 5.0 0.0 3.0

กราฟมาตรฐานและข้อมู ลการทดลอง
กราฟมาตรฐานน้ าตาล
ตารางที่ ค่าดูดกลืนแสงของนํ ้าตาลกลูโคสสําหร ับกราฟมาตรฐาน
ความเข ้มข ้นกลูโคส ค่าดูดกลืนแสงที่ 550 นาโนเมตร
(มิลลิกร ัม/มิลลิลต
ิ ร)
0.0 0.000
0.3 0.223
0.6 0.425
0.9 0.711
1.2 0.838
1.5 1.035
1.8 1.221
2.1 1.416
2.4 1.677
2.7 1.771
3.0 1.967

จากการวิเคราะห ์กราฟมาตรฐานนํ ้าตาล


สามารถสร ้างแบบจําลองความสัมพันธ ์ระหว่างความเข ้นจ ้นของนํ ้าตาลกับค่าการ
ดูดกลืนแสงได ้เท่ากับ
y = 0.6752x
่ y คือ ค่าการดูดกลืนแสงทีความยาวคลื
เมือ ่ น่ 550 นาโนเมตร
x คือ ความเข ้นข ้นนํ ้าตาล (มิลลิกร ัมต่อมิลลิลต
ิ ร)

รูปที่ ค-1 กราฟมาตรฐานนํ ้าตาล

ความสามารถในการทางานของเอนไซม ์ (FPU assay)


ตารางที่ ความสามารถในการทํางานของเอนไซม ์ (FPU assay)
ความเข ้นข ้นเอมไซม ์ ปริมาณนํ ้าตาล
(มิลลิกร ัม/มิลลิลต
ิ ร) (มิลลิกร ัม) ยูนิตของเอนไซม ์ FPU/g
3 0.748 0.138 2.766
5 1.352 0.250 5.003
14 4.148 0.767 15.346

You might also like