You are on page 1of 96

กฎหมายเกี่ยวกับมลพิษน้า

จากโรงงานอุตสาหกรรม
โดย นางสุวลักษณ์ ชายเกตุ
กองส่งเสริมเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมโรงงาน
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
กฎหมายเกี่ยวกับมลพิษน้าจากโรงงานอุตสาหกรรม
๑ การก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายนา้ ทิง
๒ การติดตังเครื่องมือพิเศษ BOD/COD Online
๓ การมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจาโรงงาน

4 การรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกนอกโรงงาน
กฎกระทรวงฉบับที่ 26 (พ.ศ. 2563) ออกตามความใน พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535
ให้ยกเลิกข้อ 14 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความใน พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535
และให้ใช้ข้อความต่อไปนีแทน
“ห้ามระบายน้าทิงออกจากโรงงาน เว้นแต่ได้ท้าการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างจนน้าทิงนันมีลักษณะ
เป็นไปตามที่รัฐมนตรีก้าหนด โดยกรณีที่ใช้วิธีท้าให้เจือจาง (dilution) เพื่อระบายน้าทิง ให้ด้าเนินการตาม
หลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีก้าหนด ทังนี โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ประกาศตามวรรคหนึ่ง จะก้าหนดให้
แตกต่างกันโดยค้านึงถึงประเภท ชนิด หรือขนาดโรงงานก็ได้”
การก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง ก้าหนดมาตรฐาน
ควบคุมการระบายนา้ ทิงจากโรงงาน (ยกเลิก)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิงจาก
โรงงาน พ.ศ. ๒๕๖๐
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดคุณลักษณะน้าทิงทีร่ ะบายออกนอก
โรงงานให้มีคา่ แตกต่างจากทีก่ ้าหนดไว้ในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๒
(พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิงจากโรงงาน
การก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิง
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย
น้าทิงจากโรงงานผลิตเยื่อและโรงงานผลิตกระดาษ พ.ศ. ๒๕๖๑
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิงจาก
โรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับการฟอก ขัด หรือเคลือบสีหนังสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๑

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิงจาก


โรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับการท้าน้าจืดจากทะเล พ.ศ. 2564
ประกาศ อก. เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิงจากโรงงาน พ.ศ. ๒๕๖๐
“น้าทิง” หมายความว่า น้าที่เกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน น้าจากการใช้น้าของคนงาน
หรือน้าจากกิจกรรมอื่นในโรงงาน ที่จะระบายออกจากโรงงาน หรือเขตประกอบการอุตสาหกรรม
พารามิเตอร์ที่ก้าหนดค่ามาตรฐาน (ข้อ ๕)
วิธีการวิเคราะห์ค่าพารามิเตอร์ (ข้อ ๖)
วิธีการเก็บตัวอย่างน้าทิง (ข้อ ๘)
ให้ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง ก้าหนดคุณลักษณะน้าทิง ที่ระบายออก
นอกโรงงานให้มีคา่ แตกต่างจากทีก่ ้าหนดไว้ในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๒ (พ.ศ.
๒๕๓๙) เรื่อง ก้าหนดคุณลักษณะของน้าทิงทีร่ ะบายออกจากโรงงาน ลงวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์
พ.ศ. ๒๕๔๐ ยังคงบังคับใช้ได้ตอ่ ไปจนกว่าจะได้มีการยกเลิก (ข้อ 10)
ุ ภาพ 27 พารามิเตอร์
มาตรฐานน้าทิงต้องมีคณ
1 ความเป็นกรดและด่าง (pH) ตั้งแต่ 5.5 ถึง 9.0

2 อุณหภูมิ (Temperature) ไม่เกิน 40 องศาเซลเซียส

3 สี (Color) ไม่เกิน 300 เอดีเอ็มไอ


4 ของแข็งละลายน้้าทั้งหมด (Total Dissolved Solids หรือ TDS)

 กรณีระบายลงแหล่งน้้า ต้องไม่เกิน 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตร

ค่าของแข็งละลายน้้าทั้งหมดในน้้าทิ้งที่จะระบายได้ต้องมีค่า
 กรณีระบายลงแหล่งน้้าที่มีค่าของแข็งละลายน้้าทั้งหมด
เกินกว่าค่าของแข็งละลายน้้าทั้งหมดที่มีอยู่ในแหล่งน้้านั้นไม่
เกินกว่า 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตร
เกิน 5,000 มิลลิกรัมต่อลิตร

5
ของแข็งแขวนลอยทั้งหมด (Total Suspended Solids) ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อลิตร
ุ ภาพ 27 พารามิเตอร์
มาตรฐานน้าทิงต้องมีคณ
6 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 120 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ซัลไฟด์ (Sulfide) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 ไซยาไนด์ (Cyanides CN) ไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร
10 น้้ามันและไขมัน (Oil and Grease) ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร
11 ฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
12 สารประกอบฟีนอล (Phenols) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
13 คลอรีนอิสระ (Free Chlorine) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
14 สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ (Pesticide) ต้องตรวจไม่พบ
15 ทีเคเอ็น (Total Kjeldahl Nitrogen) ไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อลิตร
มาตรฐานน้าทิงต้องมีคณ ุ ภาพ 27 พารามิเตอร์
16 โลหะหนัก มีค่าดังนี้
สังกะสี (Zn) ไม่เกิน 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียมเฮกซะวาเลนท์ (Hexavalent Chromium) ไม่เกิน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียมไตรวาเลนท์ (Trivalent Chromium) ไม่เกิน 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร
สารหนู (As) ไม่เกิน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) ไม่เกิน 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
ปรอท (Hg) ไม่เกิน 0.005 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) ไม่เกิน 0.03 มิลลิกรัมต่อลิตร
แบเรียม (Ba) ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
ซีลีเนียม (Se) ไม่เกิน 0.02 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกั่ว (Pb) ไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร
นิกเกิล (Ni) ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
แมงกานีส (Mn) ไม่เกิน 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
ประกาศ กรอ. เรื่อง ก้าหนดคุณลักษณะน้าทิงที่ระบายออกนอกโรงงานให้มีค่าแตกต่างจากที่ก้าหนดไว้ใน ประกาศ อก. ฉบับที่ ๒ (พ.ศ.
๒๕๓๙) เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิงจากโรงงาน

โรงงานล้าดับที่ 4(1), 9(2), 10(1-3), 15(1-2), 22(1-4), 29,


BOD ไม่มากกว่า 60 mg/l
38(1-2), 42(1-2), 46(1-3) และ 92

COD ไม่มากกว่า 400 mg/l โรงงานล้าดับที่ 13(2), 15(1), 22(1-4), 29 และ 38(1-2)

TKN ไม่มากกว่า 200 mg/l โรงงานล้าดับที่ 13(2) และ 15(1)

ปัจจุบัน : มีการยกเลิกและออกประกาศเฉพาะประเภทของล้าดับที่ ๓๘(๑), ๓๘(๒) และ ๒๙


ประกาศ กรอ. เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิงจากโรงงานผลิตเยื่อและ
โรงงานผลิตกระดาษ พ.ศ. ๒๕๖๑
ประกาศบังคับใช้ตังแต่วันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑
ให้ยกเลิกความใน 1.7 ของข้อ ๑ และ 3.5 ของข้อ ๓ ของประกาศ กรอ. เรื่อง ก้าหนด
คุณลักษณะน้าทิงทีร่ ะบายออกนอกโรงงานให้มีค่าแตกต่าง...
บังคับใช้กับ โรงงานผลิตเยื่อ ๓๘(๑) โรงงานผลิตกระดาษ ๓๘(๒) และโรงงานปรับคุณภาพ
ของเสียรวม ๑๐๑ ที่รับน้าเสียเฉพาะจากโรงงานผลิตเยื่อ หรือโรงงานผลิตกระดาษ
หรือทังสองโรงงาน
ประกาศ กรอ. เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิงจากโรงงานผลิตเยื่อและ
โรงงานผลิตกระดาษ พ.ศ. ๒๕๖๑
โดยก้าหนดค่ามาตรฐาน น้าทิงใหม่ให้แตกต่างไปจากทีก่ ้าหนดไว้ในประกาศ อก. เรื่อง ก้าหนด
มาตรฐานควบคุมการระบายนา้ ทิงจากโรงงาน พ.ศ. 2๕๖๐ ดังนี
พารามิเตอร์ ๓๘(๑) ๓๘(๒) ๑๐๑
Color (ADMI) ≤ ๖๐๐ ≤ ๓๕๐ ≤ ๓๕๐

TSS (mg/l) ≤ ๔๐ ≤ ๔๐ ≤ ๔๐

BOD (mg/l) ≤ ๒๐ ≤ ๓๐ ≤ ๒๐

COD (mg/l) ≤ ๔๐๐ ≤ ๒๗๐ ≤ ๒๗๐

TKN (mg/l) ≤ ๑๐ ≤ ๑๐ ≤ ๑๐
ประกาศ อก. เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิงจากโรงงานที่ประกอบ
กิจการเกี่ยวกับการฟอก ขัด หรือเคลือบสีหนังสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๑
ประกาศบังคับใช้ตังแต่วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
ให้ยกเลิกความใน 1.๖ ของข้อ ๑ และ 3.๔ ของข้อ ๓ ของประกาศ กรอ. เรื่อง ก้าหนด
คุณลักษณะน้าทิงทีร่ ะบายออกนอกโรงงานให้มีค่าแตกต่าง...
บังคับใช้กับ โรงงานประกอบกิจการหมัก ช้าแหละ อบ ป่นหรือบด ฟอก ขัดและแต่ง แต่งส้าเร็จ
อัดให้เป็นลายนูน หรือเคลือบสีหนังสัตว์ (๒๙) และโรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม (๑๐๑)
ที่รับน้าเสียเฉพาะจากโรงงานล้าดับที่ ๒๙
ประกาศ อก. เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิงจากโรงงานที่ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการฟอก ขัด หรือเคลือบสีหนังสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๑
โดยก้าหนดพารามิเตอร์และค่ามาตรฐานน้าทิงใหม่ให้แตกต่างไปจากทีก่ ้าหนดไว้ในประกาศ อก.
เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายนา้ ทิงจากโรงงาน พ.ศ. 2๕๖๐ ดังนี
พารามิเตอร์ ๒๙ และ ๑๐๑ พารามิเตอร์ ๒๙ และ ๑๐๑
BOD (mg/l) ≤ ๕๐ ฟอสฟอรัสทังหมด (mg/l) ≤๒
COD (mg/l) ≤ ๒๕๐ Total Chromium (mg/l) ≤ ๐.๘
Phenols (mg/l) ≤ ๐.๕ Hexavalent Chromium(mg/l) ≤ ๐.๑
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิงจากโรงงาน
ที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับการท้าน้าจืดจากทะเล พ.ศ. 2564

มาตรฐานคุ ณ ภาพน้้ า ทิ้ ง จากโรงงานที่ ป ระกอบกิ จ การเกี่ ย วกั บ การท้ า น้้ า จื ด จากน้้ า ทะเล
ซึ่ง จั ดอยู่ ใ นประเภทหรื อชนิดของโรงงานล้ า ดับที่ 90 ที่ ร ะบุใ นบั ญ ชี ท้ า ยกฎกระทรวงที่ อ อก
ตามความในมาตรา 7 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบั ญ ญั ติ โ รงงาน (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2562 เฉพาะที่ ใ ช้ น้ า ทะเลเป็ น วั ต ถุ ดิ บ
ในกระบวนการผลิต และระบายน้าทิงออกจากโรงงานลงสู่ทะเล
 ค้ า นิ ย ามของ “น้ า ทิ ง” หมายความว่ า น้ า ที่ เ กิ ด จากกระบวนการผลิ ต ของโรงงานที่ จ ะระบาย
ออกจากโรงงานลงสู่ทะเล
 มาตรฐานน้าทิงต้องมีคุณภาพ ทังสิน “5 พารามิเตอร์” ดังนี
มาตรฐานน้าทิงต้องมีคุณภาพ 5 พารามิเตอร์

1 ความเป็นกรดและด่าง (pH) ตั้งแต่ 6.0 ถึง 8.5


2 ของแข็งจมตัว (Settleable Solids ) ไม่เกิน 2 มิลลิลิตรต่อลิตร

ความขุ่น (Turbidity ) ไม่เกิน 100 เอ็นทียู


3 (Nephelometric Turbidity Unit, NTU )
4 คลอรีนอิสระ (Free Chlorine) ไม่เกิน 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ทีเคเอ็น (Total Kjeldahl Nitrogen) ไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อลิตร
 การระบายน้าทิงให้ใช้วิธีการระบายด้วยท่อลอดลงสู่ ทะเล (Outfall) โดยจะต้อง มีวิธีการเจือจางน้าทิงอย่างหนึ่งอย่างใด
ดังต่อไปนี เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม

1 ก่อนระบายน้้าทิ้งต้องมีการสูบน้้าทะเลมาผสมก่อนโดยมีอัตราส่วนการเจือจางระหว่างน้้าทะเลต่อน้้าทิ้งไม่น้อยกว่า 20 ต่อ 1

ก่อนระบายน้้าทิ้งต้องมีการน้าน้้าจากการระบายความร้อนของโรงไฟฟ้าที่ใช้น้าทะเลในการระบายความร้อน (co location) มารวมกับ


2 น้้าทิ้งก่อน

3 กรณีไม่ใช้วิธีตาม (1) หรือ (2) ให้ใช้วิธีการใช้หัวปล่อยแบบหลายช่อง (multiport diffusers) ที่ปลายท่อระบาย

4 วิธี การอื่น ตามที่ กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็น ชอบ ต้าแหน่ งที่ จะรับการระบายน้้าทิ้ง ตามวรรคหนึ่ งจะต้องมีสภาพการไหลเวี ย น
ของน้้าทะเลดี และต้องไม่เป็นจุดอับน้้ารวมทั้งภายในระยะ 50 เมตรจากเขตโรงงานตามทิศทางการไหลจะต้อง ไม่มีสิ่งกีดขวาง
การระบายน้้าทิ้งตามทิศทางการไหล

 การเก็บตัวอย่างน้าทิงเพื่อการตรวจสอบมาตรฐานน้าทิง ให้เก็บแบบจ้วง (Grab Sample) ในจุดระบายทิงออกจาก


โรงงาน หรือจุดอื่นที่สามารถใช้เป็นตัวแทนของน้าทิงที่ระบายออกจากโรงงาน กรณีมีการระบายทิงหลายจุดให้เก็บทุกจุด
บทกาหนดโทษ
มาตรา 45 ผู้ใดฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบัตติ ามกฎกระทรวง
ทีอ่ อกตามมาตรา 8 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (8)
ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท

ปรับ
200,000.-

18
การติดตังเครื่องมือพิเศษ BOD/COD Online
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดให้โรงงานที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้าเสียต้องติดตัง
เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษละเครื่องมือหรืออุปกรณ์เพิ่มเติม พ.ศ. 2547
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดให้โรงงานที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้าเสียต้องติดตัง
เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษละเครื่องมือหรืออุปกรณ์เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดให้โรงงานที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้าเสียต้องติดตัง
เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษละเครื่องมือหรืออุปกรณ์เพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2549
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดให้โรงงานที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้าเสียต้องติดตัง
เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษละเครื่องมือหรืออุปกรณ์เพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552
สรุป ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดให้โรงงานที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้าเสียต้อง
ติดตังเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษละเครื่องมือหรืออุปกรณ์เพิ่มเติม
โรงงานทีม่ ีการระบายน้าทิงออกจากโรงงาน ซึ่งน้าทิงดังกล่าวไม่รวมน้าหล่อเย็น (Cooling Water)
จากกระบวนการหล่อเย็น
ประกาศ อก. พ.ศ. 2547 และ โรงงานที่มีปริมาณน้าทิงตังแต่ ๕๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวันขึนไป
ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2548 หรือมี Influent BOD Load ตังแต่ ๔,๐๐๐ กิโลกรัม/วันขึนไป
กฎหมายบุคลากรด้าน
สิง่ แวดล้อมประจาโรงงาน

21

ทำไมต้ องแจ้ งกำรมีบุคลำกร
ด้ ำนสิ่งแวดล้ อมประจำโรงงำน?

22
กฎหมายบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจาโรงงาน
• ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกาหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กาหนดวิธีการควบคุมการ
ปล่อยของเสีย มลพิษ หรือสิง่ ใดๆ ทีม่ ผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม กาหนดคุณสมบัตขิ องผู้ควบคุมดูแล
ผู้ปฏิบัตงิ านประจาและหลักเกณฑ์การขึน้ ทะเบียนผู้ควบคุมดูแลสาหรับระบบป้ องกันสิง่ แวดล้อมเป็ นพิษ
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554
• ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง คุณสมบัติ การฝึ กอบรมและการสอบมาตรฐานของบุคลากรด้าน
สิง่ แวดล้อมประจาโรงงาน พ.ศ. 2554
• ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การแจ้งและการรับแจ้งการมีบุคลากรด้านสิง่ แวดล้อมประจา
โรงงาน พ.ศ. 2556

• ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขึน้ ทะเบียนเป็ นผู้ควบคุมระบบบาบัดมลพิษนา้ หรือผู้


ควบคุมระบบบาบัดมลพิษอากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม พ.ศ. 2556

23
โรงงานทีเ่ ข้าข่าย
แจ้งการมีบุคลากรฯ

24
โรงงานทีเ่ ข้าข่ายแจ้งการมีบุคลากรฯ
• โรงงานทีม่ ีปริมาณนา้ เสียตัง้ แต่ 500 ลบ.ม./วัน ขึน้ ไป (ยกเว้นนา้ หล่อเย็น)
หรือมีปริมาณความสกปรกก่อนเข้าระบบบาบัด (BOD Load of
Influent) ตัง้ แต่ 100 กก./วัน ขึน้ ไป
• โรงงานทีใ่ ช้สารหรือองค์ประกอบของสารโลหะหนักต่อไปนี้
ในกระบวนการผลิตทีม่ ีปริมาณนา้ เสีย ตัง้ แต่ 50 ลบ.ม./วันขึน้ ไป
สังกะสี แคดเมียม ไซยาไนด์ ฟอสฟอรัส
ตะกั่ว ทองแดง บาเรียม เซเลเนียม
นิเกิล แมงกานีส โครเมียม อาร์เซนิค
ปรอท
อ้างอิง : ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การกาหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กาหนดวิธีการควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษ หรือสิง่ ใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมกาหนด
คุณสมบัติของผูค้ วบคุมดูแล ผูป้ ฏิบตั ิงานประจาและหลักเกณฑ์การขึน้ ทะเบียนผูค้ วบคุมดูแลสาหรับระบบป้องกันสิง่ แวดล้อมเป็ นพิษ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554

25
โรงงานทีเ่ ข้าข่ายแจ้งการมีบุคลากรฯ
• โรงงานทีก่ ่อให้เกิดมลพิษสูง (หรือโรงงานทีเ่ ข้าข่ายจัดทารายงาน EIA) เช่น
• โรงไฟฟ้าพลังความร้อนที่มีกาลังการผลิตตัง้ แต่ 10 เมกกะวัตต์
• โรงงานปิ โตรเคมีท่ีใช้วตั ถุดิบซึง่ ได้จากการกลั่นนา้ มันปิ โตรเลียม
และหรือ ที่ใช้วตั ถุดิบจากการแยกก๊าซธรรมชาติในกระบวนการผลิต
ตัง้ แต่ 100 ตันต่อวันขึน้ ไป
• โรงงานกลั่นนา้ มัน ทุกขนาด
• โรงงานแยกหรือแปรสภาพก๊าซธรรมชาติ ทุกขนาด
• โรงงานผลิตสารออกฤทธิ์หรือสารที่ใช้ปอ้ งกันหรือกาจัดศัตรูพืชหรือสัตว์
โดยกระบวนการทางเคมี ทุกขนาด

26
โรงงานทีเ่ ข้าข่ายแจ้งการมีบุคลากรฯ
• โรงงานทีก่ ่อให้เกิดมลพิษสูง (หรือโรงงานทีเ่ ข้าข่ายจัดทารายงาน EIA) เช่น
• โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตคลอ - แอลคาไลน์ท่ีใช้โซเดียมคลอไรด์ (NaCl)
เป็ นวัตถุดิบในการผลิตโซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)
กรดไฮโดรคลอริก (HCl) คลอรีน (Cl2) โซเดียมไฮโพคลอไรด์ (NaOCl) และปูนคลอรีน
(Bleaching Powder) ที่มีกาลังการผลิตสารแต่ละชนิดหรือรวมกันตัง้ แต่ 100 ตันต่อวันขึน้ ไป
• โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตยางเรซินสังเคราะห์ ยางอีลาสโตเมอร์ พลาสติกหรือ
เส้นใยสังเคราะห์ซง่ึ มิใช่ใยแก้ว ที่มีกาลังการผลิตตัง้ แต่ 100 ตันต่อวันขึน้ ไป

27
โรงงานทีเ่ ข้าข่ายแจ้งการมีบุคลากรฯ

• โรงงานผู้รับกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุทไี่ ม่ใช้แล้วตามกฎหมาย
โรงงาน ได้แก่
โรงงานลาดับที่ 101 โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม ดังต่อไปนี ้
• ระบบบาบัดนา้ เสียรวม ทุกขนาด
• การเผาสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุท่ไี ม่ใช้แล้วตาม กฎหมายว่าด้วยโรงงานทุกขนาด
• การปรับสภาพสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุ ที่ไม่ใช้แล้ว ทีเ่ ป็ นอันตราย ทุกขนาด

28
โรงงานทีเ่ ข้าข่ายแจ้งการมีบุคลากรฯ
• โรงงานผู้รับกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุทไี่ ม่ใช้แล้วตามกฎหมาย
โรงงานได้แก่
โรงงานลาดับที่ 105
• การคัดแยกสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุ ที่ไม่ใช้แล้ว ที่เป็ นอันตราย ทุกขนาด
• การฝั งกลบสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุท่ไี ม่ใช้แล้ว ทุกขนาด
โรงงานลาดับที่ 106
• โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการนาผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมที่ไม่ใช้แล้วหรือ
ของเสีย ที่เป็ นอันตรายจากโรงงานมาผลิตเป็ นวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่โดย
ผ่านกรรมวิธีการผลิต ทางอุตสาหกรรม ทุกขนาด

29
บุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจาโรงงาน
 บุคลากรด้านสิง่ แวดล้อม หมายถึง ผู้ทม่ี หี น้าทีร่ ับผิดชอบดาเนินการเกีย่ วกับ
ระบบป้ องกันสิง่ แวดล้อมเป็ นพิษในโรงงาน ประกอบด้วย
ผู้จัดการสิ่งแวดล้อม

ผู้ควบคุมระบบ ผู้ควบคุมระบบ ผู้ควบคุมระบบการจัดการ ผู้ควบคุมดูแล


บาบัดมลพิษนา้ บาบัดมลพิษอากาศ มลพิษกากอุตสาหกรรม

ผู้ปฏิบัตงิ าน ผู้ปฏิบัตงิ าน ผู้ปฏิบตั งิ านประจาพืน้ ที่ ผู้ปฏิบัตงิ าน


ประจาเครื่อง ประจาเครื่อง คัดแยกและจัดเก็บกากฯ

30
บุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจาโรงงาน

31
บุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจาโรงงาน

32
คุณสมบัตบิ ุคลากร
บุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม

33
คุณสมบัตผิ ู้จัดการสิ่งแวดล้อม
คุณสมบัติ ขึน้ ทะเบียน
ฝึ กอบรม

1. ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน หลักสูตร ผู้จดั การสิ่งแวดล้อม


หรือ ผู้จดั การสิ่งแวดล้อม
2. พนักงานของโรงงานในระดับผู้จดั การ
ทีไ่ ด้รับการแต่งตัง้ จากผู้รับใบอนุญาต
ประกอบกิจการโรงงานให้เป็ นผู้จดั การ
สิ่งแวดล้อม
อ้างอิง : ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง คุณสมบัติ การฝึ กอบรมและการสอบมาตรฐานของบุคลากรด้านสิง่ แวดล้อมประจา
34
โรงงาน พ.ศ. 2554
คุณสมบัตขิ องผู้ปฏิบัตงิ านฯ
คุณสมบัติ ขึน้ ทะเบียน
ฝึ กอบรม

สาเร็จการศึกษาอย่างตา่ หลักสูตรผู้ปฏิบตั งิ าน ผู้ปฏิบตั งิ านประจาระบบบาบัด


มัธยมศึกษาตอนต้นหรือ ประจาระบบบาบัดมลพิษ มลพิษนา้ / อากาศ/ กาก
เทียบเท่า นา้ / อากาศ/ กาก

อ้างอิง : ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง คุณสมบัติ การฝึ กอบรมและการสอบมาตรฐานของบุคลากรด้านสิง่ แวดล้อมประจาโรงงาน พ.ศ. 2554


35
คุณสมบัตขิ องผู้ควบคุมฯ (case 1)
คุณสมบัติ 1
1. ผู้ทสี่ าเร็จการศึกษาอย่างต่า
วศบ. สาขาสุขาภิบาลหรือ
สิ่งแวดล้อม หรือ วทบ.สิ่งแวดล้อม
2. ผู้ทส่ี าเร็จการศึกษาอย่างต่า
วศบ. หรือ วทบ. ทีม่ ีวิชาเรียน
2 ฝึ กอบรมผู้ควบคุมฯ
สิ่งแวดล้อม ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต หลักสูตรผู้ควบคุมระบบบาบัด
มลพิษน้า/ อากาศ/ กาก

การสอบผู้ควบคุมฯ 3
ผู้ควบคุมระบบบาบัดมลพิษ
น้า/ อากาศ/ กาก
4 ขึน้ ทะเบียนจาก กรอ.
ผู้ควบคุมระบบบาบัดมลพิษ
น้า/ อากาศ/ กาก

อ้างอิง : ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง คุณสมบัติ การฝึกอบรมและการสอบมาตรฐานของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจ้าโรงงาน พ.ศ. 2554 36


คุณสมบัตขิ องผู้ควบคุมฯ (case 2)
คุณสมบัติ 1
ผู้ทส่ี าเร็จการศึกษาอย่างต่า
วศบ. หรือ วทบ. มีวิชาเรียน
สิ่งแวดล้อม น้อยกว่า 18 หน่วยกิต 2 ฝึ กอบรมผู้ควบคุมฯ
หลักสูตรผู้ควบคุมระบบบาบัด
มลพิษน้า/ อากาศ/ กาก
การสอบผู้ควบคุมฯ 3
ผู้ควบคุมระบบบาบัดมลพิษ
น้า/ อากาศ/ กาก
4 ขึน้ ทะเบียนจาก กรอ.
ผู้ควบคุมระบบบาบัดมลพิษ
น้า/ อากาศ/ กาก

อ้างอิง : ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง คุณสมบัติ การฝึ กอบรมและการสอบมาตรฐานของบุคลากรด้านสิง่ แวดล้อมประจาโรงงาน พ.ศ. 2554 37


หน่วยงานจัดฝึ กอบรมฯ

“ จานวน 9 หน่วยงาน ได้แก่


1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี
2. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
3. มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI)
4. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
5. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปนุ่ )
6. บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี ้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จากัด
7. สมาคมพัฒนาความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในการทางาน
8. สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทางาน (ประเทศไทย)
9. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

” 38
หน่วยงานจัดสอบมาตรฐาน

“1. ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


2. ศูนย์ความเป็ นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จัดสอบผู ค ้ั
้ วบคุมฯ 4 ครง/ปี

39
Web SITE : http://www.diw.go.th/hawk/

40

41
นางสาวxxx xxxx

หนังสืออนุญาตมีอายุ 3 ปี
ต่ออายุล่วงหน้าได้ 30 วัน

42
การขึน้ ทะเบียนบุคลากร
ด้านสิง่ แวดล้อมประจาโรงงาน

43
การขึน้ ทะเบียนบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจาโรงงาน
 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การแจ้งและการรับแจ้ง
การมีบุคลากรด้านสิง่ แวดล้อมประจาโรงงาน พ.ศ. 2556
ยื่นคาขอตามภาคผนวกที่ 1

44
ภาคผนวกที่ 1

อ้างอิง : ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การแจ้งและการรับแจ้งการมีบคุ ลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจาโรงงาน พ.ศ. 2556 45


ภาคผนวกที่ 1

แผนผังกระบวนการผลิต หนังสือยืนยันการเป็ นบุคลากร


ด้านสิ่งแวดล้อมประจาโรงงาน
อ้างอิง : ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรือ่ ง การแจ้งและการรับแจ้งการมีบคุ ลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจา46
โรงงาน พ.ศ. 2556
เงือ่ นไขในการแจ้งการมีบุคลากรฯ
 การแจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจาโรงงาน ต้อง…
• แจ้งรายชือ่ บุคลากรฯ ทีม่ คี ุณสมบัตติ ามทีก่ ฎหมายกาหนด
• แจ้งรายชือ่ บุคลากรฯ ให้ครบทุกประเภท ได้แก่
ผู้จัดการสิง่ แวดล้อม ผู้ควบคุมฯ ผู้ปฏิบัตงิ านฯ
ให้สอดคล้องกับการประกอบกิจการโรงงาน
 ผู้จัดการสิง่ แวดล้อม ผู้ควบคุมระบบบาบัดมลพิษ และผู้ปฏิบัตงิ านประจา
ระบบบาบัดมลพิษ ต้องไม่ใช่บุคคลเดียวกัน
 การแจ้งการมีบุคลากรด้านสิง่ แวดล้อมประจาโรงงาน ให้แจ้งตาม
เลขทะเบียนโรงงาน โดยแต่ละโรงงานมีบุคลากรฯ ไม่ซา้ กัน
ยกเว้นผู้ควบคุมระบบบาบัดมลพิษ 1 คน ควบคุมได้ไม่เกิน 5 โรงงาน

อ้างอิง : ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การแจ้งและการรับแจ้งการมีบคุ ลากรด้าน


สิ่งแวดล้อมประจาโรงงาน พ.ศ. 2556 47
ขัน้ ตอนการแจ้งการมีบุคลากรฯ
่ จิ ารณาคาขอ
เจ้าหน้าทีพ
ระยะเวลา 9 วันทาการ
หนังสืออนุญาต มีอายุ 3 ปี
การส่งแบบคาขอ
1. ยื่ น ด้ ว ยตั ว เอง : กรมโรงงาน
อุตสาหกรรม ชัน้ 1 ห้องสารพันทันใจ
2. ส่ ง ไปรษณี ย ์ : ยั ง กรมโรงงาน
อุตสาหกรรม
กรอกแบบคาขอ
แบบคาขอการแจ้งการมีบคุ ลากร
ด้านสิ่งแวดล้อมประจาโรงงาน

48
49
กรณีไม่มบี ุคลากรปฏิบัตหิ น้าที่ ทาอย่างไร?
 กรณีผู้จัดการสิ่งแวดล้อมไม่สามารถเป็ นผู้จัดการฯ ไม่ว่ากรณีใดๆ
ให้เสมือนว่าผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานเป็ นผู้จัดการสิง่ แวดล้อม
 กรณีผู้ควบคุมฯ ไม่สามารถเป็ นผู้ควบคุมฯ ไม่ว่ากรณีใดๆ
ให้เสมือนว่าผู้จัดการสิ่งแวดล้อมเป็ นผู้ควบคุมฯ
 กรณีผู้ปฏิบตั งิ านฯ ไม่สามารถเป็ นผู้ปฏิบตั งิ านฯ ไม่ว่ากรณีใดๆ
ให้เสมือนว่าผู้ควบคุมฯ เป็ นผู้ปฏิบตั งิ านฯ

กรณีต่าง ๆ ข้างต้น เมือ่ ทราบว่าบุคลากรไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้


ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานแจ้งเป็ นหนังสือให้ผู้รับแจ้งทราบ
ภายใน 15 วัน นับตัง้ แต่วันทีเ่ กิดกรณีดังกล่าวข้างต้น และให้ผู้รับใบอนุญาตฯ
จัดหาบุคลากรใหม่มาแทนภายใน 90 วันนับแต่วันทีไ่ ม่มบี ุคลากร (แล้วแต่กรณี)

50

ถ้ ำไม่แจ้ งกำรมีบุคลำกรด้ ำน
สิ่งแวดล้ อมประจำโรงงำนจะมีผลอย่ำงไร?

51
บทกาหนดโทษ
มาตรา 45 ผู้ใดฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบัตติ ามกฎกระทรวง
ทีอ่ อกตามมาตรา 8 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (8)
ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท

ปรับ
200,000.-

52
การรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกนอกโรงงาน

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การจัดท้ารายงานชนิดและปริมาณ


สารมลพิษทีร่ ะบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558

ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง แบบรายงานชนิดและปริมาณสาร


มลพิษทีร่ ะบายออกนอกโรงงาน พ.ศ. 2559
ข้ อควรรู้
 เป็ นรายงานสารมลพิษนา้ และอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน
 ส่ งรายงานให้ กรมโรงงานอุตสาหกรรมผ่ านระบบอิเล็กทรอนิกส์

 จุดเก็บตัวอย่ าง ความถี่ในการเก็บตัวอย่ าง พารามิเตอร์ กาหนดไว้ ใช้ ในกฎหมายฉบับนีเ้ ท่ านั้น

 โรงงานต้ องตรวจสอบการระบายสารมลพิษนา้ และอากาศตามกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้ อง


 บทลงโทษเป็ นไปตามทีก ่ าหนดในมาตรา 46 แห่ ง พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2535

มาตรา 46 ผู้ใดฝ่ าฝื นหรื อไม่ ปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 (6)


หรื อ (7) หรื อประกาศของรัฐมนตรีทอี่ อกตามกฎกระทรวงดังกล่ าว
ต้ องระวางโทษปรับไม่ เกินสองหมื่นบาท
54
ข้ อ 4 ในประกาศนี้
“ชนิดและปริมาณสารมลพิษ” หมายความว่า ชนิดและปริ มาณสารมลพิษน้ าและ
อากาศตามที่กาหนดในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมออกตามความในข้อ 14 และ
ข้อ 16 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ. 2535
“รายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม” หมายความว่า รายงานการวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการผูช้ านาญการตาม
กฎหมายว่าด้วยส่ งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ

55
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมออกตามความในข้ อ 14 และ ข้ อ 16
แห่ งกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535)

มลพิษนา้
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการระบายนา้ ทิง้ จากโรงงาน
พ.ศ. 2560
- ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่ อง กาหนดคุณลักษณะนา้ ทิง้ ทีร่ ะบายอออกนอกโรงงานให้ มคี ่ าแตกต่ างที่
กาหนดไว้ ในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2539) เรื่ อง กาหนดคุณลักษณะนา้ ทิง้ ทีร่ ะบายอออก
จากโรงงาน
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการระบายนา้ ทิง้ จากโรงงานทีป่ ระกอบกิจการ
เกีย่ วกับการฟอก ขัด หรื อเคลือบสี หนังสั ตว์ พ.ศ. 2561
- ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่ อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการระบายนา้ ทิง้ จากโรงงานผลิตเยื่อและ
โรงงานผลิตกระดาษ พ.ศ. ๒๕๖๑

56
ข้ อ 5 ประเภทหรื อชนิดของโรงงานทีต่ ้ องจัดทารายงานชนิดและปริมาณสาร
มลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน
5.1 ประเภทหรื อชนิดของโรงงานที่ตอ้ งมีบุคลากรด้านสิ่ งแวดล้อมประจา
โรงงานตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมประกาศกาหนด
กรณีถ้าระบุว่าต้ องมีผู้ควบคุมระบบบาบัดมลพิษนา้ ให้ จัดทา รว.2 และระบุต้องมี
ผู้ควบคุมมลพิษอากาศให้ จัดทา รว.3 ซึ่งเป็ นไปตามกฎหมายข้ อ 7 ทีไ่ ด้ กาหนดหน้ าที่
ความรับผิดชอบของบุคลากรด้ านสิ่ งแวดล้ อมประจาโรงงานไว้

5.2 ประเภทหรื อชนิดของโรงงานตามบัญชีทา้ ยประกาศนี้

57
บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
รายการที่ ชนิดและขนาดของโรงงาน การจัดทารายงาน

1 การทากระดาษ กระดาษแข็งหรื อ รายงานมลพิษน้ า และรายงาน


กระดาษที่ใช้ในการก่อสร้างชนิ ด มลพิษอากาศ
ที่ทาจากเส้นใยหรื อแผ่นกระดาษ
ไฟเบอร์ ที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่
50 ตันต่อวันขึ้นไป

2 การผลิตแก้ว เส้นใยแก้ว หรื อผลิตภัณฑ์แก้วที่มี รายงานมลพิษอากาศ


เตาหลอม

58
บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
รายการที่ ชนิดและขนาดของโรงงาน การจัดทารายงาน

3 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเหล็กหรื อ รายงานมลพิษน้ า และ


เหล็กกล้า ที่มีกาลังการผลิตแต่ละชนิ ดหรื อ รายงานมลพิษอากาศ
รวมกันตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึ้นไป ดังนี้
1) เหล็กขั้นต้นหรื อเหล็กขั้นกลาง ที่มีการถลุง หลอม หล่อ
2) เหล็กขั้นปลาย ได้แก่ ที่มี
2.1) การรี ดเหล็ก (Rolling) ทั้งการรี ดร้อนและรี ดเย็น ยกเว้นการ
รี ดขึ้นรู ปเย็น (Cold roll forming) และการรี ดปรับสภาพผิว (Skin –
pass หรื อ Temper rolling)
2.2) การทุบขึ้นรู ปร้อน (Hot forging)
2.3) การเคลือบผิว (ทั้งกรรมวิธีจุ่มด้วยโลหะหลอมเหลว กรรมวิธี
ทางไฟฟ้า กรรมวิธีทางเคมี กรรมวิธีทางไฟฟ้าเคมี)
2.4) การหล่อเหล็กรู ปพรรณ (Ferrous metal foundries)

59
บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
รายการที่ ชนิดและขนาดของโรงงาน การจัดทารายงาน

4 โรงงานที่มีการใช้หม้อน้ า เฉพาะ รายงานมลพิษอากาศ


1) โรงงานที่มีหม้อน้ าเดี่ยวที่มีกาลังการผลิตไอ
น้ าตั้งแต่ 10 ตันไอน้ าต่อชัว่ โมง
ขึ้นไป กรณี ใช้ของเหลวหรื อของแข็งเป็ น
เชื้อเพลิง
2) โรงงานที่มีหม้อน้ าเดี่ยวที่มีกาลังการผลิตไอ
น้ าตั้งแต่ 20 ตันไอน้ าต่อชัว่ โมง
ขึ้นไปกรณี ใช้ก๊าซเป็ นเชื้อเพลิง
5 โรงงานที่มีหรื อใช้สารอินทรี ยร์ ะเหย รายงานมลพิษอากาศ
(VOCs) ในกระบวนการผลิตตั้งแต่
36 ตันต่อปี ขึ้นไป 60
ข้ อ 7 การเก็บตัวอย่ างนา้
จุดเก็บ ความถี่
นา้ เสี ยก่ อนเข้ าระบบบาบัดนา้ เสี ย 3 เดือน/ครั้ง
นา้ เสี ยหรื อนา้ ทิง้ ออกจากระบบบาบัดนา้ เสี ย 3 เดือน/ครั้ง

กรณีไม่ มกี ารระบายออกนอกโรงงาน 3 เดือน/ครั้ง


(ให้ เก็บตัวอย่ างนา้ ในบ่ อสุ ดท้ าย)

นา้ ทิง้ ระบายออกนอกโรงงาน 1 เดือน/ครั้ง

นา้ เสี ยทีส่ ่ งบาบัดภายนอกโรงงาน 1 เดือน/ครั้ง


(ให้ เก็บตัวอย่ างนา้ ในบ่ อสุ ดท้ าย)

Cin Ceff
WWTP Cdischarge
61
ระบบบาบัด มีการระบายนา้ ทิง้ ไม่ มกี ารระบายนา้ ทิง้ ส่ งไปบาบัดภายนอกโรงงาน
นา้ เสี ย ออกนอกโรงงาน ออกนอกโรงงาน เช่ น ระบบบาบัดนา้ เสี ยรวม
ของนิคมฯ หรื อโรงงานอื่น
มีระบบ 1) น้ าเสี ยก่อนเข้าระบบ 1) น้ าเสี ยก่อนเข้าระบบบาบัด 1) น้ าเสี ยก่อนเข้า
บาบัด 2) น้ าเสี ยออกจากระบบบาบัด ระบบบาบัด
2) น้ าเสี ยออกจากระบบ 3) น้ าในบ่อสุ ดท้าย 2) น้ าเสี ยออกจาก
บาบัด ระบบบาบัด
(3 เดือน/ครั้ง)
3) น้ าทิ้งระบายออกนอก 3) น้ าในบ่อสุ ดท้าย
โรงงาน (1 เดือน/ครั้ง) (1 เดือน/ครั้ง)
ไม่ มมี รี ะบบ น้ าทิ้งระบายออกนอก น้ าในบ่อสุ ดท้าย (3 เดือน/ครั้ง) น้ าในบ่อสุ ดท้าย (1 เดือน/ครั้ง)
โรงงาน (1 เดือน/ครั้ง)

62
ข้ อ 9 การรายงานมลพิษนา้ ให้ใช้วิธีการได้มาของข้อมูลการจัดทารายงาน
ตามกลุ่ม “M” (Measurement) โดยต้องมีพารามิเตอร์ ดังนี้

BOD COD pH และTSS


โลหะหนัก ตามคุณลักษณะน้ าเสี ยจากโรงงานประเภทที่มีโลหะหนัก
เจือปน
พารามิเตอร์อื่น ๆ ตามคุณลักษณะกิจกรรมที่เกิดขึ้น

63
ข้ อ 11 โรงงานตามข้อ 5 ที่จดั ทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม (EIA)
ให้ดาเนินการเพิ่มเติมตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ
สิ่ งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่ งแวดล้อมด้วย
(ตรวจสอบโครงการทา EIA ที่ http://eia.onep.go.th/index.php)

ข้ อ 12 การตรวจวัดชนิดและปริ มาณสารมลพิษต้องทาการตรวจวัดโดยห้อง
ปฏิบตั ิการวิเคราะห์ของทางราชการ หรื อห้องปฏิบตั ิการวิเคราะห์เอกชน
ที่ข้ ึนทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
(ตรวจสอบห้อง Lab เอกชน ที่ http://php.diw.go.th/research/?page_id=106)

64
ข้ อ 13 การจัดทารายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษ
13.1 จัดทารายงานชนิดและปริ มาณสารมลพิษตามแบบที่
กรมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
13.2 ส่ งรายงานชนิดและปริ มาณสารมลพิษให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์

รอบที่ 1 ของเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน ภายในวันที่ 1 กันยายน


ของปี ที่รายงาน
รอบที่ 2 ของเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม ภายในวันที่ 1 มีนาคม
ของปี ถัดไป
65
ข้ อ 13.3 เก็บรักษารายงานไว้ที่โรงงาน 1ชุด เป็ นระยะเวลา 3 ปี
และพร้อมที่จะให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้

66
ข้ อ 13.4 ผู้ลงนามรับรองในแบบรายงาน
โรงงานตามข้ อ 5.1 ผูป้ ระกอบกิจการโรงงานหรื อผูร้ ับมอบอานาจ
ผูค้ วบคุมดูแลระบบป้องกันสิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษ
(ผู้จัดการสิ่ งแวดล้ อม,ผู้ควบคุมระบบบาบัดมลพิษ)
โรงงานตามข้ อ 5.2 ผูป้ ระกอบกิจการโรงงานหรื อผูร้ ับมอบอานาจ

ตรวจสอบการขึ้นทะเบียนบุคลากรด้านสิ่ งแวดล้อมประจาโรงงานที่ http://nsers.diw.go.th/diw/

67
68
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่ อง แบบรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่
ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558

ข้อ 13.1 จัดทารายงานชนิดและปริ มาณสารมลพิษตามแบบที่


กรมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนดโดยประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา

69
ข้ อ 1 ประกาศนี้เรี ยกว่า “ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่ อง แบบ
รายงานชนิดและปริ มาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558”

ข้ อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 เป็ นต้นไป

ข้ อ 3 โรงงานตามข้อ 5 แห่ งประกาศฯ ปี 2558 ให้จดั ทารายงานชนิ ด


และปริ มาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงานตามแบบท้ายประกาศ
(ก) การรายงานข้ อมูลทัว่ ไปให้จดั ทาตามแบบ รว.1
(ข) การรายงานมลพิษนา้ ให้จดั ทาตามแบบ รว. 2
(ค) การรายงานมลพิษอากาศให้จดั ทาตามแบบ รว. 3
70
กรณี ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมพิจารณาแล้ว เห็นว่า
รายงานชนิดและปริ มาณสารมลพิษไม่สมบูรณ์ ผูป้ ระกอบกิจการโรงงานมี
หน้าที่ตอ้ งจัดทารายงานให้สมบูรณ์ภายใน 45วัน นับจากวันได้รับแจ้งผ่าน
ระบบอิเล็กทรอนิกส

71
ระบบการรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษ
ทีร่ ะบายออกจากโรงงานอุตสาหกรรม รว. 1-3

72
การเข้ าสู่ หน้ าเว็บไซต์ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
www.diw.go.th

73
74
โรงงานต้องท้าอย่างไร ??
โรงงานปลาป่นมีน้าเสีย ปริมาณ 1,700 ลบ.ม./วัน เข้าสู่ระบบบ้าบัดน้าเสีย
มีน้าเสียที่ผ่านการบ้าบัด 500 ลบ.ม./วัน น้ากลับไปใช้ใหม่ภายในโรงงาน
ส่วน 1,200 ลบ.ม./วัน ระบายออกนอกโรงงานสู่ล้ารางสาธารณะ

95
คาถาม - คาตอบ

You might also like