You are on page 1of 8

แบบทดสอบปลายภาค

รายวิชา เคมีเพิ่มเติม (ว33224) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

โรงเรียนธารปราสาทเพชรวิทยา ประจาปีการศึกษาที่ 1/2560


*********************************************************************************************************************************************************************************

คาชี้แจง แบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 50 ข้อ และแบบอัตนัย จานวน 2 ข้อ รวม 20 คะแนน เวลาในการทา 60 นาที

ตอนที่1 ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมายกากบาท(X) ลงในกระดาษคาตอบ (15 คะแนน)

1. ในการถลุงดีบุก ปฏิกิริยาใดที่ไม่ได้เกิดขึ้นในเตาถลุง 4. โรงงานถลุงโลหะพลวง ลดปริมาณแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์


ก. CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g) ก่อนปล่อยสู่บรรยากาศ ดังนี้
ข. C(s) + CO2(g) 2CO(g) 1) ผ่านแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ไปยังผงแคลเซียมออกไซด์ที่
ค. 2CO(g) + O2(g) 2CO2(g) เปียก
ง. CaO(s) + SiO2(l) CaSiO3(l) 2) ผ่านแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ไปยังผงแคลเซียมคาร์บอเนต
2. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง ที่เปียก
ก. ในการถลุงดีบุกจาก SnO2 ใช้ CO2 เป็นตัวรีดิวซ์ 3) ผ่านแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ไปยังแคลเซียมคาร์บอเนตที่
ข. ในการถลุงดีบุกใช้พลังงานไฟฟ้าในการ เผาร้อน
แยก SnO2 เป็น Sn 4) ผ่านแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ลงในน้า
ค. ในการถลุงดีบุก SnO2 เกิดรีดักชันกลายเป็น Sn วิธีการใดที่เป็นการลดมลพิษ
ง. ในการถลุงดีบุก Sb2O3 เปลี่ยนเป็น Sb แสดงว่า ก. 3 เท่านั้น
เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ข. 1 และ 2 เท่านั้น
3. ในการผลิต NaOH เซลล์ปรอทต่างจากเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยน ค. 1, 2 และ 3
ไอออนอย่างไร ง. ถูกทุกข้อ
ก. เซลล์ปรอทได้สารละลาย NaOH ที่เจือจางกว่า 5. สารมลพิษในข้อใดทาให้เกิดอาการ A D ตามลาดับ
ข. เซลล์ปรอทแก๊ส H2 ไม่ได้เกิดขึ้นที่แคโทดโดยตรง A. ปวดเมื่อยเรื้อรัง โลหิตจาง ฟอกสีใบไม้จนต้นไม้สังเคราะห์
ค. เซลล์ปรอทใช้ไฟฟ้ากระแสตรง แต่เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยน แสงไม่ได้
ไอออนใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ B. ปอดอักเสบ ไอและเจ็บหน้าอก โรคกระดูกผุ
ง. การใช้เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนทาให้สิ่งแวดล้อมเป็น C. เม็ดเลือดขาดออกซิเจน เวียนศีรษะ หายใจอึดอัด คลื่นไส้
พิษมากขึ้น อาเจียน
D. โรคปอดแข็ง เหนื่อยหอบ ไอเรื้อรัง เจ็บหน้าอก ไอเป็น
เลือด
ก. ตะกั่ว ใยหิน ปรอท แคดเมียม
ข. คาร์บอนมอนอกไซด์ โครเมียม คาร์บอนเตตะคลอไรด์
ทินเนอร์
ค. ปรอท ฟอร์มาลิน คลอโรฟอร์ม แมงกานีส ขั้นตอนใดถูกต้อง
ง. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แคดเมียม คาร์บอนมอนอกไซด์ ก. a และ c
ฝุ่นซิลิกา ข. b และ c
6. ผลพลอยได้จากการผลิตสารในข้อ i และ ii ต่อไปนี้ สามารถ ค. a และ d
ทาให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิตอะไรได้บ้าง ง. b และ d
i. ผงชูรสจากแป้งมันสาปะหลัง คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ประกอบการตอบคาถาม ข้อ 9 - 10
ii. ก๊าซคลอรีนจากเกลือสมุทร การผลิตโซดาไฟ (NaOH) ในทางอุตสาหกรรม นิยมใช้วิธีแยก
ก. ปุ๋ยและผงซักฟอก สารละลายโซเดียมคลอไรด์ด้วยกระแสไฟฟ้าโดยใช้ปรอท (Hg)
ข. กรดอะมิโนและก๊าซไฮโดรเจน เป็นแคโทดของเซลล์อิเล็กโทรไลต์ ซึ่งเขียนรูปแสดงส่วนประกอบที่
ค. น้าตาลกลูโคสและกรดไฮโดรคลอริก สาคัญได้ดังนี้
ง. แอโมเนียมกลูตาเมตและโซเดียมไฮดรอกไซด์
7. แร่รัตนชาติใดมีความแข็งมากที่สุด
ก. มรกต
ข. โกเมน
ค. ไพลิน
ง. เพทาย
8. ในการทานาเกลือจากน้าทะเลหรือเกลือสินเธาว์ สารมลทินที่ 9. ต่อไปนี้เป็นเหตุผลของการเลือกใช้ปรอท (ซึ่งเป็นสารที่มีพิษ
เจือปนมาด้วย ได้แก่ Ca2+, Mg2+, SO42- วิธีกาจัดไอออน มาก) เป็นอิเล็กโทรดของเซลล์อิเล็กโทรไลต์ในการเตรียม
ดังกล่าว ทาได้ดังนี้ โซดาไฟ (NaOH) ทั้งสิ้น ยกเว้น
a. ตกผลึกแยกออกจากกันโดยอาศัยการละลายที่ต่างกันโดย ก. ปรอทช่วยป้องกันมิให้แก๊สคลอรีนที่เกิดขึ้น ทาปฏิกิริยากับ
ตกผลึก CaSO4 และ MgCl2 ออกก่อนแล้วจึงตกผลึกของ ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ
NaCl ข. ปรอทสามารถรวมกับผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นที่แคโทดได้
b. ตกผลึก CaSO4 ออกก่อน แล้วจึงตกผลึก NaCl โดย สารละลายอะมัลกัม
ควบคุมความเข้มข้นของสารละลาย เพื่อไม่ให้ MgCl2 ตก ค. ปรอทช่วยให้สามารถแยกเอาผลิตภัณฑ์บางชนิดออกจาก
ผลึกออกมา เซลล์อิเล็กโทรไลต์ได้
c. ทาสารละลาย NaCl ให้บริสุทธิ์มากขึ้น โดยการ ง. ปรอทช่วยเร่งให้เกิดปฏิกิริยาได้ โซดาไฟเร็วยิ่งขึ้น
ตกตะกอน แยก Mg2+, SO42- และ Ca2+ ออก โดยใช้ 10. สมมติว่าในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ที่ใช้ผลิตโซดาไฟนี้ใช้แพลทินัม
สารละลายของ NaOH, BaCl2 และ Na2CO3 ตามลาดับ (Pt) เป็นแคโทดแทนปรอท ผลที่เกิดขึ้นควรเป็นอย่างไร
แล้วจึงใช้ HCl กาจัด CO32- ก. ปฏิกิริยาแยกสลายจะไม่เกิดขึ้น
d. ทาสารละลาย NaCl ให้บริสุทธิ์มากขึ้น โดยการ ข. จะไม่ได้โซดาไฟเป็นผลิตภัณฑ์ แต่ยังคงมีปฏิกิริยา
ตกตะกอนแยก Mg2+, SO42- และ Ca2+ โดยใช้ แยกสลายเกิดขึ้น
สารละลายของ NaOH, BaCO3 และ Na2CO3 ค. ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นที่แคโทดจะทาปฏิกิริยากับน้าภายใน
ตามลาดับ แล้วจึงใช้ HCl กาจัด CO32- เซลล์ทันที
ง. จะไม่มีแก๊สคลอรีนเกิดขึ้น แต่จะได้แก๊สออกซิเจนแทน
11. ในการผลิตปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต (NH4)2SO4 และยูเรีย 16. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
(NH2)2CO มีสารเคมีที่เกี่ยวข้องในขบวนการผลิตอยู่หลาย ก. แทนทาลัมเป็นธาตุกึ่งโลหะสีเทา ใช้ทาอุปกรณ์
ชนิด ที่สาคัญคือ CO, CO2, NH3, N2 และ H2 ให้พิจารณาว่า คอมพิวเตอร์
สารชนิดใดต่อไปนี้ไม่ได้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ถ่านลิกไนต์เป็นสาร ข. แทนทาลัมและไนโอเบียมสามารถละลายได้ใน MIBK
ตั้งต้น ค. ในการสกัดแทนทาลัม สกัดโดยใช้สารละลายกรด
ก. CO ข. CO2 ค. N2 ง. NH3 ง. แทนทาลัมเป็นส่วนผสมในเหลักกล้าใช้ผลิตท่อส่งแก๊ส
12. เกลือแกงเป็นวัตถุดิบที่สาคัญชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้ในโรงงาน 17. การปรับปรุงคุณภาพเกลือสมุทรโดยการเติมปูนขาวปริมาณที่
อุตสาหกรรมประเภทใดมากที่สุด เหมาะสมลงในนาเชื้อ แล้วจึงปล่อยน้าเกลือเข้าไปตกผลึกในนา
ก. โรงงานผงชูรส ข. โรงงานโซดาไฟ ปลง จะได้เกลือที่มีคุณภาพดีขึ้น มีผลึกใส ไม่ชื้นง่าย และมี
ค.โรงงานน้าตาล ง. โรงงานผงซักฟอก ปริมาณร้อยละของเกลือสูง ปูนขาวที่เติมมีบทบาทอย่างไร
13. โรงงานอุตสาหกรรมใดข้างล่างนี้ที่ไม่ได้ใช้คลอรีนใน ก. ช่วยดูดความชื้นจากเกลือ
กระบวนการผลิต ข. ช่วยลดปริมาณแมกนีเซียมไอออน
ก. อุตสาหกรรมพลาสติก ค. ช่วยเพิ่มปริมาณแคลเซียมไอออน
ข. อุตสาหกรรมทากระดาษ ง. ช่วยฟอกสีเกลือ
ค. อุตสาหกรรมทาสบู่ 18. จัดเครื่องมือการแยกสารละลาย NaCl ด้วย กระแสไฟฟ้า ดัง
ง. อุตสาหกรรมทาผงชูรส รูป เมื่อปล่อยให้กระแสไฟฟ้าผ่าน ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องที่สุด
14. เกลือ NaCl ที่มีเกลือแมกนีเซียมปนอยู่มากเป็นมลพิษ จะมี
คุณภาพต่าและราคาตกเพราะเหตุใด
ก. แมกนีเซียมไอออนดูดน้าได้ง่ายเกิดเป็น Mg(OH)2 ทาให้
เกลือชื้น
ข. ทาให้เกลือมีสีคล้า และมีผลึกขนาดใหญ่
ค. แมกนีเซียมซัลเฟตดูดน้าได้ง่ายเกิดเป็น MgSO4•7H2O
ทาให้เกลือชื้น ก. บนแท่งคาร์บอนจะเกิดปฏิกิริยา
ง. แมกนีเซียมไอออนเป็นคะตะไลต์ให้ NaCl ดูดน้าเกิด 2Na+(aq) + 2e- 2Na(s)
เป็น NaOH ได้ง่ายขึ้น ข. บนแท่งคาร์บอนจะเกิดปฏิกิริยา
15. ผงซักฟอกที่ดี ควรมีลักษณะดังข้อใด 2Cl-(aq) Cl2(g) + 2e-
ก. มีสารทาให้เกิดฟอง ตกตะกอนกับ Ca2+ และ Mg2+ ย่อย ค. บนผิวปรอทจะเกิดปฏิกิริยา
สลายง่ายด้วยจุลินทรีย์ 2Na(s) + H2O(l) 2Na+(aq) + 2OH-(aq)
ข. มีสารลดความตึงผิวของน้า มีสารทาให้เกิดฟอง มีสาร ง. บนผิวปรอทจะเกิดปฏิกิริยา
ฟอกจาง 2Na+(aq) + 2Cl-(aq) 2Na(s) + Cl2(g)
ค. มีเกลือที่เป็นอาหารของพืชน้า มีสารทาให้เกิดฟอง ไม่ 19. สารทั้งสามในข้อต่อไปนี้ต้องใช้โซเดียมคลอไรด์หรือผลิตภัณฑ์
ตกตะกอนกับ Ca2+ และ Mg2+ ที่ได้จากการผ่านกระแสไฟฟ้าลงในสารละลายโซเดียมคลอไรด์
ง. ไม่ตกตะกอนกับ Ca2+ และ Mg2+ ย่อยสลายง่ายด้วย ตัวใดตัวหนึ่ง เข้าไปเกี่ยวข้องในกระบวนการผลิต
จุลินทรีย์ มีสารลดความตึงผิวของน้า ก. ผงชูรส โซดาแอช ปุ๋ยยูเรีย
ข. ผงชูรส โซดาแอช พีวีซี C(g) + NH3(g) NH2CONH2 + H2O
ค. ผงซักฟอก พีวีซี ปุ๋ยยูเรีย ข้อใดที่เป็นไปได้
ง. ผงซักฟอก ปุ๋ยยูเรีย โซดาแอช ก. แก๊ส A คือ CO2
20. การใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์มากเกินไป จะทาให้ดินเสียหรือเรียกว่า ข. แก๊ส B คือ SO2
ดินเปรี้ยว ปุ๋ยประเภทนี้ ได้แก่ ค. แก๊ส C เป็นวัตถุดิบชนิดหนึ่งในการผลิตกรดซัลฟิวริก
ก. ปุ๋ยยูเรีย ง. สารละลายของแก๊ส C ในน้ามี pH < 7
ข. ปุ๋ยแอมโมเนีย 24. จงพิจารณาคาอธิบายเกี่ยวกับอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นต่อไปนี้
ค. ปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต a. การเผาพลาสติกและโฟม เกิดแก๊สคลอรีนมากเป็นผลของ
ง. ปุ๋ยโพแทสเซียม เรือนกระจก
21. กาหนดให้ b. การเผาพลาสติกและโฟม ทาลายชั้นโอโซนในบรรยากาศ
A = Na2CO3(s) B = NaHCO3(s) C = CaCO3(s) c. การเผาป่า ทาให้เพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่ง
D = NaCl(s) E = CO2(g) F = NH4OH(aq) ดูดกลืนรังสีอินฟราเรดปริมาณมากขึ้น
จากสารที่กาหนดให้ ถ้าจะเตรียมโซดาแอชจะมีสารที่เกี่ยวข้อง d. การเผาป่า เพิ่มปริมาณความร้อน ทาให้อุณหภูมิสูงขึ้น
เรียงตามลาดับจากก่อนไปหลังดังข้อใด ข้อความใดถูกต้อง
ก. C, B, E, D, F, A ก. a และ d
ข. C, E, D + F, B, A ข. b และ c
ค. C, D + F, E, B, A ค. a และ c
ง. A, D + F, E, B, C ง. b และ d
22. พืชในไร่ 4 แท่ง มีอาการดังนี้ ไร่ A. ใบแข็ง หยาบ เป็นสี 25. ในการเตรียมกรดซัลฟิวริกจาก SO3 นั้น เหตุใดจึงไม่นิยมใช้
น้าตาล ไร่ B. ใบแข็ง ใบร่วง ขอบใบเหลืองซีด ไร่ C. ใบร่วง SO3 ละลายในน้าโดยตรงดังสมการ
เป็นสีน้าตาล โตช้า ไร่ D. ใบหยาบ โตช้า ใบเหลืองแก่ ถ้า SO3 + H2O H2SO4
ข้อมูลการขาดธาตุต่าง ๆ เป็นดังนี้ แต่นิยมละลายใน H2SO4 ก่อน
ธาตุที่ขาด อาการ ก. เพราะ SO3 เป็นแก๊ส ทาให้ยากต่อการทราบความเข้มข้น
N ใบเหลืองแก่ แข็ง หยาบ ของ H2SO4 ที่เตรียมได้
P ใบสีน้าตาล โตช้า ข. เพราะ SO3 ทาปฏิกิริยากับน้าจะเกิดความร้อนมาก อาจ
K ใบร่วง ขอบใบเหลืองซีด เป็นอันตรายได้
ปุ๋ย NPK ที่มีสูตร 20 : 5 : 15 เหมาะสมที่สุดสาหรับไร่ใด ค. เพราะ SO3 มักมี SO2 ผสมอยู่ด้วย ซึ่งเมื่อละลายน้า
ก. A โดยตรง จะได้ H2SO3 ปนอยู่ใน H2SO4
ข. B ง. เพราะปฏิกิริยาระหว่าง SO3 กับน้าเป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับ
ค. C ได้ ฉะนั้นแก๊ส SO3 จึงหนีออกจากสารละลายได้เรื่อย ๆ
ง. D ทาให้ความเข้มข้นของ H2SO4 ลดลง
23. กาหนดให้ 26. ข้อใดผิด
A(g) + O2(g) B(g) + H2(g) ก. การถลุงแร่เป็นกระบวนการรีดักชัน
B(g) + A(g) C(g) + H2(g) ข. การถลุงแร่ทาโดยใช้สารเคมีหรือไฟฟ้า
ค. การถลุงแร่มีส่วนทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ข. NaHCO3 และใช้แก๊ส CO
ง. การถลุงแร่เป็นกระบวนการที่เปลี่ยนสารประกอบอื่นให้ ค. Na2CO3 และใช้แก๊ส NH3
อยู่ในรูปออกไซด์ ง. Na2CO3 และใช้แก๊ส CO
27. ข้อใดเป็นความจริงของการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ในระดับ 32. ในกระบวนการผลิตสารเคมีต่อไปนี้ กระบวนการในข้อใดเกิด
อุตสาหกรรม โดยไม่ผ่านปฏิกิริยารีดอกซ์
ก. แก๊สไฮโดรเจนที่ผลิตได้จากเซลล์ไดอะแฟรมสามารถนา ข้อ สารเคมี กระบวนการผลิต
ไปใช้ทากรดไฮโดรคลอริก ส่วนสารละลายโซเดียมไฮดร 1. NaOH แยกสลาย NaCl ด้วยกระแสไฟฟ้า
อกไซด์สามารถนาไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเรยอง 2. Na2CO3 เผา NaHCO3
ข. แก๊สคลอรีนที่ผลิตได้จากเซลล์ปรอทสามารถนาเอาไปใช้ 3. ดีบกุ เผาแร่แคสซิเทอไรต์กับ CO
ฆ่าเชื้อในกระบวนการทาน้าประปา ส่วนสารละลาย 4. แอมโมเนีย ใช้ N2 ทาปฏิกิริยากับ H2 โดยมีตัวเร่ง
โซเดียมไฮดรอกไซด์ สามารถนาไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิต ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4
โมโนโซเดียมกลูตาเมต และใช้เป็นผงชูรสต่อไป 33. การถลุงแร่ชนิดใดที่เกิดแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ซึ่งเป็นแก๊ส
ค. เฉพาะเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนเท่านั้น ที่มีแก๊สคลอรีน พิษ
และแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น ก. แร่แคสซิเทอไรต์
ง. โซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ได้จากเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน ข. แร่ซิงค์ไคต์
จะมีความเข้มข้นสูงกว่าที่ได้จากเซลล์ไดอะแฟรมแต่จะ ค. แร่สติบไนต์
น้อยกว่าที่ได้จากเซลล์ปรอท ง. แร่สมิทไนต์
28. ถ้า H2SO4 ราคาลดลงกว่าปัจจุบัน 50 % ราคาปุ๋ยชนิดใดจะมี 34. สาร PSZ ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิกส์ มีโลหะชนิดใดผสมอยู่
ต้นทุนการผลิตที่ลดลง ก. ดีบกุ
ก. ปุ๋ยฟอสเฟต ปุ๋ยยูเรีย ข. แทนทาลัม
ข. ปุ๋ยยูเรีย ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต ค. ไนโอเบียม
ค. ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต ปุ๋ยโพแทส ง. เซอร์โคเนียม
ง. ปุ๋ยฟอสเฟต ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต 35. ข้อใดไม่ใช่อุตสาหกรรมเซรามิกส์
29. ในการผลิต NaOH จาก NaCl โดยใช้ไฟฟ้าในระดับ ก. อุตสาหกรรมเครื่องสุขภัณฑ์
อุตสาหกรรม ถ้าใช้ปรอทเป็นแคโทด จะมีข้อดีอย่างไร ข. อุตสาหกรรมซีเมนต์
ก. ช่วยให้เกิด Cl2 ที่ขั้วบวกมากขึ้น ค. อุตสาหกรรมแก้ว
ข. ช่วยป้องกันแก๊ส Cl2 ละลายน้า ง. ไม่มีข้อถูก
ค. ช่วยแยก Na ออกจากสารละลาย NaCl 36. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ง. ช่วยให้แก๊ส H2 เกิดขึ้นที่ขั้วลบมากขึ้น ก. เกลือที่เหมาะสาหรับใช้บริโภคคือเกลือสินเธาว์
30. ตัวรีดิวซ์ที่ใช้ในการถลุงดีบุกคือข้อใด ข. เกลืออนามัยคือเกลือสมุทรที่เติมธาตุไอโอดีนผสมอยู่ด้วย
ก. C ข. Mg ค. Zn ง. Zr ค. การกาจัด SO42- ในสารละลาย NaCl ก่อนอิเล็กโทรลิซิส
31. โซดาแอชเป็นสารเคมีมีสูตรเป็นอย่างไร และเมื่อผลิตโซดาแอ ทาได้โดยการเติม BaCO3
ชด้วยวิธโี ซลเวย์ จะต้องใช้แก๊สใดในการผลิต ง. ผลพลอยได้จากการผลิตโซดาแอชคือแอมโมเนียมคลอไรด์
ก. NaHCO3 และใช้แก๊ส NH3
37. หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ผลิตเกลือโซเดียมคลอไรด์จาก พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ชั้นเกลือหินคือ a. แร่พลวงในธรรมชาติ คือ Sb2S3 ก่อนนาไปถลุงต้องเปลี่ยน
ก. การละลาย การกรอง การระเหยและการตกผลึก ให้เป็นออกไซด์ก่อน
ข. การกรอง การระเหย และการตกผลึก เรียกกระบวนการนี้ว่า ย่างแร่ (สมการ 1)
ค. การระเหย และการตกผลึก b. ออกไซด์ของพลวงถูก CO รีดิวซ์เป็นพลวง (สมการ 3)
ง. การละลาย การระเหย และการตกผลึก c. การเผาถ่านหินทุกครั้งจะได้ CO (สมการ 2)
38. การถลุงแร่ในข้อใดที่มีลาดับขั้นตอนการถลุงดังนี้ d. ถ้าแร่พลวงไม่บริสุทธิ์จะต้องใช้ Na2CO3 มาดึงเอาสาร
1) ย่างแร่ ปนเปื้อนออกมาเป็นตะกอน
2) รีดิวซ์แร่ที่ย่างด้วย CO ในเตาถลุง ข้อใดถูกต้อง
3) โซเดียมคาร์บอเนตรวมตัวกับสารปนเปื้อนต่าง ๆ ในเตา ก. a, b และ c
ถลุง กลายเป็นกากตะกอนลอยอยู่บน ผิวโลหะเหลว ข. b, c และ d
4) ไขโลหะเหลวออกจากเตาลงเบ้าเหล็กเพื่อหล่อเป็นแท่ง ค. a, b และ d
ก. แร่ฟาเลอไรด์ ง. a, c และ d
ข. แร่แคสซิเทอไรต์ 42. อุตสาหกรรมในข้อใดไม่ได้ก่อให้เกิดมลพิษหรือผลกระทบ
ค. แร่สติบไนต์ ตามที่ระบุ
ง. แร่เซอร์คอน ก. อุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์มีการ
39. HF ซึ่งเป็นสารพิษ ใช้ในกระบวนการผลิตปุ๋ยชนิดใด แพร่กระจายของดินเค็ม
ก. ปุ๋ยยูเรีย ข. อุตสาหกรรมการผลิตสังกะสีมีกากแร่ที่มีแคดเมียม
ข. ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต ค. อุตสาหกรรมการผลิตแทนทาลัมจะเหลือกากที่เป็นสาร
ค. ปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต กัมมันตรังสี
ง. ปุ๋ยโพแทส ง. อุตสาหกรรมผลิตเซรามิกส์มีสารปรอทรั่วไหลลงสู่แหล่งน้า
40. การถลุงแร่ในข้อใดที่มีหลักการในการถลุงเหมือนกัน 43. ในการผลิตเกลือสินเธาว์ ข้อใดไม่ใช่ปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม
1) สังกะสี ก. ทาให้ปริมาณ Ca2+, Mg2+, SO42-, CO32- ในดินเพิ่มขึ้น
2) แคดเมียม ข. ต้องใช้ปริมาณน้าจืดจานวนมาก ทาให้ขาดแคลนน้าจืด
3) ดีบกุ ค. เกลือสินเธาว์ขาดธาตุไอโอดีนทาให้ไม่เหมาะที่จะใช้บริโภค
4) พลวง ง. เกิดยุบตัวของพื้นดินบริเวณที่มีการผลิตเกลือจากน้าเกลือ
ก. 1 และ 2 บาดาล และชั้นเกลือหิน
ข. 2 และ 3 44. การใช้ภาชนะเซรามิกส์ใส่อาหารที่เป็นกรดหรือเบส กรดและ
ค. 1 2 และ 4 เบสจะละลายสารที่เคลือบติดปนมากับอาหารได้ สารดังกล่าว
ง. 1 3 และ 4 เป็นสารในข้อใด
41. สมการที่เกี่ยวข้องกับการถลุงแร่พลวง มีดังนี้ ก. เซอร์โคเนียมไดออกไซด์
2Sb2S3 + 9O2 2Sb2O3 + 6SO2 …(1) ข. สังกะสี
2C + O2 2CO …(2) ค. ตะกั่ว
Sb2O3 + 3CO2 2Sb + 3CO2 …(3) ง. แคดเมียม
45. จงเลือกข้อที่เมื่อเติมลงในช่องว่างจะได้ตารางข้อมูลที่ถูกต้อง 48. น้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดผลในข้อใดต่อไปนี้
และสมบูรณ์ที่สุด ข้อใดไม่เอื้อต่อการยังชีพของสิ่งมีชีวิตในน้ามากที่สุด
ธาตุ ชื่อแร่ ประโยชน์ ก. มีแบคทีเรียมาก
พลวง A ตัมพิมพ์โลหะ ข. มีอุณหภูมิสูง
B C ชุบโลหะ โลหะผสม ค. มีออกซิเจนสูง
เซอร์โคเนียม เซอร์คอน D ง. มีโลหะหนัก
49. ข้อใดอาจช่วยลดจานวนผู้ป่วยโรคมะเร็งผิวหนังได้
ข้อ A B C D ก. ลดปริมาณฟอตเฟสในผงซักฟอก
ก. สติบไนต์ สังกะสี สฟาเลอไรต์ เซรามิกส์ ข. ลดปริมาณตะกั่วในน้ามันเบนซิน
ทนไฟ ค. ลดจุดเดือดของน้ามันดีเซล
ข. เฮมิมอร์ ดีบกุ แคสสิเทอ อุปกรณ์ ง. ลดการใช้สารฟลูออโรคาร์บอนในการเป็นสารขับดันใน
ไฟต์ ไรต์ อิเล็กทรอนิกส์ กระป๋องสเปรย์
ค. สติบิโค สังกะสี เฮมิมอร์ไฟต์ เซลล์สุริยะ 50. กระบวนการผลิตผงชูรสจากแป้งมันสาปะหลัง เป็นดังนี้
ไนต์ ก. แป้งมันสาปะหลัง + H2SO4 น้าตาลกลูโคส
ง. สติบไนต์ แทนทาลัม ตะกรันดีบุก ชิ้นส่วน ข. น้าตาลกลูโคส + ยูเรีย แอมโมเนียมกลูตาเมต
เครื่องยนต์ไอ ค. แอมโมเนียมกลูตาเมต + HCl กรดกลูตามิก + NH4Cl
พ่นและจรวด ง. กรดกลูตามิก + NaOH โมโนโซเดียมกลูตาเมต + H2O
46. การเติมสารประกอบฟอสเฟตลงในผงซักฟอก ทาให้เกิดผล
เสียอย่างไร
ก. Ca2+ และ Mg2+ ตกตะกอนจากน้ากระด้าง และใช้ ลงชื่อ...................................................................
ปริมาณออกซิเจนในน้าอย่างสิ้นเปลือง (นายพนัฐโชติ ศรีหาวัตร)
ข. สารละลายเป็นเบส และทาให้เกิดไคลมากขึ้น ครูผู้สอน
ค. Ca2+ และ Mg2+ ตกตะกอนจากน้ากระด้างและทาให้
ผงซักฟอกมีฟองน้อยลง ลงชื่อ...................................................................
ง. ทาให้พืชเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและใช้ปริมาณ (นางสาวณัฐมน นามมนตรี)
ออกซิเจนในน้ามากขึ้น ครูพี่เลี้ยง
47. โลหะหนักมีอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตมาก จึงต้องใช้อย่าง
ระมัดระวัง ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ที่เจ้าของโรงงานจาเป็นต้อง ลงชื่อ...................................................................
กระทาเพื่อลดอันตรายจากโลหะหนัก (นางสาวพุทธวรรณี จันทร์นามอม)
ก. ทาให้โรงงานมีระบบการถ่ายเทอากาศที่ดี หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาตร์
ข. มีการตรวจสุขภาพคนงานเป็นระยะ ๆ
ค. จัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสมให้กับคนงาน ลงชื่อ...................................................................
ง. ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ (นางสมมาตร ศิริบูรณ์)
ผช.ผอ.กลุ่มงานบริหารวิชาการ

You might also like