You are on page 1of 6

การบําบัดน้ําเสียของโรงงานชุบโลหะ Page 1 of 6

การบําบัดน้ําเสียของโรงงานชุบโลหะ
เรียบเรียงโดย วลัยรัตน จันทรวงศ

แหลงกําเนิดสารทีเ่ ปนพิษจากกระบวนการชุบโลหะดวยไฟฟา
คุณลักษณะของน้ําเสียจากโรงงานชุบโลหะ
การบําบัดน้ําเสียแตละประเภท
การกําจัดไซยาไนด (CN-)
การกําจัดโครเมียม
การกําจัดโลหะหนัก
การกําจัดกรดดาง

บทนํา
ภาวะการณปจจุบันนี้ แหลงน้ําซึ่งเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณไปดวยแรธาตุ อาหาร และ
เกี่ยวของกับความเปนอยูในชีวิตประจําวันทั้งในดานครัวเรือนการเกษตร การประ มง การอุตสาหกรรม ตลอดจนดาน
สันทนาการตาง ๆ กําลังตกอยูในสภาวะที่เปนอันตรายและ เสื่อมโทรมลงทุกขณะบรรดาโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ
ไดปลอยน้ําเสียลงในแมน้ําลําคลอง ทําใหมีสภาพเนาเสีย ดังนั้น เพื่อเปนการปองกันไมใหเกิดมลภาวะทางน้ํา โรง
งานอุตสาหกรรม ตางๆ จึงมีสวนชวยไดโดยจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีระบบบําบัดน้ําเสียของแตละโรงงานซึ่งบําบัด
น้ําเสียที่ออกจากโรงงานใหอยูในเกณฑตามมาตรฐานอุตสาหกรรมกอนที่จะปลอยลงสูแหลงน้ํา สาธารณะตอไป ใน
บทความนี้จะกลาวถึงการบําบัดน้ําเสียของโรงงานชุบโลหะ
แหลงกําเนิดสารที่เปนพิษจากกระบวนการชุบโลหะดวยไฟฟา
ในกระบวนการชุบโลหะ เชน โครเมียม, สังกะสี, ทองแดงดวยไฟฟามีหลายขั้นตอน (2) เชน การ
เตรียมผิวของชิ้นงานกอนชุบ การชุบเคลือบผิวดวยไฟฟา และการทําความสะอาดผิวหลังการชุบ เปนตน จะเห็นได
วาในแตละขั้นตอนจะมีการใชกรด ดาง และสารเคมีตาง ๆ ซึ่งเปนสวนประกอบ ของสารละลายอิเล็กโตรไลทที่ใชชุบ
โลหะ หลังจากชุบโลหะเรียบรอย มีการนําชิ้นงานที่ชุบแลว ไปลางทําความสะอาด ดังนั้น น้ําทิ้งที่ออกจากกระบวน
การชุบโลหะ จะเต็มไปดวยสารที่เปนพิษ ซึ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะตองบําบัดกอนปลอยลงสูแหลงน้ําสาธารณะ
คุณลักษณะของน้ําเสียจากโรงงานชุบโลหะ
ในกระบวนการชุบโลหะ มีการใชกรด ดาง และสารเคมีตาง ๆ ในแตละขั้นตอนแตกตางกันน้ําเสียสวน
ใหญมาจากกระบวนการชุบและลางชิ้นงาน ดังนั้นเพื่อใหวิธีการบําบัดน้ําทิ้งเหลานี้สะดวกและประ หยัดคาใชจาย น้ํา
ทิ้งที่มีคุณลักษณะทางเคมีตางกันจะถูกแยกใหไหลลงบอเก็บที่แตกตางกัน โดยจะ แยกน้ําทิ้งออกเปน 3 ประเภท
(1, 2) คือ
1. น้ําทิ้งประเภทกรดและดาง ซึ่งประกอบไปดวยโลหะหนัก
2. น้ําทิ้งประเภทไซยาไนด ซึ่งไดมาจากน้ํายาชุบทองแดง น้ํายาชุบสังกะสีแบบไซยาไนด น้ํายาชุบ
ทอง
3. น้ําทิ้งประเภทโครเมียม ซึ่งไดมาจากน้ํายาชุบโครเมียมหรือ น้ํายาโครเมตในการชุบโครเมียม สาร
ประกอบของโครเมียมที่ปนอยูในน้ํายาชุบเหลานี้จะอยูใน รูปเฮกซะวาเลนซ โครเมียม Cr6+ (aq) ซึ่งเปนพิษ และ
ไมตกตะกอน จํา เปนจะตองเปลี่ยน Cr6+ ใหอยูในรูป Cr3+ จึงจะทําการตกตะกอน ได

แหลงกําเนิดสารที่เปนพิษจากกระบวนการชุบโลหะดวยไฟฟา (2)
ตารางที่ 1 แหลงกําเนิดสารที่เปนพิษจากกระบวนการชุบโลหะดวยไฟฟา
สารที่เปนพิษ แหลงกําเนิด วิธีบําบัด

http://202.28.17.1/article/atc42/atc00244.html 31/7/2549
การบําบัดน้ําเสียของโรงงานชุบโลหะ Page 2 of 6
การเตรียมชิ้นงานกอน
น้ํามัน สารประเภทไขมัน การแยกไขมัน
ชุบ
ของแข็ง ยาขัด, ทราย การขัด ตกตะกอน
กรดกํามะถัน, กรดเกลือ, การจุมกรดกระตุนผิว,
กรด ทําใหเปนกลาง
กรดไนตริค, กรดกัดแกว, การขัดเงาดวยสาร
เคมี
กรดฟอสฟอริก, กรดน้ําสัม
โซดาไฟ, โซเดียม
ตมลางไขมัน, ทําให
ดาง คารบอเนต, ทําใหเปนกลาง
เปนกลาง,
โซเดียมซิลิเกต, โซเดียม
กัดผิวอลูมิเนียม
ฟอสเฟต
สารประกอบไซยาในดตาง ลางดวยไฟฟา หรือ ทําการ Oxidation
ไซยาไนด
ๆ จากถังชุบ โดยใชสารประเภท
คลอรีน
โลหะที่มีคา, ทองแดง, นิ
โลหะหนักในรูปของ อยูในน้ํายาชุบและ
เกิล เหล็ก, ใชดาง
ไอออน จากการเตรียม
แคดเมี่ยม, สังกะสี, อลูมิเ
กอนชุบ
นี่ยม,
แมงกานีส
น้ํายาชุบ, การทําโค ทําการ Reduction แลว
กรดโครมิค กรดโครมิค
รเมต ตกตะกอน
ทําใหสารประกอบเชิงซอน
ไอออนเชิงซอนของ ทอง
ไอออนเชิงซอน น้ํายาชุบ (Chelate)
แดง, นิเกิล
เกิดการแยกตัวทําใหเปน
กลางแลวจึง
ตกตะกอน
การบําบัดน้ําเสียแตละประเภท
ในน้ําเสียแตละประเภท สารปนเปอนที่เปนพิษเปนสารคนละชนิดมีสมบัติทางเคมีแตกตางกัน จําเปนจะ
ตองใชวิธีการทางเคมีที่แตกตางกันในน้ําเสียแตละประเภท ดังนี้
1. ไซยาไนด (CN-) ไซยาไนดอยูในรูป ที่เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตจําเปนจะตองเปลี่ยนใหอยูในรูปที่เปน
พิษนอยลง คือ ไซยาเนต (CNO-) โดยใชโซเดียมไฮโปคลอไรท (NaCIO) เปลี่ยน CN- ไปเปน CNO- กอนแลวทํา
ปฏิกิริยาตอไปเปนกาซไนโตรเจน (N2)
2. เฮกซะวาเลนซโครเมียม (Cr6+) กําจัดโดยใชโซเดียมไบ ซัลไฟท (NaHSO3) จะเกิดปฏิกิริยารีดัก
ชั่น (Reduction) เปลี่ยน Cr6+ ไปเปน Cr3+ เพื่อชวยในการตกตะกอนของโครเมียมแลวกําจัด Cr3+ ตอไปโดยการ
ตกตะกอนเปน Cr (OH)3
3. โลหะหนักอื่น ๆ กําจัดโดยทําใหตกตะกอนเปน M(OH)x โดยใชโซดาไฟ (NaOH) โลหะหนักแตละ
ชนิดจะตกตะกอนที่ pH ตาง ๆ กัน
4. กรดดาง กําจัดโดยการปรับคาความเปนกรดดาง (pH) โดยใชกรดกํามะถัน (H2SO4) และโซดาไฟ
(NaOH)
การกําจัดไซยาไนด (CN-)
ไซยาไนดในน้ําทิ้งจากโรงงานชุบโลหะดวยไฟฟามีความเขมขนประมาณ 40-100 พีพีเอ็ม (ppm) (2)
ไซยาไนดในน้ําทิ้งเปนสารพิษ จําเปนตองกําจัดใหอยูในรูปที่เปนพิษนอยลง คือ ไซยาเนต ดวย โซเดียม ไฮโปคลอ
ไรท (NaOCI) ไซยาเนตมีความเปนพิษนอยกวาไซยาไนดถึง 1000 เทา แตถาตองการใหปลอด ภัยขึ้นก็ตองกําจัด
ไซยาเนตตอไป ดวยโซเดียมไฮโปคลอไรด จะไดสารผลิตภัณฑ คือ คารบอนไดออกไซด และไนโตรเจนซึ่งเปนสาร
ที่ไมมีพิษเลย ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น มีดังนี้
CN- + NaOCI ---> CNO- + NaCI
ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นที่คา pH = 12
2CNO- + 3NaOCI + 2H + ---> N2 + 2CO2 + H2O + 3NaCI
ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นที่คา pH = 7 - 8

http://202.28.17.1/article/atc42/atc00244.html 31/7/2549
การบําบัดน้ําเสียของโรงงานชุบโลหะ Page 3 of 6

รูปที่ 1 สวนหนึ่งของโรงงานชุบโครเมียม (plating line)


การกําจัดไซยาไนดในทางปฏิบัติ (2)
กระบวนการและเหตุผล สารเคมีที่ใช คา pH

1. น้ําเสียที่มี CN- ไหลลงสูถัง


2. เติมโซดาไฟเพื่อใหคา pH > 10 NaOH 12
3. เติม NaOCI ลงไปจะเปลี่ยน NaOCI 12
CN- ---> CNO-
4. เติมกรดกํามะถันใหคา pH = 7 - 8 H2SO4 7-8
5. เติม NaOCI ลงไปอีก จะเปลี่ยน NaOCI 7-8
CNO- ---> N2
6. ระบายน้ําทิ้ง

รูปที่ 2 แสดงสวนของน้ําลางชิ้นงานหลังจากผานการชุบแลว
การกําจัดโครเมียม
โครเมียมในน้ําทิ้ง สวนใหญอยูในรูปของกรดโครมิก (H2CrO4) จากน้ํายาชุบโครเมียมหรือ โซเดียมได
โครเมต (Na2Cr2O7) ซึ่งโครเมียมอยูในรูป Cr6+ (aq) ตองเปลี่ยนใหเปน Cr3+ ซึ่งสามารถตก ตะกอนได โดยใช
โซเดียมไบซัลไฟท (NaHSO3) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นดังนี้

4H2CrO4 + 3NaHSO3 + 3H2 SO4 --->


Cr2(SO4)3 + 3Na2SO4 + 10H2O
ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นที่คา pH = 2

http://202.28.17.1/article/atc42/atc00244.html 31/7/2549
การบําบัดน้ําเสียของโรงงานชุบโลหะ Page 4 of 6
ตอจากนั้นจึงทําการตกตะกอน Cr3+ ดังปฏิกิริยา
Cr2(SO4)3 + 6NaOH ---> 2Cr(OH)3(s) + 3Na2SO4
ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นที่คา pH = 8 - 9

การกําจัดโครเมียมในทางปฏิบัติ (2)
กระบวนการและเหตุผล สารเคมีที่ใช คา pH
1. น้ําเสียที่มี Cr6+ ไหลลงสูถัง
2. เติมกรดกํามะถันใหคา pH ลดลง H2SO4 2
3. เติม NaHSO3 เพื่อใหเปลี่ยน NaHSO3 2
Cr6+ ---> Cr3+
4. เติม NaOH ปรับคา pH ใหสูงขึ้น NaOH 9
5. เติม NaOH เพื่อใหเกิดตะกอนของ
Cr (OH)3 NaOH 9
6. กรองตะกอนและระบายน้ําทิ้ง
การกําจัดโลหะหนัก
โลหะหนักในน้ําทิ้ง มาจากการกัดผิวโลหะ เพื่อกําจัดสนิมหรือกระตุนผิวกอนการชุบหรือการ ขัดเงาชิ้น
งานอลูมิเนียมดวยโซดาไฟ โลหะหนักเหลานี้ไดแก เหล็ก (Fe2+) ทองแดง (Cu2+) สังกะสี (Zn2+) นอกจากนี้ยังมี
โลหะจากน้ํา ยาชุบโดยตรงซึ่งเกิดจากการลางชิ้นงานดวยน้ํา ไดแก ทอง (Au3+) นิเกิล (Ni2+) โครเมียม (Cr6+)
โลหะหนักเหลานี้จะถูกกําจัดออกไป โดยการทําใหตกตะกอนในรูปสารประกอบไฮดรอกไซดโดยใชโซดาไฟเปนตัว
ทําใหตกตะกอน ดังปฏิกิริยา

M2 + 2NaOH ---> M(OH)2(s) + 2Na+


Cr3 + 3NaOH ---> Cr (OH)3(s) + 3Na+
Cu2 + 2NaOH ---> Cu (OH)2(s) + 2Na+
Zn2 + 2NaOH ---> Zn (OH)2(s) + 2Na+

รูปที่ 3 สวนของระบบบําบัดน้ําเสียของโรงงานชุบโลหะ

การกําจัดโลหะหนักในทางปฏิบัติ (pH = 9.5 - 10.5) (2)


ประเภทโลหะหนัก ชวงของ pH ที่เกิดจากตะกอน
2+
ทองแดง (Cu ) 7 - 12 ไมมีการละลายกลับ
นิเกิล (Ni2+) 9 - 10 ไมมีการละลายกลับ
โครเมียม (Cr3+) 8 - 10 (pH > 11 ละลายกลับ)
สังกะสี (Zn2+) 9 - 11 (pH > 11 ละลายเล็กนอย)
เหล็ก (Fe2+) 7.5 - 10 (pH > 11 ละลายกลับ)
(ที่มา : บริษัท THA Coating Co., Itd.)
การกําจัดกรดดาง
การกําจัดกรดและดางจะทําควบคูกันไป พรอมกับการกําจัดไซยาไนด โครเมียม และโลหะหนักน้ํา ที่

http://202.28.17.1/article/atc42/atc00244.html 31/7/2549
การบําบัดน้ําเสียของโรงงานชุบโลหะ Page 5 of 6
ผานการกําจัดไซยาไนดและโครเมียมแลวจะไหลมารวมกัน หลังจากนั้นเติมโซดาไฟเพื่อปรับคา pH = 9.5 - 10.5
ในน้ําทิ้ง และเมื่อทําการตกตะกอนโลหะหนักออกไป น้ําทิ้งจะมีคา pH เปนดาง (pH = 10) เติมกรดลงไปเพื่อปรับ
สภาพ pH ใหเปนกลาง (Neutralization) กอนที่จะปลอยทิ้งไป
ระบบบําบัดน้ําเสียโรงงานชุบโลหะ

FLOW DIAGRAM OF WASTE WATER TREATMENT PLANT

มาตรฐานของน้ําทิ้งจากโรงงานชุบโลหะดวยไฟฟา
มาตรฐานน้ําทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรม โดยกระทรวงอุตสาหกรรมในสวนที่เกี่ยวของกับการ ชุบโลหะ
ดวยไฟฟา ดังนี้
คาความเปนกรด, ดาง (pH) 5-9
ไซยาไนด ไมเกิน 0.2 มิลลิกรัม/ลิตร
สังกะสี ไมเกิน 5 "
ทองแดง ไมเกิน 1 "
นิเกิล ไมเกิน 0.2 "
โครเมียม ไมเกิน 0.5 "

รูปที่ 4 เครื่องอัดกากตะกอน (filter press)

http://202.28.17.1/article/atc42/atc00244.html 31/7/2549
การบําบัดน้ําเสียของโรงงานชุบโลหะ Page 6 of 6
สรุป
ในประเทศไทยโรงงานชุบโลหะดวยไฟฟา สวนใหญจะเปนการชุบโลหะโครเมียม โลหะสังกะสี เปนตน
น้ําทิ้งที่ออกจากโรงงานชุบโลหะจะมีสารพิษซึ่งควรรับการบําบัดกอนปลอยทิ้งไป ไดแก สารประเภทไซยาไนด สาร
ประเภทกรดโครมิก, กรดและดางและโลหะหนักในรูปของอิออน เพื่อเปนการสะดวกไมยุงยากในการบําบัดน้ําทิ้ง
เหลานี้ จึงจําเปนตองแยกน้ําทิ้งออกจากกันตาม ลักษณะทางเคมีของแตละสวนและทําการแยกกําจัดที่จะประเภท
โดยใชสารเคมีที่เปนตัวออกซิไดส (Oxidizing agent) เชน NaOCI และตัวรีดิวซ (Reducing agent) เชน NaHSO
3
ทําใหพิษของสารแตละตัวหมดไปโดยเปลี่ยนไปอยูในรูปที่ไมเปนอันตรายหรือ สามารถเกิดปฏิกิริยาตกตะกอนได
หลังจากนั้น นําน้ําทิ้งแตละประเภทมารวมกันเพื่อกําจัดพวก โลหะหนักทั้งหมดทิ้งไปดวยโซดาไฟเพื่อใหเกิดการตก
ตะกอนและผานน้ํานี้ไปยังถังตกตะกอน และปรับคา pH ใหเปนกลางกอนที่จะทิ้งระบายลงสูแหลงน้ําสาธารณะตอไป
น้ําที่ผานขบวน การบําบัดแลวเปนไปตามมาตรฐานของโรงงานอุตสาหกรรม เปนการลดมลภาวะทางน้ํา ชวยรักษา
สภาวะแวดลอมของแหลงน้ําธรรมชาติใหคงอยูตอไป
เอกสารอางอิง
1.Nopadon Sundarabhaya, P.E., Industrial Wastewater Pretreatment, Vermont Environmental
Protection Agency, U.S.A.
2.George Deukmejian, Alternative Technology for Recycling and Treatment of Hazardous
wastes, Toxic Substances
Control Division, Department of Health Services, U.S.A., 1986

ประวัติผูเขียน
ชื่อ : อาจารยวลัยรัตน จันทรวงศ
การศึกษา : วท.ม. (ฟสิกัลเคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม
การทํางาน : ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกตและสังคม
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

BACK

This document was last modified on

http://202.28.17.1/article/atc42/atc00244.html 31/7/2549

You might also like