You are on page 1of 11

การวิเคราะห์ ปริมาณบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand : BOD)

โดยวิธี Azide Modification of Iodometric Method ตาม Standard methods for the examination of water
and wastewater, APHA, AWWA & WEF, 23rd Edition 2017, part 5210B.

หลักการ

การวิเคราะห์หาค่า BOD เป็ นการวัดค่าความสกปรกของน้ าในเทอมของออกซิ เจนที่ แบคทีเรี ยใช้ในการ


ย่อยสลายภายใต้สภาวะที่มีออกซิเจน การหา BOD เป็ นกระบวนการทดสอบทางชีววิทยา เพื่อหาปริ มาณออกซิเจน
(DO) ซึ่งแบคทีเรี ยใช้ในการย่อยสลายสารอินทรี ยใ์ นน้ าในสภาวะที่เหมือนธรรมชาติที่สุด เพื่อให้การวิเคราะห์เป็ น
ปริ มาณวิเคราะห์ จึงต้องทาให้แฟคเตอร์ต่างๆ ที่มีอิทธิ พลต่ออัตราการย่อยสลายคงที่ นัน่ คือค่า BOD มาตรฐานต้อง
มีการบ่ม (Incubate) ที่อุณหภูมิ 20±1 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 5 วัน สาเหตุที่ใช้เวลาและอุณหภูมิดงั กล่าว เพราะที่
อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส Nitrifying bacteria เจริ ญเติบโตได้ชา้ ที่อุณหภูมิน้ ี ส่ วนการเลือกใช้เวลาบ่ม 5 วัน เพราะ
ถ้าใช้เวลามากกว่านี้การย่อยสลายสารอินทรี ยโ์ ดยเฉพาะแบคทีเรี ยจะเกิดขึ้นน้อยมาก

ปฏิกริ ิยาเคมี

1) เมื่อเติม MnSO4 และ Alkali-Iodide-Azide


Mn2+ + 2OH¯ Mn(OH)2 (ตะกอนสี ขาว)
ถ้าในน้ ามี O2 จะเกิดปฏิกิริยาต่อไปนี้
Mn(OH)2 + 1/2O2 MnO2+ 2H2O (ตะกอนสี น้ าตาล)

2) เมื่อเติมกรดกามะถันเข้มข้น I¯ จะถูกออกซิไดซ์ไปเป็ น I2
MnO2 + 2I¯+ 4H+ Mn2++ I2 + 2H2O

3) ไตเตรตด้วย Na2S2O3 เพื่อหาค่า I2 ที่เกิดขึ้น


I2 + 2S2O32¯ S4O62¯ + 2I¯
เครื่ องมือและอุปกรณ์

1) ตูอ้ ินคิวเบท ที่อุณหภูมิ 20±1 องศาเซลเซียส


2) ขวดบีโอดีขนาด 300 มิลลิลิตร พร้อมจุกและฝาครอบพลาสติก
3) ขวดรู ปชมพู่ขนาด 500 มิลลิลิตร
4) ดิจิตอลบิวเรต
5) อุปกรณ์เติมอากาศ
6) ขวดปรับปริ มาตรขนาด 200 มิลลิลิตร (ปรับปริ มาตรเป็ น 201 มิลลิลิตร)

สารเคมี

1) สารละลายแมงกานีสซัลเฟต (MnSO4) ละลาย MnSO4.H2O 364 กรัม ในน้ ากลัน่ และปรับปริ มาตรให้ครบ 1000
มิลลิลิตร ด้วยขวดวัดปริ มาตร
2) สารละลายอัลคาไลด์ ไอโอไดด์ เอไซด์ ละลาย NaOH 500 กรัม, NaI 135 กรัม ในน้ ากลัน่ และปรับปริ มาตรให้ครบ
1000 มิลลิลิตร ด้วยขวดวัดปริ มาตร จากนั้นผสมกับสารละลาย NaN3 10 กรัม ในน้ ากลัน่ 40 มิลลิลิตร
3) น้ าแป้ ง ละลายแป้ งมัน 8 กรัม ในน้ ากลัน่ ร้อน 500 มิลลิลิตร จากนั้นนาไปต้ม 2-3 นาที แล้วทิ้งไว้คา้ งคืนริ นส่ วนใส
ออกมาเติม salicylic acid 1 กรัม
4) สารละลายมาตรฐานโซเดียมไธโอซัลเฟต (Na2S2O3) 0.025 N ละลาย Na2S2O3.5H2O 12.4100 กรัม และ NaOH 0.8
กรัม ในน้ ากลัน่ และปรับปริ มาตรให้ครบ 2000 มิลลิลิตร ด้วยขวดวัดปริ มาตร (สารละลายนี้ ควรเทียบกับสารละลาย
KH(IO3)2)
5) กรดซัลฟิ วริ กเข้มข้น (conc. H2SO4)
6) สารละลายมาตรฐาน KH(IO3)2 0.025 N ละลาย KH(IO3)2 812.4 มิลลิกรัม (อบแห้งที่ อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซี ยส)
ในน้ ากลัน่ และปรับปริ มาตรให้ครบ 1000 มิลลิลิตร ด้วยขวดวัดปริ มาตร
7) สารเคมีสาหรับเตรี ยมน้ าผสมเจือจาง
7.1) สารละลายแมกนี เซี ยมซัลเฟต ละลาย MgSO4.7H2O 11.25 กรัม ในน้ ากลัน่ และปรับปริ มาตรให้ครบ 500
มิลลิลิตร ด้วยขวดวัดปริ มาตร
7.2) สารละลายแคลเซี ยมคลอไรด์ ละลาย CaCl2.2H2O 18.2 กรั ม ในน้ ากลั่น และปรับ ปริ มาตรให้ ครบ 500
มิลลิลิตร ด้วยขวดวัดปริ มาตร
7.3) สารละลายไอร์ ออน (3+) คลอไรด์ ละลาย FeCl3.6H2O 0.125 กรัม ละลายในน้ ากลัน่ และปรับปริ มาตรให้
ครบ 500 มิลลิลิตร ด้วยขวดวัดปริ มาตร
7.4) สารละลายฟอสเฟตบัฟ เฟอร์ ละลาย KH2PO4 4.25 กรัม , K2HPO4 10.875 กรั ม , Na2HPO4.7H2O 16.7 กรัม และ
NH4Cl 0.85 กรัม ในน้ ากลัน่ และปรับปริ มาตรให้ครบ 500 มิลลิลิตร ด้วยขวดวัดปริ มาตร (ค่า pH ควรเป็ น 7.2 โดยไม่มี
การปรับค่าเพิ่มเติม)
8) สารเคมีสาหรับน้ าผสมเจือจางเติมหัวเชื้อจุลินชีพ (seed)
8.1) 1% กลูโคส ละลายกลูโคส 0.25 กรัม ในน้ ากลัน่ และปรับปริ มาตรให้ครบ 25 มิลลิลิตร ด้วยขวดวัดปริ มาตร
8.2) สารละลายมาตรฐานกลูโคส-กลูตามิค ละลายกลูโคสและกลูตามิค (ที่อบแห้งที่อุณหภูมิ 103 องศาเซลเซียส นาน
1 ชัว่ โมง) อย่างละ 150 มิลลิกรัม ในน้ ากลัน่ และปรับปริ มาตรให้ครบ 1000 มิลลิลิตร ด้วยขวดวัดปริ มาตร
8.3) การเตรี ยมหัวเชื้อ (seed) ตวงน้ าผสมเจือจาง (Dilution Water) ปริ มาตร 500 มิลลิลิตร เติม1% กลูโคส ปริ มาตร 5
มิลลิลิตร และเติมจุลชีพที่เพาะไว้ (seed) 1 แคปซูล เป่ าอากาศเพื่อเพาะเชื้อนาน 1 ชัว่ โมง

การเทียบมาตรฐานสารละลายโซเดียมไธโอซัลเฟต 0.025 N

1) ชัง่ KI 2 กรัม ใส่ในขวดรู ปชมพู่


2) เติมน้ ากลัน่ ปริ มาตร 100 มิลลิลิตร
3) เติมสารละลายมาตรฐาน KH(IO3)2 0.025 N ปริ มาตร 10 มิลลิลิตร
4) เติม conc. H2SO4 2-3 หยด
5) เติมน้ ากลัน่ ปริ มาตร 90 มิลลิลิตร
6) ไทเทรตกับสารละลาย Na2S2O3 0.025 N ให้สารละลายเป็ นสี เหลืองอ่อน
7) เติมน้ าแป้งสุ กปริ มาตร 1 มิลลิลิตร (สารละลายเปลี่ยนเป็ นสี น้ าเงิน)
8) ไทเทรตต่อจนกระทัง่ สารละลายใสไม่มีสี จดบันทึกผล
9) นาปริ มาตรของ Na2S2O3 0.025 N ที่ใช้มาคานวณหาความเข้มข้นที่แท้จริ งด้วยสูตร

Normality, N of Na2S2O3 =
ขั้นตอนการทดสอบ

การเขียนสัญลักษณ์ข้างขวดบีโอดี
1) เขียนสัญลักษณ์ของน้ าตัวอย่าง เช่น น้ าผิวดิน แทนด้วยตัว R น้ าเสี ยหรื อน้ าทิ้ง แทนด้วย W
2) ตามด้วยหมายเลขน้ าตัวอย่างทับปี งบประมาณ เช่ น น้ าผิวดิ น หมายเลข 1 ปี งบประมาณ 2563 จะเขียนได้เป็ น
R1/63 และต่อด้วย %Dilution เช่น R1/63: 100

การหาปริมาณออกซิเจนที่ละลาย (DO)
1) นาน้ าตัวอย่างใส่ ขวดบีโอดีขนาด 300 มิลลิลิตร
2) เติมสารละลายแมงกานี สซัลเฟตปริ มาตร 1 มิลลิลิตร และเติมสารละลายอัลคาไลค์ ไอโอไดด์ เอไซด์
ปริ มาตร 1 มิลลิลิตร ปิ ดจุกและเขย่า เพื่อให้สารผสมกันอย่างทัว่ ถึง
3) ตั้งทิง้ ไว้ให้ตกตะกอน
4) เติม conc. H2SO4 ปริ มาตร 1 มิลลิลิตร ปิ ดจุกและเขย่า เพื่อให้ตะกอนละลาย
5) ตวงตัวอย่างปริ มาตร 201 มิลลิลิตร ใส่ ในขวดชมพู่ ขนาด 500 มิลลิลิตร เพื่อนาไปไทเทรต ทั้งนี้ เพื่อให้
ปริ ม าตรตัวอย่างนี้ มี ค่าเท่ากับ ปริ ม าตรน้ าตัวอย่างเริ่ มต้น 200 มิ ลลิลิ ตร อันจะเป็ นการง่ายต่อการคานวณ
เหตุที่เราใช้น้ าตัวอย่างในขวดบีโอดีปริ มาตร 201 มิลลิลิตร เนื่ องจากมีการสู ญเสี ยน้ าตัวอย่างจากขวดบีโอดี
โดยการแทนที่ ข องสารละลายที่ เติ ม ลงไปทั้ง สิ้ น 2 มิ ล ลิ ลิ ตร (สารละลายแมงกานี ส ซัล เฟต ปริ ม าตร 1
มิล ลิ ลิตร และสารละลายอัล คาไลค์ ไอโอไดด์ เอไซด์ ปริ มาตร 1 มิ ล ลิ ลิตร รวมเป็ น 2 มิล ลิ ลิตร) ดังนั้น
ปริ มาตรน้ าตัวอย่างในขวดบีโอดี ซึ่ งจะต้องใช้ในการไทเทรต เพื่อให้เป็ นการใช้น้ าตัวอย่างจริ งจานวน 200
มิลลิลิตร จึงควรเท่ากับ

201 มิลลิลิตร

6) ไทเทรตกับสารละลาย Na2S2O3 0.025 N ให้สารละลายเป็ นสี เหลืองอ่อน


7) เติมน้ าแป้งสุ กปริ มาตร 1 มิลลิลิตร (สารละลายเปลี่ยนเป็ นสี น้ าเงิน)
8) ไทเทรตต่อจนกระทัง่ สารละลายใสไม่มีสี จดบันทึกผล
การหาค่า BOD มี 2 วิธี
1) แบบตรง (Direct Method) ใช้ในกรณี น้ าตัวอย่างมี ค่า BOD น้อยกว่า 7 มิลลิก รัมต่อลิตร หรื อ
สังเกตได้จากความขุ่นของน้ าตัวอย่าง เช่น น้ าแม่น้ า คลอง บึง เป็ นต้น ซึ่ งวิธีแบบตรงจะใช้น้ า
ตัวอย่างในอัตราส่วน 100% โดยมีวิธีการดังนี้
1.1) เทน้ าตัวอย่างที่ มี อุณ หภู มิ ใกล้เคีย ง 20±3 องศาเซลเซี ยส ลงในบี ก เกอร์ พ ลาสติ ก ขนาด
2000 มิลลิลิตร
1.2) เติมอากาศประมาณ 1 ชัว่ โมง เพื่อให้ออกซิเจนละลายอิ่มตัว
1.3) ริ นน้ าตัวอย่างใส่ ขวดบีโอดี จานวน 3 ขวด
1.4) ใช้จุกเคาะข้างขวด เพื่อไล่ฟองอากาศ
1.5) ปิ ดจุก ใช้ฝาพลาสติกครอบปากขวด จานวน 2 ขวด นาเข้าตูอ้ ินคิ วเบทที่ อุณหภูมิ 20±1
องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 5 วัน แล้วนามาหาค่า DO5 จดบันทึกผล
1.6) ขวดที่เหลือให้นามาหาค่า DO0 จดบันทึกผล
1.7) ค านวณ หาค่ า BOD หลั ง จากได้ ค่ า DO5 ที่ อ อกจากตู้ อิ น คิ ว เบท ที่ อุ ณ หภู มิ 20±1
องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 5 วันแล้ว นามาคานวณหาค่า BOD
2) วิธี ท าให้ เจื อจาง (Dilution Method) ใช้ใ นกรณี น้ าตัวอย่า งมี ค วามสกปรกสู ง และมี ค่ า BOD
มากกว่า 7 มิลลิกรัมต่อลิตร หรื อสังเกตได้จากความขุ่นของน้ าตัวอย่างมีมาก จาเป็ นต้องเจือจาง
น้ าตัวอย่างด้วยน้ าผสมเจือจาง (Dilution Water) วิธีการทาให้เจือจางสามารถทาได้โดย นาน้ า
ตัวอย่างมาผสมกับน้ าเจือจางที่เตรี ยมขึ้น ในอัตราส่ วนที่เป็ นเปอร์ เซ็นต์ ตามความเหมาะสมโดย
ตัวอย่าง 1 ตัวอย่าง ควรทาอย่างน้อย 3 Dilution ซึ่ง %Dilution ที่เหมาะสมคือ
- %Dilution ที่ทาให้ค่า DO ลดลงอย่างน้อย 2 มิลลิกรัมต่อลิตร
- %Dilution ที่ทาให้ค่า DO ที่เหลือหลังจากอินคิวเบท 5 วัน เหลือไม่นอ้ ยกว่า 1 มิลลิกรัม
ต่อลิตร
ตารางที่ 1 แสดงการประมาณค่า BOD ใน % Dilution ต่างๆ

%Dilution BOD (mg/L) %Dilution BOD (mg/L)


0.01 50000 – 70000 2.0 100 – 350
0.02 10000 – 35000 5.0 40 – 140
0.05 4000 – 14000 10 20 - 70
0.1 2000 – 7000 20 10 – 35
0.2 1000 – 3500 50 4 – 14
0.5 400 – 1400 100 0-7
1.0 200 – 700
วิธีการเตรียมน้าผสมเจือจาง (Dilution Water)
1) ค านวณปริ มาตรน้ าผสมเจื อ จาง (Dilution Water) ที่ ต้อ งการใช้ โ ดยปริ มาตรน้ าตั ว อย่ า งที่ ต้ อ งการ
(มิลลิลิตร) = %Dilution X 10
2) นาน้ ากลัน่ ที่กลัน่ ใหม่ตามปริ มาตรที่คานวณได้มาปรับอุณหภูมิให้ใกล้เคียง 20±3 องศาเซลเซียส มาเติม
สารละลายแมกนี เซี ย มซั ล เฟต สารละลายแคลเซี ย มคลอไรด์ สารละลายไอออน (3+) คลอไรด์ และ
สารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ อย่างละ 1 มิลลิลิตร ต่อน้ ากลัน่ 1000 มิลลิลิตร
3) เติมอากาศประมาณ 1 ชัว่ โมง เพื่อให้ออกซิเจนละลายอิ่มตัว

วิธีเจือจาง
1) ตวงน้ าตัวอย่างตามปริ มาตรที่คานวณไว้ใส่กระบอกตวงขนาด 1000 มิลลิลิตร
2) เติมน้ าผสมเจือจางจนครบ 1000 มิลลิลิตร
3) ผสมให้เข้ากันโดยใช้แท่งพลาสติกเสี ยบจุกยาง ชักขึ้นลงประมาณ 20 ครั้ง
4) ริ นใส่ขวดบีโอดีจานวน 3 ขวด
5) ใช้จุกเคาะข้างขวดเพื่อไล่ฟองอากาศ
6) ปิ ดจุก ใช้ฝาพลาสติกครอบปากขวด จานวน 2 ขวด นาเข้าตูอ้ ินคิวเบทที่อุณหภูมิ 20±1 องศาเซลเซียส
เป็ นเวลา 5 วัน แล้วนามาหาค่า DO5
7) ขวดที่เหลือนามาหาค่า DO0
8) คานวณหาค่า BOD หลังจากได้ค่า DO5 ที่ออกจากตูอ้ ินคิวเบทที่อุณหภูมิ 20±1 องศาเซลเซียส

สู ตรการคานวณ

BOD (mg/L) =

เมื่อ DO0 = ค่า DO ของน้ าตัวอย่างในวันแรก


DO5 = ค่า DO ของน้ าตัวอย่างที่อินคิวเบทแล้ว 5 วัน
การควบคุมคุณภาพผลการทดสอบ

ส่ วนที่ 1 blank
1) เตรี ยมน้ าผสมเจือจาง (Dilution Water)
2) เติมอากาศประมาณ 1 ชัว่ โมง เพื่อให้ออกซิเจนละลายอิ่มตัว
3) ริ นใส่ขวดบีโอดีจานวน 3 ขวด
4) ใช้จุกเคาะข้างขวดเพื่อไล่ฟองอากาศ
5) ปิ ดจุก ใช้ฝาพลาสติกครอบปากขวด จานวน 2 ขวด นาเข้าตูอ้ ิน คิวเบทที่อุณหภูมิ 20±1 องศาเซลเซี ยส
เป็ นเวลา 5 วัน แล้วนามาหาค่า DO5
6) ขวดที่เหลือนามาหาค่า DO0
7) คานวณหาค่า BOD หลังจากได้ค่า DO5 ที่ออกจากตูอ้ ินคิวเบทที่อุณหภูมิ 20±1 องศาเซลเซียส

ส่ วนที่ 2 การตรวจสอบโดยใช้ กลูโคส-กลูตามิค


1) ตวงน้ ากลัน่ ปริ มาตร 500 มิลลิ ลิตร มาเติมสารละลายแมกนี เซี ยมซัลเฟต สารละลายแคลเซี ยมคลอไรด์
สารละลายไอออน (3+) คลอไรด์ และสารละลายฟอสเฟตบัฟ เฟอร์ อย่างละ 0.5 มิ ล ลิ ลิ ต ร เติ ม 1%
กลูโคสปริ มาตร 5 มิลลิลิตร และเติม 1 แคปซูล Hach Polyseed แล้วเป่ าให้อากาศประมาณ 1 ชัว่ โมง
2) เตรี ยม seed 10 มิลลิลิตร/ลิตร โดยปิ เปตสารจากข้อ 1 มาปริ มาตร 10 มิลลิลิตร ใส่ ในขวดปรับปริ มาตร
ขนาด 1000 มิลลิลิตร และปรับปริ มาตรด้วยน้ าผสมเจือจาง (Dilution Water) ให้ครบ 1000 มิลลิลิตร
3) QC (glucose+glutamic) ปิ เปตสารสารละลายมาตรฐานกลู โคส-กลูตามิ ค ปริ ม าตร 20 มิ ล ลิ ลิ ต ร ลงใน
กระบอกตวง ขนาด 1000 มิลลิลิ ตร และปรับปริ มาตรด้วยสารจากข้อ 2 ให้ครบปริ มาตร 1000 มิลลิลิตร
ผสมให้เข้ากันโดยใช้แท่งพลาสติกเสี ยบจุกยางชักขึ้นลงประมาณ 20 ครั้ง แล้วเทลงในขวด BOD ให้ครบ
3 ขวด
4) เตรี ยม seed 50 มิลลิลิตร/ลิตร โดยการปิ เปตสารข้อ 1) มาปริ มาตร 50 มิลลิลิตร ลงในกระบอกตวง ขนาด
1000 มิลลิลิตร และปรับปริ มาตรด้วยน้ าผสมเจือจาง (Dilution Water) ให้ครบ 1000 มิลลิลิตร ผสมให้เข้า
กันโดยใช้แท่งพลาสติกเสี ยบจุกยางชักขึ้นลงประมาณ 20 ครั้ง เทลงในขวด BOD ให้ครบ 3 ขวด
5) ใช้จุกเคาะข้างขวด ข้อ 3 และ 4 เพื่อไล่ฟองอากาศ
6) ปิ ดจุก ใช้ฝาพลาสติก ครอบปากขวดข้อ 3 และ 4 จานวนข้อละ 2 ขวด นาเข้าตูอ้ ินคิวเบทที่อุณหภูมิ
20±1 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 5 วัน แล้วนามาหาค่า DO5
7) ขวดที่เหลือนามาหาค่า DO0
8) คานวณหาค่า BOD หลังจากได้ค่า DO5 ที่ออกจากตูอ้ ินคิวเบทที่อุณหภูมิ 20±1 องศาเซลเซียส
สู ตรการคานวณ (ส่ วนที่ 2 ต่อ)

BOD (mg/L) = ((DO0-DO5)-[(DO3-DO4) X f])


P
DO0 = DO0 ของ QC
DO5= DO5 ของ QC
DO3 = DO0 ของ Seed Control
DO4 = DO5 ของ Seed Control
f = ปริ มาตรของ Seed ในน้ าเจือจาง (Dilution water)/ ปริ มาตรของ Seed Control
P = อัตราส่ วนโดยปริ มาตรของตัวอย่างน้ าที่ใช้ในการทดสอบ (%Dilution ต่อ 100)

เกณฑ์ การเลือกค่ าและการควบคุมคุณภาพ

1) กรณีเจือจางตัวอย่าง Blank ต้องมีค่า BOD น้อยกว่า 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร


2) DO0 - DO5 ต้องมีค่าอย่างน้อย 2 มิลลิกรัมต่อลิตร
3) DO5 ต้องเหลือมากกว่า 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
4) กรณี ทาซ้ า %RPD ต้องมีค่าน้อยกว่า 15%
5) กรณีการตรวจสอบโดยใช้กลูโคส-กลูตามิค ต้องมีค่า BOD อยูใ่ นช่วง 19830.5 mg/L

ปัจจัยทั่วไปที่มีผลกระทบต่อการทดสอบ

1) การสอบเทียบและบารุ งรักษาเครื่ องชัง่ เครื่ องมือและเครื่ องแก้ววัดปริ มาตร


2) อุปกรณ์และเครื่ องแก้วต่างๆ ต้องสะอาดปราศจากสารอินทรี ยแ์ ละไม่มีสารพิษปนเปื้ อน
3) ค่าความถูกต้องของความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานที่ใช้ในการทดสอบ

4) ค่าความคลาดเคลื่อนจากการอ่านจุดยุติในการไทเทรต ควรปฏิบตั ิตามวิธีการทดสอบอย่าง


เคร่ งครัด
5) ความผิดพลาดของการคานวณ หน่วยรายงานผลการทดสอบและการถ่ายโอนข้อมูล
ข้อแนะนาสาหรับการวิเคราะห์ BOD

1) อุณหภูมิของตูค้ วบคุมอุณหภูมิควรมีค่า 20±1 องศาเซลเซี ยส ตลอดระยะเวลา 5 วัน ไม่ควรมี


ค่าเพิ่มขึ้นหรื อลดลง เพราะจะทาให้ได้รับค่าบีโอดีผิดจากค่าจริ ง
2) ขวดบีโอดีที่นามาบ่มในตูค้ วบคุมอุณหภูมิตอ้ งปิ ดจุกขวดให้แน่ น และมี น้ าหล่อบนจุกขวด
เสมอหรื อมีฝาครอบกันน้ าระเหย
3) การเติ ม ออกซิ เจน โดยการเติ ม อากาศในน้ าตัวอย่างหรื อน้ าส าหรั บ เจื อจางจะต้องแน่ ใจว่า
น้ าดังกล่าวอิ่มตัวด้วยออกซิเจนก่อนนาไปใช้
4) น้ ากลั่นที่ ใช้ส าหรั บ เจื อจางสารละลายตัวอย่าง ควรจะต้องมี ค วามบริ สุ ท ธิ์ และปราศจาก
โลหะหนัก (โดยเฉพาะทองแดง) และสารพิษจาพวกคลอรี น ซึ่งจะรบกวนการทดสอบบีโอดี
5) น้ าสาหรับการเจือจางควรเก็บในภาชนะที่สะอาด และไม่ควรเก็บไว้เกิน 24 ชัว่ โมง หลังจาก
เติมสารอาหาร แร่ ธาตุ และบัฟเฟอร์ แล้ว และควรหลีกเลี่ยงการใช้น้ าสาหรับเจือจางที่มีค่าบีโอดี
ของแบลงค์มากกว่า 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร
6) การเลือกอัตราส่ วนผสมในการเจือจางปริ มาณตัวอย่า ง ควรเลือกในอัตราส่ วนให้เหมาะสม
และควรเจื อจางไม่น้อยกว่า 2 ช่วงความเข้มข้น ในกรณี ที่ไม่ทราบว่าจะเลือกใช้ปริ มาณเท่าใด
ควรหาค่าซีโอดีก่อนเพื่อเป็ นแนวทางให้ทราบค่าประมาณของบีโอดี
7) ควรมีระบบการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพที่เหมาะสมในการทดสอบ
ภาคผนวก

เทน้ าตัวอย่างที่มีอุณหภูมิใกล้เคียง 20±3 C


ลงในบีกเกอร์พลาสติกขนาด 2000 มิลลิลิตร
ริ นน้ าตัวอย่างใส่ ขวดบีโอดี จานวน 3 ขวด ใช้จุกเคาะข้างขวด เพื่อไล่ฟองอากาศ
และเติมอากาศประมาณ 1 ชัว่ โมง เพื่อให้
ออกซิเจนละลายอิ่มตัว

เติมสารละลายแมงกานีสซัลเฟตปริ มาตร 1 มิลลิลิตร และ


ปิ ดจุก ใช้ฝาพลาสติกครอบปากขวด จานวน 2 ขวด
เติมสารละลายอัลคาไลค์ไอโอไดด์เอไซด์ปริ มาตร
นาเข้าตูอ้ ินคิวเบทที่อุณหภูมิ 20±1 องศาเซลเซียส
1 มิลลิลิตร ปิ ดจุกและเขย่า เพื่อให้สารผสมกันอย่างทัว่ ถึง ขวดที่เหลือให้นามาหาค่า DO0
เป็ นเวลา 5 วัน แล้วนามาหาค่า DO5 จดบันทึกผล
ตั้งทิง้ ไว้ให้ตกตะกอน เติม conc. H2SO4 ปริ มาตร 1 มิลลิลิตร
ปิ ดจุกและเขย่า เพื่อให้ตะกอนละลาย

ไทเทรตกับสารละลาย Na2S2O3 0.025 N


ให้สารละลายเป็ นสี เหลืองอ่อนเติมน้ าแป้งสุ ก
ปริ มาตร 1 มิลลิลิตร (สารละลายจะเปลี่ยนเป็ น ตวงตัวอย่างปริ มาตร 201 มิลลิลิตร ใส่ในขวด
สี น้ าเงินและไทเทรตต่อจนกระทัง่ สารละลาย ชมพู่ขนาด 500 มิลลิลิตร เพื่อนาไปไทเทรต
ใสไม่มีสี จดบันทึกผล

หมายเหตุ: ในกรณี วิเคราะห์หาค่า DO5 ให้ทาเช่นเดียวกับ DO0

You might also like