You are on page 1of 5

"NEWater" น้้าอุปโภคบริโภคจากน้้าทิ้งของสิงคโปร์

เรียบเรียงโดย บุญยืน กวินเสกสรรค์


ส่วนน้้าเสียชุมชน

การขาดแคลนน้้าส้าหรับการอุปโภคบริโภคนับ เป็นปัญหาระดับชาติของสาธารณรัฐสิงคโปร์มานานแล้ว
เนื่องจากข้อจ้ากัดของภูมิประเทศ ที่เป็นเกาะเล็กๆบนพื้นที่เพียง 699.4 ตารางกิโลเมตร โดยมีประชากรประมาณ 4
ล้านคน มีป่าไม้ซง่ึ เป็นแหล่งก้าเนิดต้นน้้าไม่มากนัก และมีพื้นที่ไม่เพียงพอส้าหรับการก่อสร้างแหล่งกักเก็บน้้าฝน ท้าให้
ขาดแคลนแหล่งน้้าจืดส้าหรับการอุปโภคบริโภค สิงคโปร์จ้าเป็นต้องซื้อน้้าดิบจากมาเลเซียเพื่อผลิตเป็นน้้าประปามาโดย
ตลอด แต่ต้นทุนในการซื้อน้้ามีแนวโน้มจะสูงขึ้นทุกปี ท้าให้สิงคโปร์ต้องเร่งหาหนทางแก้ปัญหา หนึ่งในทางออก ซึ่ง
เป็นโครงการที่เริ่มต้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา คือ การน้าน้้าทิ้งจากครัวเรือนกลับมาใช้ใหม่ ภายใต้แบรนด์
"NEWater" 1
แหล่งน้้าหลักของประเทศสิงคโปร์ มี 4 แหล่ง ได้แก่ น้้าจากแหล่งกักเก็บน้้าผิวดิน (Local catchments)
น้้าที่ซื้อจากประเทศมาเลเซีย (Imported water) น้้าจากการก้าจัดเกลือออกจากน้้าทะเล (Desalinated water)
และน้้าจากระบบผลิต NEWater 3 ปัจจุบันน้้าที่ชาวสิงคโปร์ใช้มาจากระบบ NEWater ราว 30% โดยใช้อุปโภคเพียง
1% ของปริมาณน้้าดื่มทั้งประเทศ ภายใน พ.ศ. 2603 รัฐบาลสิงคโปร์ตั้งเป้าจะสร้างโรงผลิตน้้าแบบ NEWater จ้านวน 5 แห่ง
เพื่อให้เป็นแหล่งผลิตน้้าหลักของประเทศ และคาดการณ์ว่าจะลดการน้าเข้าน้้าดิบจากมาเลเซียได้ถึง 50% 1
น้้าเสียจากครัวเรือน (Domestic wastewater) ที่เกิดขึ้นกว่า 8 แสนลูกบาศก์เมตรต่อวัน จะถูกส่งเข้าโรงงาน
NEWater เพื่อน้าไปรีไซเคิลใหม่ จ นสะอาดและสามารถอุป โภคบริโ ภคได้ โดยน้้า เสีย จะถูก รวบรวมและ
ส่ ง ผ่ า นอุ โ มงค์ ส่ ง น้้า ยาว 60 กิ โ ลเมตร และลึ ก จากพื้ น ดิ น 5 เมตร พาดผ่ า นทิ ศ เหนื อ ไปยั ง ทิ ศ ตะวันออก
ของเกาะ โดยน้้าที่ผ่านการบ้าบัด เบื้ อ งต้ น ด้ว ยการตกตะกอน และการบ้าบัดทางชีวภาพ จนอยู่ในเกณฑ์
มาตรฐานน้้าทิ้งของสิงคโปร์ ที่สามารถปล่อยสู่แหล่งน้้าสาธารณะได้แล้ว น้้าจะถูกส่งเข้าสู่กระบวนการปรับปรุง
คุณ ภาพน้้ า ในโรงงาน NEWater2 ประกอบด้วยเทคโนโลยี เยื่อกรอง 2 ชนิด ทั้งระบบเยื่อกรองชี วภาพ
(Microfiltration) และระบบกรองออสโมซิสผันกลับ (Reverse osmosis, RO) ร่ว มกับการใช้รังสี อัล ตราไวโอ
เล็ต (Ultraviolet, UV) โดยเยื่อกรองชีวภาพระดับไมโคร ที่มีรูพรุนประมาณ 0.1 - 1.0 ไมครอน ท้าหน้าที่ก้าจัด
อนุภาคของแข็งแขวนลอย รวมถึงแบคทีเรียบางส่วน ในขณะที่เยื่อกรองระดับ ออสโมซิสผันกลับ ที่มีรูพรุนขนาดเล็ก
กว่า 0.001 ไมครอน ท้าหน้าที่ก้าจัดแบคทีเ รีย ไวรัส ตลอดจนสารเคมีป นเปื้อ นต่า งๆ จนหมดไป การใช้รัง สี
UV ในขั้น ตอนสุ ดท้ายเป็ น เพีย งการสร้างความมั่นใจย้้าในคุณภาพน้้าที่ปราศจากเชื้อโรค จากนั้นจึงมีการเติม
สารเคมีเพื่อปรับ ค่า pH ของน้้าให้เหมาะสมต่อการส่งจ่ายผ่านระบบเส้นท่อเข้าสู่ภ าคอุตสาหกรรมต่อไป
(รูปที่ 1) น้้าที่ผ่านกระบวนการผลิตของโรงงาน NEWater กว่า 228,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน จะมีการตรวจสอบ
คุณสมบัติต่างๆ (ตารางที่ 1) ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบคุณภาพน้้าที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีของ NEWater กับ เกณฑ์
มาตรฐานองค์การอนามัยโลก(WHO) และคุณภาพน้้าจากแหล่งน้้าอื่นๆ ทั้ง น้้าฝน น้้าในอ่างเก็บน้้า และ
น้้าประปา ในด้าน สี ความขุ่น ปริมาณสารอินทรีย์ ตลอดจนปริมาณแบคทีเรีย พบว่าน้้า NEWater มีคุณภาพ
ดีที่สุด (รูปที่ 2)

ส้านักจัดการคุณภาพน้า้ กรมควบคุมมลพิษ, กุมภาพันธ์ 2558 หน้าที่ 1 จาก 5


กระบวนการบ้าบัดน้้าโดยเทคโนโลยี NEWater
น้้าที่ผ่านการบ้าบัดเบื้องต้น
เยื่อกรองออสโมซิสผันกลับ
Reverse osmosis
สารปนเปื้อนที่เหลือจะถูกกรองจนกลายเป็น
น้้าคุณภาพสูงในขั้นตอนนี้

เยื่อกรองไมโคร Microfiltration รั ง สี UV
ตะกอนระดับไมโครและแบคทีเรีย จะถูก น้้าที่ถูกกรองผ่านเยื่อกรอง
กรองออกไปในขั้นตอนนี้ แล้ว จะถูกฉายด้วยรังสีU V
เพื่ อ ฆ่ า เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย์ ที่ อ าจ
หลงเหลื อ อยู่ เมื่ อ เติ ม
สารเคมี เ พื่ อ ปรั บ ค่ า pH
สารแขวนลอยละลาย แบคที เ รี ย
สารเคมี ป นเปื้ อ น ไวรั ส แล้ ว ก็ เ สร็ จ สิ้ น กระบวนการ
โมเลเลกุ ล น้้า ผลิ ต น้้า NEWater

รูปที่ 1 เทคโนโลยีเมมเบรน และ Ultraviolet ในโรงงาน NEWater 3


ตารางที่ 1 คุณภาพน้้า NEWater (ค่าโดยเฉลี่ย) 3
พารามิเตอร์ คุณภาพน้้า NEWater
(หน่วย : mg/l หรือที่ระบุไว้ในแต่ละพารามิเตอร์)
1 อะลูมิเนียม (Al) < 0.1
2 ไนโตรเจนแอมโมเนีย (ในรูปไนโตรเจน) < 1.0
3 แบเรียม (Ba) < 0.1
4 โบรอน (B) < 0.5
5 แคลเซียม (Ca) 4 - 20
6 ครอไรด์ (Cl) < 20
7 สี (หน่วย: Hazen) <5
8 การน้าไฟฟ้า (หน่วย: μS/cm) < 250
9 ทองแดง (Cu) < 0.05
10 ฟลูออไรด์ (F) < 0.5
11 กลุ่มแบคทีเรียHPC (หน่วย: CFU/ml, 35°C, 48h) < 300
12 เหล็ก (Fe) < 0.04
13 แมงกานีส (Mn) < 0.05
14 ไนเตรต (NO3) < 15

ส้านักจัดการคุณภาพน้า้ กรมควบคุมมลพิษ, กุมภาพันธ์ 2558 หน้าที่ 2 จาก 5


พารามิเตอร์ คุณภาพน้้า NEWater
(หน่วย : mg/l หรือที่ระบุไว้ในแต่ละพารามิเตอร์)
15 ค่า pH 7 – 8.5
16 ซิลิกา (SiO2) <3
17 โซเดียม (Na) < 20
18 สตรอนเทียม (Sr) < 0.1
19 ซัลเฟต (SO4) <5
20 ของแข็งละลายทั้งหมด (TDS) < 150
21 ความกระด้างทั้งหมด (CaCO3) < 50
22 คาร์บอนอินทรีย์ทั้งหมด (TOC) < 0.5
23 คลอไรด์อิสระทั้งหมด (Cl) <2
24 สารกลุ่มไตรฮาโลมีเทน (Trihalomethanes, THMs) < 0.08
25 ความขุน (NTU) <5
26 สังกะสี (Zn) < 0.1
27 โคลิฟอรมทั้งหมด (TCB ต่อน้้า 100 ml) ตรวจไม่พบ
28 เอนเทอโรไวรัส ตรวจไม่พบ

เปรียบเทียบสี เปรียบเทียบสารแขวนลอย
มาตรฐานWHO มาตรฐานWHO
น้้าฝน น้้าฝน
อ่างเก็บน้้าในท้องที่ อ่างเก็บน้้าในท้องที่
น้้าประปา น้้าประปา
NEWater NEWater

เปรียบเทียบจานวนแบคทีเรีย เปรียบเทียบสารอินทรีย์

มาตรฐานWHO มาตรฐานWHO
น้้าฝน น้้าฝน
อ่างเก็บน้้าในท้องที่ อ่างเก็บน้้าในท้องที่
น้้าประปา น้้าประปา
NEWater NEWater

รูปที่ 2 เปรียบเทียบคุณภาพน้้าที่ผลิตจาก NEWater กับเกณฑ์มาตรฐานองค์การอนามัยโลก และ


คุณภาพน้้าจากแหล่งน้้าอื่นๆ 3

ส้านักจัดการคุณภาพน้า้ กรมควบคุมมลพิษ, กุมภาพันธ์ 2558 หน้าที่ 3 จาก 5


น้้าคุณภาพสูงจากระบบผลิต NEWater จะจ่ายเข้าระบบท่อที่แยกเฉพาะเจาะจงไม่ปนกับน้้าประปาจาก
โรงงานผลิตน้้าอื่นๆ เพื่อส่งจ่ายให้ภาคอุตสาหกรรมที่ต้องการน้้าคุณภาพดีพิเศษ เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอ ฟอกย้อม
อิเลคทรอนิกส์ Semi-conductor Electroplating เป็นต้น หรือน้าไปใช้ในระบบ Boiler และ Cooling system
ในอุตสาหกรรมอื่นๆ ตลอดจนตึกสูงและอาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ ส้าหรับน้้าที่เหลือภายหลังจากการส่งจ่ายให้กับ
ภาคอุตสาหกรรมและการท้าน้้าบรรจุขวดแล้วจะถูกส่งกลับแหล่งน้้าดิบ เพื่อใช้เป็นแหล่งน้้าส้าหรับการผลิตน้้าประปา
ตามวิธีการผลิตในขั้นตอนปกติต่อไป
การผลิตน้้า NEWater จึงเป็นการน้าเทคโนโลยี เยื่อกรองมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในสภาวการณ์
ที่จ้าเป็นต้องจัดการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้้า โดยมุ่งเน้นการใช้น้าเพื่อการอุปโภค และส่งเสริมการขยายตัว
ในภาคอุตสาหกรรม แม้น้าที่ได้จะมีคุณภาพดีเยี่ยม ทั้งสะอาดและปราศจากสิ่งเจือปน แต่น้า NEWater ไม่ได้
ถูกผลิตเพื่อน้ามาใช้ในการบริโภคโดยตรง รัฐบาลสิงคโปร์จึงมีส่งเสริมการใช้น้า NEWater เช่น การออกมาตรการ
ทางภาษีที่ยกเว้นการคิดราคา WCT (Water Conservation Tax) ที่สูง ถึง 30% รวมไปกับ ค่าน้้า เนื่องจาก
การใช้น้า NEWater ถือเป็นการสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากรน้้า หรือโครงการผลิตน้้า NEWater ในรูป แบบของ
น้้า ดื่ม บรรจุข วด เพื่อ ใช้ใ นกิจ กรรมเพื่อ สัง คม ตลอดจนงานกีฬ า และงานพิ ธี ร ะดับ ชาติ เพื่อ สร้างการ
ยอมรับจากสาธารณชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเยาวชน ให้มีภาคภูมิใจในผลลัพธ์ของการใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไข
ปัญหาเรื่องน้้าของชาติอย่างยั่งยืน
ในส่ว นของประเทศไทยก้า ลัง ประสบปัญ หาขาดแคลนน้้า เช่น เดีย วกัน โดยมีส าเหตุส้ า คัญ หลาย
ประการ เช่น ปริม าณน้้ า ฝนลดลง เนื ่อ งจากภาวะโลกร้อ นและป่า ไม้ต้น น้้ า ถูก ท้ า ลาย แหล่ง น้้ า เน่า เสีย
เนื่องจากการเพิ่มขึ้น ของจ้านวนประชากร เป็นต้น ในอนาคตปัญหาเหล่านี้อาจทวีค วามรุน แรงมากขึ้น จน
ประเทศไทยต้องมีการน้าเทคโนโลยี NEWater มาประยุกต์ใช้เช่นเดียวกับประเทศสิงคโปร์ ซึ่งปัจจุบัน ในพื้นที่
เกาะต่างๆของประเทศไทยที่ไม่มีแหล่งน้้าจืดธรรมชาติ ได้มีการน้าเทคโนโลยีเยื่อกรองเช่นเดียวกับเทคโนโลยี
NEWater มาใช้ประโยชน์แล้ว เพื่อผลิตน้้าประปาใช้จากน้้าทะเล ซึ่งเริ่มใช้ครั้งแรกที่เกาะสีชัง โดยบริษัท ยูนิ
เวอร์แซล ยูทิลิตี้ส์ จ้ากัด (ยูยู) เป็นผู้น้าเทคโนโลยีการผลิตน้้าประปาจากน้้าทะเล โดยใช้ระบบออสโมซิสผัน
กลับ (RO) เป็นรายแรกและรายใหญ่ที่สุดของประเทศไทย โดยปัจจุบันมีกิจการการผลิตที่ อ้าเภอเกาะสมุย
จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกาะล้าน และอ้าเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี มีขนาดก้าลังผลิตน้้าทะเลเป็นน้้าจืดรวมกัน
3 เกาะประมาณ 10,000 - 20,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน 4 และเตรียมที่จะลงทุนในแหล่งท่องเที่ยวที่ส้าคัญของ
ประเทศเพิ่มเติม ซึ่งอยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ในการท้าน้้าทะเลเป็นน้้าจืดในพื้นที่ใหม่ 4 แห่ง ได้แก่
เกาะพีพี จังหวัดภูเก็ต เกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง และเกาะช้าง จังหวัดตราด
ส้าหรับเทคโนโลยีการน้าน้้าเสียจากชุมชนกลับมาใช้ใหม่ของประเทศไทยนั้น ยังอยู่ในขั้นตอนการศึกษา
ความเหมาะสม ซึ่งมีการคาดคะเนว่ามีความเป็นไปได้สูง โดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยี NEWater เพื่อผลิตน้้า
อุปโภคบริโภคจากน้้าทิ้งของจังหวัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางความเจริญของประเทศและมีจ้านวน
ประชากรมากที่สุด ถ้ามีการน้าเทคโนโลยี NEWater มาใช้ จะสามารถน้าน้้าเสียกลับมาใช้ใหม่ได้ถึง 700,000
ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ซึ่งเป็นหนทางการน้้าเสียมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด

ส้านักจัดการคุณภาพน้า้ กรมควบคุมมลพิษ, กุมภาพันธ์ 2558 หน้าที่ 4 จาก 5


เอกสารอ้างอิง
1. Satapornbooks เรื่อง “NeWater” น้้าดื่มน้้าใช้จากน้้าทิ้งของสิงคโปร์ (เข้าถึงเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2558)
เข้าถึงได้จาก : http://www.facebook.com/ Satapornbooksfan/posts/795008350524421
2. ข่าวสังคม-ครอบครัวข่าว 3 เรื่อง สกู๊ป...สิงคโปร์รีไซค์เคิลน้้าเสียเป็นน้้าดี (เข้าถึงเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2558)
เข้าถึงได้จาก : http://www.krobkruakao.com
3. การประปานครหลวง เรื่อง NEWater (เข้าถึงเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2558) เข้าถึงได้จาก:
www.mwa.co.th/ewt_dl_link.php?nid=2054
4. ฐานข้อมูลความรู้ทางทะเล เรื่อง การผลิตน้้าจืดจากน้้าทะเล (เข้าถึงเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2558) เข้าถึงได้จาก:
www.mkh.in.th/index.php/2010-03-22-18.../2010-03-26-05-54-35

ส้านักจัดการคุณภาพน้า้ กรมควบคุมมลพิษ, กุมภาพันธ์ 2558 หน้าที่ 5 จาก 5

You might also like