You are on page 1of 35

กระบวนการโอโซนเนชัน

และเมมเบรน
OUTLINE
บทนำ

ทฤษฎีและงานวิจัย
ที่เกี่ยวข้อง

วิธีการทำงาน
1

บทนำ
2

ที่มาและความสำคัญ

อุตสาหกรรมสิ่งทอเป็นอุตสาหกรรมที่ส่งผลโดยตรงต่อมลพิษทางน้ำ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากอุตสาหกรรมฟอกย้อม
ส่วนใหญ่เกิดจากการใช้น้ำสารเคมีและสีย้อมในปริมาณมาก เนื่ องจากในระหว่างกระบวนการผลิตสิ่งทอมีการใช้น้ำเป็น
ส่วนสำคัญต่อกระบวนการฟอกย้อม สารเคมีหลักที่ใช้ในการย้อมเส้นใยคือสีย้อม ลักษณะน้ำเสียที่เกิดขึ้นจะมีสีเข้ม
อุณหภูมิสูง ค่าของแข็งละลายน้ำและของแข็งแขวนลอยทั้งหมดสูง ค่าปริมาณสารอินทรีย์ในรูปซีโอดีสูง
น้ำเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตและการล้างอุปกรณ์ในโรงงานสิ่งทอจะมีสีและเกลือปนเปื้ อน โดยเฉพาะน้ำเสียจาก
การลอกแป้งฟอกขาวและย้อมสีจะมีค่าบีโอดี และซีโอดีสูง โรงงานส่วนใหญ่จะมีการระบายน้ำเสียลงรางระบายน้ำเสีย
ภายในโรงงาน แล้วน้ำเสียจะถูกรวบรวมและส่งไปบำบัดที่ระบบบำบัดน้ำเสียก่อนระบายออกสู่สิ่งแวดล้อมต่อไป การ
บำบัดน้ำเสียในโรงงานสิ่งทอนั้ นมีความซับซ้อน เนื่ องจากสีย้อมและสารเคมีที่ใช้ในกระบวนการผลิตมีโครงสร้างที่ซับ
ซ้อนยากต่อการกำจัด ส่วนใหญ่จึงต้องใช้ระบบบำบัดทางเคมีแล้วตามด้วยระบบบำบัดทางชีวภาพ ในปัจจุบันการบำบัดน้ำ
เสียจากโรงงานอุตสาหกรรมฟอกย้อมมีหลายวิธี เช่น การตกตะกอนด้วยสารเคมี การออกซิเดชันด้วยโอโซน
กระบวนการใช้เยื่อกรอง และกระบวนการทางชีวภาพ เป็นต้น
3
แผนผังกระบวนการทางอุตสาหกรรม
เส้นใยประดิษฐ์ เส้นใยประดิษฐ์ ขนสัตว์, ฝ้าย

การเตรียมเส้นใย
การทำพื้นผิว การทำให้งอ

การปั่ นด้าย การก่อตัวของเส้นด้าย


การเฉือน

การทำพื้นผิว การถัก
การทอผ้า

ขั้นเตรียม

การลดขนาด การก่อตัวของเส้นด้าย

การฟอกสี การชุบด้วยด่าง

การย้อมสี, การพิมพ์

จบ
ที่มา : https://www.semanticscholar.org/reader/14929b1ade769fcf8683aa2fa54aa3d72907bc4a
แหล่งกำเนิดของเสียและการจัดการด้านสิ่ งแวดล้อมในโรงงานสิ่ งทอ
4
เส้นด้าย

สารเคมีที่ใช้ น้ำเสีย
สารพวกอัคคาไลน์ เช่น โซดาไฟ การขจัดสิ่งสกปรกเจือปน ค่า BOD , SS และ TS สูง
(NaOH) โซดาแอช (Na2CO3) (SCOURING) สภาพเป็นด่าง
สารช่วยขจัดสิ่งสกปรก (Souring agent) อุณหภูมิสูง

สารเคมีที่ใช้
น้ำเสีย
ไฮเปอร์เจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2)
การฟอกขาว ค่า BOD , pH และ TS สูง
โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (NaClO)
(BLEACHING) อากาศเสีย
โซเดียมคลอไรท์ (NaClO2)
ไอระเหยของสารเคมีที่ใช้
กรด/ด่าง

สารเคมีที่ใช้ น้ำเสีย
สีย้อม การย้อม ค่า BOD สูง
สารเคมีช่วยย้อม (DYEING) น้ำมีสีเข้ม
สารอัคคาไลน์ หรือ กรด TS สูง

น้ำเสีย
สารเคมีที่ใช้ การล้างน้ำสบู่
น้ำสบู่
Soaping agent (SOAPING) BOD ต่ำ

ด้ายย้อมที่สำเร็จ
5
แผนผังกระบวนการตกตะกอน
6

กระบวนการตกตะกอนด้วยสารเคมี (Chemical Coagulation)

เป็นกระบวนการกำจัดสีที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง โดยมักใช้ร่วมกับการปรับค่าความเป็นกรดด่าง สามารถใช้เป็นกระ


บวนการบำบัดขั้นต้น ก่อนกระบวนการบำบัดทางชีววิทยา สารตกตะกอนที่นิ ยมใช้ คือ ปูนขาว และสารส้ม ซึ่งจะทำให้เกิด
ตะกอนของสีจมตัวลงในน้ำทิ้ง จากนั้ นทำให้น้ำทิ้งเป็นกลางก่อนปล่อยลงท่อน้ำทิ้ง เทคนิ คนี้ สามารถกำจัดสีออกได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ แต่เนื่ องจากน้ำทิ้งจะมีลักษณะแตกต่างไปตามชนิ ดของโมเลกุลสีย้อม ถ้าสีย้อมมีโมเลกุลเล็ก เช่น สีประเภท
แอซิด สีรีแอกทีฟ การเกิดตะกอนของสีโดยใช้สารส้มจะไม่สามารถทำได้
7
ลักษณะน้ำเสียจากสิ่ งทอ ก่อนการบำบัดด้วยกระบวนการ Coagulation

พารามิเตอร์ ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ

pH 7.85 ± 0.4

Conductivity, mS/cm 13.36 ± 2.0

Color, Pt-Co 3500 ± 260

COD, mg/L 120 ± 16

TOC, mg/L 35 ± 2.3

Alkalinity, mg/L 120 ± 9.0

TSS, mg/L 85 ± 12

Hardness, mg CaCO
3 /L 950 ± 48

ที่มา: M.I. Aydin et al, 2017 วิจัยเรื่อง”เปรียบเทียบวิธีการลดสีด้วยกระบวนการ


โอโซเนชั่นกับกระบวนการตกตะกอนทางเคมีจากน้ำเสียอุตสาหกรรมฟอกย้อม”
8

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง
พารามิเตอร์ หน่วย กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย
น้ำทิ้งจากโรงงาน พ.ศ. 2560

ความเป็นกรดและด่าง (pH) - 5.5 - 9.0

อุณหภูมิ (Temperature) °C 40

สี (Color) ADMI 300

(1) กรณีระบายลงแหล่งน้ำ mg/l 3,000


ของแข็ง
ละลายน้ำ
(2) กรณีระบายลงแหล่งน้ำที่
ทั้งหมด
มีค่าของแข็งละลายน้ำ mg/l 5,000*
(TDS)
ทั้งหมดเกิน 5,000 mg/l

ของแข็งแขวนลอยทั้งหมด (TSS) mg/l 50

บีโอดี (BOD) mg/l 20

ซีโอดี (COD) mg/l 120

ซัลไฟด์ (Sulfide) mg/l 1

ไซยาไนด์ (Cyanides CN) mg/l 0.2

น้ำมันและไขมัน (Oil and Grease) mg/l 5

ฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde) mg/l 1

สารประกอบฟีนอล (Phenols) mg/l 1

คลอรีนอิสระ (Free Chlorine) mg/l 1

ทีเคเอ็น (Total Kjeldahl Nitrogen) mg/l 100


9

ลักษณะน้ำเสียจากสิ่ งทอที่ผ่านการบำบัดด้วย
กระบวนการ Coagulation
10
1. การบำบัดด้วย Metal Coagulation

ตาราง แสดงประสิทธิภาพการกำจัด COD a)alum b)Ferric Chloride


ด้วย Metal Coagulation
กราฟ แสดงประสิทธิภาพการกำจัดสีด้วย Metal Coagulation

Alum ที่ปริมาณ 300 mg/L สามารถกำจัด COD ได้สูงสุดที่ 58% จากกราฟ แสดงให้เห็นว่าประสิทธิภาพการกำจัดสี ได้เกินกว่าเกณฑ์
ดังนั้ นจะเหลือประมาณ COD ในระบบ 50.4 ± 16 mg/L มาตรฐาน (เกณฑ์มาตรฐานคือ 280 Pt-co)

FeCl3 ที่ปริมาณ 500 mg/L สามารถกำจัด COD ได้สูงสุดที่ 73%


ดังนั้ นจะเหลือประมาณ COD ในระบบ 32.4 ± 16 mg/L ที่มา: M.I. Aydin et al, 2017 วิจัยเรื่อง”เปรียบเทียบวิธีการลดสีด้วยกระบวนการ
โอโซเนชั่นกับกระบวนการตกตะกอนทางเคมีจากน้ำเสียอุตสาหกรรมฟอกย้อม”
11
2.
การบำบัด Coagulation with
commercial polymer coagulants

a) Polyethylene polyamine (PP) b) Cyanoguanidine Polymer (CP)


ตาราง แสดงประสิทธิภาพการกำจัด COD
กราฟ แสดงประสิทธิภาพการกำจัดสีด้วย polymer Coagulation
ด้วย polymer Coagulation

CP ที่ปริมาณ 200 mg/L สามารถกำจัด COD ได้สูงสุดที่ 47% จากกราฟ แสดงให้เห็นว่าประสิทธิภาพการกำจัดสี ได้ต่ำกว่าเกณฑ์
ดังนั้ นจะเหลือประมาณ COD ในระบบ 63.6 ± 16 mg/L มาตรฐาน (เกณฑ์มาตรฐานคือ 280 Pt-co)

PP ที่ปริมาณ 100-200 mg/L สามารถกำจัด COD ได้สูงสุดที่ 18%


ดังนั้ นจะเหลือประมาณ COD ในระบบ 98.4 ± 16 mg/L ที่มา: M.I. Aydin et al, 2017 วิจัยเรื่อง”เปรียบเทียบวิธีการลดสีด้วยกระบวนการ
โอโซเนชั่นกับกระบวนการตกตะกอนทางเคมีจากน้ำเสียอุตสาหกรรมฟอกย้อม”
12
3.
การบำบัดด้วย Ozone application
for the decolorization of BTTWW

ตาราง แสดงประสิทธิภาพการกำจัด COD


กราฟ แสดงประสิทธิภาพการกำจัดสีด้วย Ozonation
ด้วย Ozonation

Ozonation สามารถกำจัด COD ได้ภายใน 5 นาทีแรก โดยมี


ประสิทธิภาพการบำบัดอยู่ที่ 27% จากกราฟ แสดงให้เห็นว่าประสิทธิภาพการกำจัดสี ได้ต่ำกว่าเกณฑ์
ดังนั้ นจะเหลือประมาณ COD ในระบบ 87.6 ± 16 mg/L
มาตรฐาน (เกณฑ์มาตรฐานคือ 280 Pt-co)
Ozonation สามารถกำจัด COD ได้สูงสุดที่ 20 นาที โดยมี
ประสิทธิภาพการบำบัดอยู่ที่ 33% ที่มา: M.I. Aydin et al, 2017 วิจัยเรื่อง”เปรียบเทียบวิธีการลดสีด้วยกระบวนการ
ดังนั้ นจะเหลือประมาณ COD ในระบบ 80.4 ± 16 mg/L โอโซเนชั่นกับกระบวนการตกตะกอนทางเคมีจากน้ำเสียอุตสาหกรรมฟอกย้อม”
13
สรุป
Metal Coagulation commercial polymer coagulants
Ozonation
Polyethylene Cyanoguanidine
alum Ferric Chloride
polyamine (PP) Polymer (CP)

COD removal
31 - 58 24 - 73 2 - 47 18 27 - 33
efficiencies (%)

Color removal เกินกว่าเกณฑ์ เกินกว่าเกณฑ์ อยู่ในเกณฑ์ อยู่ในเกณฑ์ อยู่ในเกณฑ์


efficiencies (%) มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน

*เกณฑ์มาตรฐานของประเทศตุรกี คือ 280 Pt-co

ระบบ Ozonation เป็นตัวเลือกที่ดีกว่า Coagulation


ที่มา: M.I. Aydin et al, 2017 วิจัยเรื่อง”เปรียบเทียบวิธีการลดสีด้วยกระบวนการโอโซเนชั่นกับกระบวนการตกตะกอนทางเคมีจากน้ำเสียอุตสาหกรรมฟอกย้อม”
14
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

เปรียบเทียบวิธีการลดสีด้วยกระบวนการโอโซนเนชั่นกับ
กระบวนการตกตะกอนทางเคมีจากน้ำเสียอุตสาหกรรมฟอกย้อม
ที่มา: M.I. Aydin et al, 2017

ศึกษาประสิทธิภาพการลดสีและกำจัด COD ของกระบวนการตกตะกอนทางเคมี


ด้วย Metal Coagulation (alum และ Ferric Chloride)
ศึกษาประสิทธิภาพการลดสีและกำจัด COD ของกะบวนการตกตะกอนทางเคมี
ด้วย commercial polymer coagulants (Polyethylene polyamine ; PP และ
Cyanoguanidine Polymer ; CP)
ศึกษาประสิทธิภาพการลดสีและกำจัด COD ด้วยกระบวนการ Ozonation

ศึกษาเพื่อเปรียบเทียบหากระบวนการที่เหมาะสมที่สุด ก่อนการบำบัดด้วยกระบวน
การเมมเบรน
เนื่องจากการบำบัดด้วยกระบวนการเมมเบรนที่เปื้ อนสีย้อม ยากต่อการทำ
ความสะอาดมาก จึงจำเป็นต้องหาวิธีการลดสีก่อนการเข้าสู่ระบบเมมเบรน
15
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

เปรียบเทียบวิธีการลดสีด้วยกระบวนการโอโซนเนชั่นกับ
กระบวนการตกตะกอนทางเคมีจากน้ำเสียอุตสาหกรรมฟอกย้อม
ที่มา: M.I. Aydin et al, 2017

Ferric Chloride และ Alum ไม่ได้ลดสีให้ต่ำกว่ามาตรฐาน


ในการทดลองใด ๆ แม้ว่าจะใช้ปริมาณสูง
ดังนั้น การใช้กระบวนการ Ozonation จึงตอบโจทย์มากกว่า
จากรายงานของอาราฟัต พบว่า metal salts ไม่ผ่าน
มาตรฐานการปล่อยมลพิษของอุตสาหกรรมสิ่งทอ
การให้โอโซนล่วงหน้ า 5 นาทีเหมาะสมในช่วยลดปริมาณ
สังเคราะห์ฝ้าย
ตะกอนโพลีเมอร์ และทำให้ต้นทุนการลดสีของ BTTWW
polymer coagulants สามารถลดสีได้ แต่ประสิทธิภาพใน
ด้วย polymer coagulants มีต้นทุนลดลง
การลดความเข้มข้นของซีโอดียังไม่ดีพอ
การให้โอโซนล่วงหน้ า 10 นาทียังช่วยลดปริมาณการตก
จากการวิเคราะห์ต้นทุนแสดงให้เห็นว่าการบำบัดแบบคู่
ตะกอน polymer coagulants (จากเกือบ 200 mg/l เป็น 50
ของ Ozonation และ polymer coagulants ดีกว่าการ
mg/l) และราคา (PP: จาก 0.50 ถึง 0.27 €/m3 และ CP: จาก
บำบัดเดี่ยวๆ
0.45 ถึง 0.26 €/m3 )
แต่ polymer coagulants มีปัญหาความเป็นพิษตกค้าง
เนื่ องจากโมโนเมอร์ที่ไม่ทำปฏิกิริยาสารเคมี
16
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การบำบัดน้ำเสียสีย้อมสังเคราะห์ด้วยกระบวนการโอโซนเนชันที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา
ที่มา: ธัญวรรณ กฤษณะพูกต์ และ ชลอ จารุสุทธิรักษ์, 2559

ศึกษาประสิทธิภาพการใช้กระบวนการโอโซเนชันร่วมกับตัวเร่งปฏิกิริยาในการกำจัดสีย้อมในน้ำเสียสังเคราะห์ที่มีสี Reactive Red 2 เป็น


องค์ประกอบ

สรุปผลการทดลอง
ผลของความเข้มข้นสีย้อมต่อการบำบัดด้วยกระบวนการโอโซนเนชัน
พบว่าความเข้มข้นของสีย้อมมีผลต่อประสิทธิภาพการกำจัดสีย้อม เมื่อความเข้มข้นของสี
ย้อมมากขึ้นทำให้ประสิทธิภาพการกำจัดสีย้อมต่ำลง

ผลของค่าพีเอชต่อการกำจัดสีย้อมด้วยกระบวนการโอโซเนชัน
พบว่า ค่าพีเอชที่ใช้ในการกำจัดสีย้อมมากขึ้น (สภาวะเบส) จะทำให้กำจัดสีย้อมได้มี
ประสิทธิภาพมากที่สุด
17
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง(ต่อ)

การบำบัดน้ำเสียสีย้อมสังเคราะห์ด้วยกระบวนการโอโซนเนชันที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา
ที่มา: ธัญวรรณ กฤษณะพูกต์ และ ชลอ จารุสุทธิรักษ์, 2559

การกำจัดสีย้อมด้วยกระบวนการโอโซเนชันร่วมกับตัวเร่งปฏิกิริยา
พบว่ามีประสิทธิภาพในการกำจัดสีย้อมได้ดีกว่าการใช้โอโซนเพียงอย่าง
เดียว

ผลการศึ กษาลักษณะการเกิดปฏิกิริยาทั้งการใช้โอโซนและการใช้
โอโซนร่วมกับตัวเร่งปฏิกิริยา
พบว่าเป็นไปตามปฏิกิริยาอันดับหนึ่ ง และค่าคงที่อัตราเร็วของการเกิด
ปฏิกิริยา (k) ของการใช้กระบวนการโอโซเนชันร่วมกับตัวเร่งปฏิกิริยามีค่า
มากกว่าการใช้โอโซนเพียงอย่างเดียว
18
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การใช้กระบวนการเมมเบรนแบบผสมผสานสำหรับการฟื้ นฟูน้ำเสียจากการย้อมสิ่ งทอ
ที่มา: Sheng-jie You et al, 2007

ศึกษาคุณสมบัติของ Sequencing batch reactor (SBR), Aerobic membrane bioreactor (AMBR), Anaerobic-oxic membrane
bioreactor (AOMBR) และกระบวนการ AOMBR/RO เพื่อบำบัดน้ำเสียจากการย้อมสิ่งทอสังเคราะห์ (Reactive Black 5)

ความเข้มข้นน้ำทิ้งของกระบวนการทั้งสี่ ประสิทธิภาพการกำจัดของกระบวนการทั้งสี่

สรุปผล การศึกษานี้ ใช้กระบวนการ SBR, AMBR, AOMBR และ AOMBR/RO ในการบำบัด Reactive Black 5 ที่มีน้ำเสียจากการย้อมสิ่งทอ
เพื่อยืนยันศักยภาพของการนำน้ำเสียกลับมาใช้ใหม่ หลังจากดำเนิ นการตามกระบวนการนานกว่า 2 ปี ความเข้มข้นเฉลี่ยของ SS และ BOD
พบว่ากระบวนการทั้งหมดที่มีหน่ วยเมมเบรนเป็นไปตามเกณฑ์น้ำทิ้งของ EPA ของไต้หวัน แต่มีเพียงกระบวนการ AOMBR/RO เท่านั้ นที่ตรง
ตามเกณฑ์การนำน้ำกลับมาใช้ใหม่สำหรับการล้างห้องน้ำ การจัดสวน การชลประทาน การโรย และการใช้น้ำหล่อเย็น
19

ทฤษฎี
20
ทฤษฎี

กระบวนการโอโซนเนชัน (Ozonation processes)

เป็นวิธีที่ได้รับความนิ ยมในการบําบัดน้ํ าเสียจากอุตสาหกรรมฟอกย้อม เนื่ องจากโอโซนเป็นตัวออกซิไดซ์ที่

รุนแรง มีประสิทธิภาพสูงในการทําลายโครงสร้างของสีในน้ํ าเสียและใช้เวลาในการบําบัดได้เร็วกว่าวิธีการอื่น

การเกิดปฏิกิริยาในกระบวนการโอโซเนชั่นสามารถเกิดขึ้น ผ่านกลไก 2 ชนิ ด ได้แก่

1. ปฏิกิริยาการสลายตัวทางตรง 2. ปฏิกิริยาทางอ้อม
21
ทฤษฎี

การกําจัดสารอินทรีย์ธรรมชาติด้วยกระบวนการโอโซนเนชัน

โอโซน (Ozone) คือ รูปแบบหนึ่ งของออกซิเจนที่สามารถทําปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation) กับสารอินทรีย์และสารอนิ

นทรีย์ได้เกือบทุกชนิ ด ทั้งในน้ํ าและอากาศ โอโซนเป็นก๊าซที่ไม่เสถียรสามารถเปลี่ยนเป็นออกซิเจนได้เมื่อโดนความร้อน ทํา

ให้ไม่สามารถผลิตก๊าซโอโซนที่มีความหนาแน่ นสูง

โอโซนสามารถผลิตได้โดยกระบวนการนํ าอากาศ หรือ ออกซิเจนผ่านสนามไฟฟ้าแรงสูง (Dielectric barrier discharge)

ทําให้โมเลกุลออกซิเจนบางส่วนถูกแยกเป็นอะตอมของออกซิเจนโดยการ วิ่งชนของประจุลบ จากนั้ นอะตอมของออกซิเจน

จะไปรวมตัวกันกับโมเลกุลออกซิเจนกลายเป็นโอโซน
22
ทฤษฎี

กระบวนการแลกเปลี่ยนประจุ (Ion exchange process)

คือการแลกเปลี่ยนประจุโดยการใช้ Resin โดยที่ Resin นั้ นจะมีประจุ เกาะอยู่รอบๆ ซึ่งจะทำการแลกเปลี่ยนประจุกับ


มลพิษหรือมลสารที่ปนเปื้ อนอยู่ในน้ำ
เรซิ่นจะมี H+, Na+, Cl -, OH- ตัวใดตัวหนึ่ ง เป็นไอออนอิสระและเกิดการจับตัวอยู่ที่หมู่ไอออนของสารกรองเรซิ่น ทำให้
สามารถเคลื่อนที่ได้และมีความพร้อมที่จะแลกเปลี่ยนกับไอออนอื่น ๆ ที่ต้องการกำจัด
23
ทฤษฎี

กระบวนการเมมเบรน (Membrane filtration)

เป็นกระบวนการกรองเลือกผ่านของเสียออกจากน้ำ ขนาดของเยื่อกรองมีความละเอียดสูงถึง 0.0001 ไมครอน การ


เลือกความละเอียดขึ้นอยู่กับว่าเหมาะกับอุตสาหกรรมไหนที่มีของเสียละลายน้ำที่มีขนาดเล็กที่จะกรองออกที่เหมาะกับขนาด
เยื้อกรองน้ั นๆ ตัวอย่างการกรองสารละลายเจือปนอื่น ๆ ที่อยู่ในน้ำ ไม่ว่าจะเป็นแร่ธาตุ, โลหะหนั ก, สารเคมี, คลอรีน, เชื้อ
โรค, ไวรัส และแบคทีเรีย ไม่ให้ไหลเข้ามาและจะกำจัดออกไปจากระบบ
24
วัตถุประสงค์
เพื่อบำบัดน้ำเสียจากโรงงานฟอกย้อมด้วยกระบวนการเมมเบรน
เพื่อศึ กษาประสิทธิภาพการใช้กระบวนการโอโซเนชันร่วมกับ
กระบวนการเมมเบรน

สมมุติฐาน
คาดว่าจะสามารถลดสีและค่าความสกปรกจากน้ำเสียของโรงงาน
ฟอกย้อมได้
คาดว่าการใช้กระบวนการโอโซเนชั้นร่วมกับกระบวนการเมมเบรนจะ
มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการลดสี และค่าความสกปรกในน้ำเสีย

Keywords
น้ำเสียจากการย้อมสิ่ งทอ (Wastewater from textile dyeing)
การลดสี (Decolorization)
การตกตะกอน (Coagulation)
กระบวนการโอโซนเนชัน (Ozonation processes)
กระบวนการเมมเบรน (Membrane filtration)
25
แ น ว คิ ด

วิธีการทำงาน
26
แผนผังกระบวนการบำบัดน้ำเสียสิ่ งทอ
*BTTWW : Biologically treated textile wastewater

ที่มา : Yuzer, B.; Selcuk, H. Recovery of Biologically Treated Textile Wastewater by Ozonation and Subsequent Bipolar
Membrane Electrodialysis Process. Membranes 2021, 11, 900. https://doi.org/ 10.3390/membranes11110900
27
The typical characteristics of the ion-exchange resin
Common properties of BPMED cell unit and 28
ion exchange membranes
ตารางแสดงลักษณะน้ำเสียฟอกย้อมก่อนเข้าระบบ และหลังเข้าระบบต่างๆ
29
มาตรฐานที่
พารามิเตอร์ Influent BTTWW* Ozonation BPMED**
กฏหมายกำหนด

pH 8.7 8.1 8.0 2.9 - 5.5 5.5 - 9.0

Conductivity,
8.5 7.7 7.6 0.3 - 0.7 ไม่ระบุ
mS/cm

Color, Pt-Co 330 210 20 5 - 10 300

COD, mg/L 550 155 98 58 - 73 120

TOC, mg/L 230 38.5 32.8 20 ไม่ระบุ

Alkalinity,
1220 1420 1390 - ไม่ระบุ
mg/L

Total
Hardness, mg 570 550 545 - ไม่ระบุ
CaCO3 /L

*BTTWW : Biologically treated textile wastewater


**BPMED : Bipolar membrane electrodialysis

ที่มา : Yuzer, B.; Selcuk, H. Recovery of Biologically Treated Textile Wastewater by Ozonation and Subsequent Bipolar
Membrane Electrodialysis Process. Membranes 2021, 11, 900. https://doi.org/ 10.3390/membranes11110900

Influent BTTWW Ozonation BPMED


30
บทสรุป

จากงานวิจัยเรื่อง Recovery of Biologically Treated Textile Wastewater by Ozonation

and Subsequent Bipolar Membrane Electrodialysis Process. Membranes เนื่ องจาก

ประสิทธิภาพของเมมเบรนมีข้อจำกัดในเรื่องของการอุดตันมาก จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า การใช้

กระบวนการ Ion-exchange และ Ozonation เป็นขั้นตอนสำคัญในการช่วยป้องกันการเกิดตะกอน

อุดตันเยื่อกรองเมมเบรน
31

อ้างอิง
ธัญวรรณ กฤษณะพุกต์ และชลอ จารุสุทธิรักษ์. (2559). การบำบัดน้ำเสียสีย้อมสังเคราะห์ด้วยกระบวนการโอโซเนชันที่มีตัว
เร่งปฏิกิริยา. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่54 (น.1107-1114). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์.
พีรวิชญ์ วายุพา, จิรภัทร จันทเชิด และเกียรติศักดิ์ ชัยสงค์. (2562). การบำบัดน้ำเสียจากสีย้อมผ้าด้วยกระบวนการโอโซนเน
ชันโดยใช้ตัวกลางพลาสติกเคลือบผิวไทเทเนี ยมไดออกไซด์ชนิ ดรูไทล์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา. (ปริญญานิ พนธ์). มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.กรุงเทพฯ
รองศาสตราจารย์ ดร.บุญชัย วิจิตรเสถียร. (2561). การปรับปรุงคุณภาพน้้ าทิ้งเพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ ใหม่ด้วย
กระบวนการร่วมโอโซนเนชันและอัลตราฟิลเตรชัน, สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม สำนั กวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีสุรนารี.
ฐานข้อมูลส่งเสริมและยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP. (2024). วิธีบำบัดน้ำเสียจากการฟอกย้อม
ที่มา: http://otop.dss.go.th/index.php/2014-10-09-08-12-02/article-1/101-2016-11-15-07- 10-54?
fbclid=IwAR3onXC81OA8xmYo7NpXhLgky1rZRCxgdU3gUIWK4Xot5TWzG9LPcgNE4xY
Yuzer, B.; Selcuk, H. Recovery of Biologically Treated Textile Wastewater by Ozonation and Subsequent Bipolar
Membrane Electrodialysis Process. Membranes 2021, 11, 900. https://doi.org/ 10.3390/membranes11110900
Sheng-Jie Y., Dyi-Hwa T. and Jun-Yu D. (2007). Using combined membrane processes for textile dyeing
wastewater reclamation. doi:10.1016/j.desal.2007.09.113.
32

รายชื่อสมาชิก (กลุ่ม 3)

63050200 นายปัณณวิชญ์ เสนี ย์วงษ์ ณ อยุธยา


63050201 นายพงศพล บรรเทพ
63050202 นางสาวพรทิพย์ กรเจริญ
63050204 นายรัชตะ ไชยเชษฐ
63050206 นางสาวศรัณยา เพียรพิทักษ์
ขอขอบคุณ

You might also like