You are on page 1of 15

ขอ

้ สอบเอนทรานซ์

1. เมื่อนําแทง่ ดีบุกจุม
่ ลงในสารละลายของตะกั่วไนเตรต ปรากฏวา่ มีโละหะตะกั่วเกาะบนแทง่ ดีบุก แสดงวา่

1. แทง่ ดีบุกเป็ นตัวออกซิไดซ์ 2. แทง่ ดีบุกเป็ นตัวรี ดิวซ์

3. โลหะตะกั่วเป็ นตัวออกซิไดซ์ 4. ตะกั่วไอออนเป็ นตัวรี ดิวซ์

2. สมการใดที่จัดวา่ เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์

1. Zn​2​[Fe(CN)​6​] + 8NaOH = 2Na​2​ZnO​2​ + Na​4​[Fe(CN)​6​] + 4H​2​O

2. Co(NO​3​)​2​ + 6KCN = K​4​[Co(CN)​6​] + 2KNO​3

3. 2CuSO​4​ + 4KCN = Cu​2​(CN)​2​ + 2K​2​SO​4​ + 2(CN)​2

4. Ag(NH​3​)​2​Cl + 2HNO​3​ = AgCl + 2NH​4​NO​3

้ ใดตอ่ ไปนี้ เป็ นปฏิกิริยาประเภทรี ดอกซอ์ ยา่ งแน่นอน


3. ปฏิกิริยาเคมีในขอ

1. เมื่อผสมสารละลายสองชนิ ดที่มีตะกอนเกิดขึ้น

2. เมื่อกรดซั ลฟิ วริ กแตกตัวเป็ นไอออนในนํา้

3. เมื่อกรดซั ลฟิ วริ กทาํ ปฏิกิริยาสะเทินกับโซเดียมไฮดรอกไซด์

4. เมื่อสารประกอบบางชนิ ดทาํ ปฏิกิริยากับกรดแลว้ มีก๊าซคลอรี นเกิดขึ้น

์ อ่ ไปนี้ ปฏิกิริยาใดที่ตัวรี ดิวซม


4. ในปฏิกิริยารี ดอกซต ์ ีการเปลี่ยนคา่ เลขออกซิเดชั นจาก +3 เป็ น +4

1. 2Na​2​S​2​O​3​ + I​2​ 2NaI + Na​2​S​4​O​6

2. 3CuO + 2NH​3​ 3Cu + 3H​2​O + N​2

3. 3Na​2​SnO​2​ + KClO​3 KCl + 3Na​2​SnO​3

4. 2KMnO​4​ + 3H​2​C​2​O​4 K​2​CO​3​ + 2MnO​2​ + 5CO​2​ + 3H​2​O

5. จากสมการขา้ งลา่ งนี้ จงเลือกปฏิกิริยาที่ธาตุตัวหนึ่ งถูกรี ดิวซ์ และทังถู


้ กออกซิไดซ์

1. 4Zn + NO​3​+​ + 10H​+ 4Zn​2+​ + NH​4​+​ + 13H​2​O

2. 2Al + 6H​2​O + 20H​- 2Al(OH)​4​-​ + 3H​2​O

3. 3Cl​2​ + 6NaOH 5NaCl + NaClO​3​ + 3H​2​O

4. 2CrO​2-​ + 3ClO​-​ + 2OH​- 2CrO​4​2-​ + 3Cl​-​ + H​2​O

6. สารที่ขีดเสน ้ ใดที่เป็ นตัวรี ดิวซ์


้ ใตใ้ นขอ

1. Cu(s) + 4HNO​3​(aq) Cu(NO​3​)​2​(aq) + 2NO + 2H​2​O

2. N​2​(g) + 3H​2​(g) 2NH​3​(g)


3. ZN(s) + Pb(NO​3​)​2​(aq) Zn(NO​3​)​2​(aq) + Pb(s)

4. 2AgNO​3​(aq) + BaCl​2​(aq) 2AgCl(s) + Ba(NO​3​)​2​(aq)

7. จงพิจารณาปฏิกิริยารี ดอกซ์ : Ni(s) + 2Ag+ Ni​2+​(aq) + 2Ag(s) ทา่ นคิดวา่ ขอ ้ งที่สุด


้ ความใดถูกตอ

1. Ag​+​ เป็ นตัวรี ดิวซ์ 2. Ni เป็ นตัวรี ดิวซ์

3. Ni Ni​2+​ + 2e​-​ เป็ นปฏิกิริยารี ดักชั น 4. Ag​+​ + e​-​ Ag เป็ นปฏิกิริยาออกซิเดชั น

8. จากปฏิกิริยา 2MnO4​-​ + H​2​O + 3NO​2​- 2MnO​2​ + 3NO​3​-​+ 2OH​-

้ ความใดที่ไมถ
จงพิจารณาวา่ ขอ ่ ูกตอ
้ ง

1. NO​2​-​ ถูกออกซิไดซด
์ ว้ ย MnO4​
-

2. ครึ่ งปฏิกิริยาเขียนไดเ้ ป็ น NO2​-​ + 2OH​-​ → NO​3​-​ + H​2​O + 2e​-

3. ปฏิกิริยานี้ มีการให้หรื อรับอิเล็กตรอน 2 ตัว

4. ธาตุ Mn ใน MnO4​-​ เปลี่ยนเลขออกซิเดชั นไป 3

์ ้ี ให้ดุลแลว้ บอกวา่ a b c d มีคา่ เทา่ ไร


9. จงทาํ สมการรี ดอกซน

aFe​2+​(aq) + bCr​2​O​7​2-​(aq) + xH​+​(aq) cFe​3+​(aq) + dCr​3+​(aq) + yH​2​O(l)

1. 6, 1, 6, 2 2. 1, 1, 1, 2

3. 3, 2, 3, 4 4. 3, 1, 3, 2

10. เมื่อทาํ ให้สมการ NaCl + H2​O​2​ + FeCl​2​ → FeCl​3​ + NaOH ดุลแลว้ ตัวเลขสั มประสิทธิ์ท่ีบอกจาํ นวน โมลของโซ
เดียมไฮดรอกไซดจ์ ะมีคา่ เทา่ ใด

1. 1 2. 2

3. 3 4. 4

คาํ ชี้แจง ใชข้ อ


้ มูลในตารางประกอบการตอบคาํ ถามขอ
้ 12 - 14

การทดลอง สารละลาย การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้


ที่ กอ
่ นเติมสารละลายโซดียมซั ลไฟด์ หลังเติมสารละลายโซเดียมซั ลไฟด์
1 คอปเปอร์ (II)ซั ลเฟต สารละลายสีฟ้า ไดต ้ ะกอนหนักสีดาํ
2 ซิงคซ์ ั ลเฟต สารละลายไมม่ ี ส ี ได ต
้ ะกอนสีขาว
3 คอปเปอร์(II) ซั ลเฟต สีฟ้าของสารละลายจางลง มีคราบ เมื่อเริ่ มทดลองไดต ้ ะกอนสีดาํ ของตะกอ
ที่มีแผน่ สั งกะสีจุม
่ อยู ่ โลหะสีนํา้ ตาลแดงจับบนแผน ่ สั งกะสี นค อ
่ ยๆ เปลี ่ ยนจากสี ้ ้ง
ดาํ เป็ นขาว ตังทิ

ไว้ 1 ชั วโมง ไดต ้ ะกอนเบาสีขาว
4 ์ ั ลเฟตที่มีแผน
ซิงคซ ่ ไมเ่ กิดการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ ไดต
้ ะกอนเบาสีขาว
ทองแดงจุม ่ อยู ่

12. ถา้ นําโลหะและสารละลายมาใหม่ แลว้ ตอ่ ครึ่ งเซล Cu/Cu2+​ เขา้ กับครึ่ งเซล Zn/Zn2+​ พร้อมดว้ ยโวลตม
์ ิเตอร์ และ
สะพานไอออน การทาํ นายเกี่ยวกับเซลลไ์ ฟฟ้าเคมีน้ี มีขอ
้ ใดผิด


1. ความตา่ งศั กยข์ องเซลล์ = ศั กยไ์ ฟฟ้าของขัวทองแดง - ศั กยไ์ ฟฟ้าที่ขัวสั
้ งกะสี

์ ือสั งกะสี
2. แอโนดของเซลลค

์ ือ ทองแดงไอออน
3. ตัวออกซิไดซค

4. เข็มของโวลตม
์ ิเตอร์จะเบนเขา้ หาสั งกะสี

13. ในเซลลไ์ ฟฟ้าที่ตอ่ ขึ้นใหมน ์ าตรฐาน (แบบรี ดักชั น) ที่ขัวทองแดงมี


่ ้ี ถา้ ศั กยไ์ ฟฟ้าครึ่ งเซลลม ้ คา่ a ศั กยไ์ ฟฟ้าครึ่ ง
เซลลม ่ ้ งกะสีจะมีคา่
์ าตรฐานทีขัวสั

1. a+b เมื่อ a b เป็ นบวก 2. a+b เมื่อ a เป็ นบวก b เป็ นลบ

3. a+b เมื่อ a b เป็ นลบ 4. a+b เมื่อ a เป็ นลบ b เป็ นบวก

14. ในเซลลไ์ ฟฟ้าที่ตอ่ ขึ้นใหมน


่ ้ี การทาํ นายสิง่ ที่เกิดขึ้นขอ
้ ใดถูก

1. ความเขม ้ ของ Zn2+ จะลดลงเรื่ อย ๆ


้ ขน 2. ความเขม ่ ขึ้นเรื่ อย ๆ
้ ของ Zn2+ จะเพิม
้ ขน

3. ความเขม ่ ขึ้นเรื่ อย ๆ
้ ของ Cu2+ จะเพิม
้ ขน 4. ความเขม ้ ของ Cu2+ จะลดลงถึงศูนยใ์ นที่สุด
้ ขน

15. ในการทดลองเพื่อแสดงการถา่ ยเทอิเล็กตรอน (เห็นไดจ้ ากเข็มโวลตม ์ ิเตอร์) ในปฏิกิริยารี ดอกซ์ ซึ่งประกอบดว้ ย


่ ั บครึ่ งเซลลช์ นิ ดที่สอง เหตุผลที่ดีท่ีสุดที่เราใช้ สะพานไอออน ที่ประกอบดว้ ยกระดาษกรอง
ครึ่ งเซลลช์ นิ ดที่หนึ่ งตอ่ อยูก
ชุบสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต คือ

้ ่ งเซลลท
1. โพแทสเซียมไนเตรตประกอบดว้ ยไอออนตา่ งชนิ ดจากไอออนทังหลายในครึ ้
์ ั งสอง

2. โพแทสเซียมไนเตรตเป็ นสารประกอบไอออนิ ก สารละลายจึงยอมให้ไอออนผา่ นโดยที่สารละลายในครึ่ งเซลลท


์ ั ง้

สองไมเ่ ปลียนระดับ

3. สารละลายโพแทสเซียมไนเตรตมีความตน
้ ทานไฟฟ้าสูง

้ วดทองแดงเป็ นสะพานไอออน ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นเร็วเกินไป


4. ถา้ ใชล

่ ตัวของ KNO3​ แทนการใชส


้ ารละลายอิม
16. ในการทาํ สะพานไอออน เพราะเหตุใดจึงเลือกใชส ่ ตัวของ
้ ารละลายไมอ่ ิม
KNO​3

1. ถา้ ตอ
้ งการให้นําไฟฟ้าไดด
้ ี

2. รักษาสมดุลระหวา่ งไอออนบวกและไอออนลบไดแ
้ น่นอน

3. มีระยะเวลาการใชง้ านไดน
้ าน

4. ให้ไอออนเคลื่อนผา่ นสะพานไอออนไดเ้ ร็ว


คาํ ชี้แจง ขอ
้ ความตอ่ ไปนี้ ใชป
้ ระกอบการตอบคาํ ถามขอ
้ 17-19

(1) โซเดียมทาํ ปฏิกิริยารุ นแรงกับนํา้ ในขณะที่ Zn ไมท


่ าํ ปฏิกิริยากับนํา้

(2) แผน
่ Zn ทาํ ปฏิกิริยากับสารละลาย HCL เจือจางเร็วกวา่ แผน
่ Fe

(3) แทง่ Cu จุม


่ ในสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตเกิดสีเงินติดแทง่ ทองแดงและสารละลายเป็ นสีฟ้าออ่ น

(4) ใสผ
่ งเหล็กในสารละลายคอปเปอร์ซัลเฟตเกิดสีสม
้ หุ้มผงเหล็ก

17. การเรี ยงลาํ ดับธาตุตามความสามารถเป็ นตัวรี ดิวซจ์ ากมากไปน้อยเป็ นไปตามขอ


้ ใด

1. Zn, Na, Fe, Cu, Ag 2. Ag, Cu, Fe, Zn, Na

3. Na, Fe, Zn, Ag, Cu 4. Na, Zn, Fe, Cu, Ag

18. ถา้ สร้างเซลลไ์ ฟฟ้าเคมีเหล็ก - ทองแดง

1. อิเล็กตรอนไหลจากเหล็กไปยังทองแดง

2. เหล็กเป็ นแคโทด

์ ือ ทองแดง
3. ตัวรี ดิวซค

4. คา่ ศั กยไ์ ฟฟ้าครึ่ งเซลลม


์ าตรฐานของ Cu/Cu2+ น้อยกวา่ ของ Fe/Fe2+

้ ความใดตอ่ ไปนี้ ที่ไมถ


19. ขอ ่ ูกตอ
้ ง

1. ปฏิกิริยา Zn + 2Ag2+ 2Ag + Zn​2+​ เกิดขึ้นไมไ่ ด้

2.คา่ E° ของครึ่ งเซลล์ Fe/Fe2+​ น้อยกวา่ 0 V

3. 2Na + 2 H​2​O 2NaOH + H​2​ เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์

4. ซิลเวอร์ไอออนเป็ นตัวออกซิไดซค
์ อปเปอร์

20. กาํ หนด เซลล์ 1 คือ Al/Al3+​ // Ag​+​/Ag เซลล์ 2 คือ Zn/Zn2+​ // Sn​2+​/Sn

เมื่อนําเซลลท ้
์ ั งสองมาตอ่ กันโดยนําแอโนดตอ่ กับแอโนด และแคโทดตอ่ กับแคโทด ขอ
้ สรุ ปใดถูกตอ
้ ง

1. ปฏิกิริยาในเซลล์ 2 หลังการตอ่ คือ Zn + Sn2+ Zn​2+​ + Sn


2. เซลลไ์ ฟฟ้าเคมีทังสองกอ่ นการตอ่ มีลักษณะเป็ นเซลลก
์ ั ลวานิ ก

่ ขึ้นเสมอทังก
3. โลหะ Ag จะมีนํา้ หนักเพิม ้ อ่ นตอ่ และหลังการตอ่

4. แทง่ Zn มีนํา้ หนักลดลงกอ ่ ขึ้นหลังการตอ่


่ ีนํา้ หนักเพิม
่ นการตอ่ แตม

21. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเองไมไ่ ดค
้ ือ

1. Sn + Cu​2+ Sn​2+​ + Cu 2. Cd + Fe​2+ Cd​2+​ + Fe


3. Cr +Ag​+ Cr​3+​ + Ag 4. Mn + Zn​2+ Mn​2+​ + Zn

้ งการทาํ ภาชนะดว้ ยโลหะบริ สุทธิ์จาํ นวน 3 ใบ เพื่อใชใ้ สส่ ารละลาย Sn2+, Cd2+ และ Cr3+ โดยไมใ่ ห้เกิด
22. ถา้ ตอ
การผุกร่อนนัน ้ ควรเลือกทาํ ดว้ ยโลหะชนิ ดใด

1. Cu 2. Ni 3. Fe 4. Al

23. กาํ หนด เซลล์ 1 คือ Sn /Sn2+​ // Cu​2+​ / Cu E° เซลล์ = 0.48 V

เซลล์ 2 คือ Mg / Mg2+​ // Sn​2+​ / Sn E° เซลล์ = 2.23 V

เมื่อนําครึ่ งเซลลข์ อง Cu / Cu2+​ มาตอ่ กับครึ่ งเซลลข์ อง Mg / Mg2+​ ขอ


้ ใดถูก

1. ขัว้ Cu เป็ นแคโทด และ E° เซลล์ = 2.71 V 2. ขัว้ Cu เป็ นแคโทด และ E° เซลล์ = 1.75 V

3. ขัว้ Mg เป็ นแคโทด และ E° เซลล์ = 2.71 V 4. ขัว้ Mg เป็ นแคโทด และ E° เซลล์ = 1.75 V

24. เ​ มื่อจุม
่ โลหะ A, B, C​ ลงในสารละลายที่มีไอออนทัง้ 3 ชนิ ด ไดผ
้ ลดังตาราง

โลหะที่ ไอออนใน
มวลของโลหะที่จุม

จุม
่ สารละลาย
A B​+ ่ ขน
เพิม ้
B C​+ ไมเ่ ปลี่ยนแปลง

C A​+ ไมเ่ ปลี่ยนแปลง

การเรี ยงลาํ ดับคา่ E​ o​ ขอ


้ ใดถูก
1. ​A > B > C 2. C > B > A 3. B > A > C 4. B > C > A
25. เมื่อนําสารละลายอิม ้ ่แอโนด 0.448 dm3 ที่
่ ตัวโซเดียมคลอไรด์ จาํ นวน 4 dm3​ มาแยกตัวดว้ ยไฟฟ้า เกิดก๊าซขันที
STP จงหาคา่ pH ของสารละลายขณะนัน ้

กาํ หนดให้ 2H2​O(l) + 2e​- 2OH​-​(aq) + H​2​(g)

2Cl​-​(aq) Cl​2​(g) + 2e​-

1. 11 2. 12 3. 13 4. 14

26. ในเรื่ องเกี่ยวกับเซลลส์ ะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว ขอ


้ ความในขอ ่ ูกตอ
้ ใดไมถ ้ ง
์ ุติยภูมิ
1. เป็ นเซลลท 2. PbO​2​ เป็ นแอโนด

3. สารละลาย H2​SO​4​ เป็ นอิเล็กโทรไลต์ ้


4. PbSO​4​ เป็ นผลิตภัณฑข์ องทังออกซิ เดชั นและรี ดักชั น

27.ในการสร้างเซลลส์ ะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วเราจุม ่ แทง่ ตะกั่วใหมๆ่ สองแทง่ ลงในสารละลาย H2SO4 แลว้ ประจุไฟฟ้า



ครัง้ แรกโดยตอ่ ขัวไฟฟ ้
้ าทังสองก ่
ั บแบตเตอรี ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ขัวลบในการประจุ
้ ไฟฟ้าครัง้ แรกคือ 2H+(aq) + 2e- ®
่ ้ ่ ้
H2(g) ปฏิกิริยาทีเกิดขึนทีขัวบวก คือ

1. Pb(s) Pb2+(aq) + 2e-

2. Pb(s) + 2H2O(l) PbO2(s) + 4H+(aq) + 4e-

3. PbSO4(s) + H2O(l) Pbo2(s) + HSO4-(aq) + 3H+ +2e-

4. Pb(s) + HSO4- (aq) PbSO4(s) + H+(aq) + 2e-

28. การเป็ นสนิ มจะทาํ ให้เกิดไดเ้ ร็วขึ้นเมื่อมีสารใดพันอยูก


่ ั บตะปู

1. ดีบุก 2. สั งกะสี 3. โครเมียม 4. แมกนี เซียม

29. เราจะพิสูจน์วา่ ตะปูเป็ นสนิ มไปแลว้ โดยใชส


้ ารใด

1. K​2​Cr​2​O​7 2. KMnO​4 3. K​2​Fe(CN)​6 4. K​2​CrO​4

้ มอยา่ งไร ที่ทาํ ให้โลหะชุบโครเมียมของกันชนรถยนต์ เกิดการผุกร่อนเร็วที่สุด


30. ภาวะแวดลอ

1. ความชื้นของอากาศ 2. ความชื้น และคาร์บอนไดออกไซด์

3. นํา้ และออกซิเจน 4. นํา้ ทะเล และอากาศ

31. เมื่อนําตะกั่ว และนิ กเกิลมาฉาบติดกัน ผลที่เกิดขึ้นคือขอ


้ ใด กาํ หนดให้

Pb​2+ ​+ 2e​- Pb E = -0.13 V

Ni​2+ ​+ 2e​- Ni E = -0.27 V

1. นิ กเกิลป้องกันการผุกร่อนของตะกั่ว 2. ตะกั่วป้องกันการผุกร่อนของนิ กเกิล

3. ตะกั่วให้อิเล็กตรอนแกน
่ ิ กเกิล 4. ตะกั่วทาํ หน้าที่เป็ นแอโนด นิ กเกิลทาํ หน้าที่เป็ นแคโทด

32. สิง่ ใดไมค


่ วรปฏิบัติในการชุบโลหะดว้ ยไฟฟ้า

1. ใชโ้ ลหะที่จะชุบเป็ นแคโทดหรื อขัวลบของเซลล


้ ์ 2. ใชข้ องที่จะชุบเป็ นแคโทดหรื อขัวลบของเซลล
้ ์

3. ใชส ์ ีไอออนของโลหะที่จะชุบ
้ ารละลายอิเล็กโทรไลตม 4. ใชก
้ ระแสไฟตรง
33. ถา้ ตอ
้ งการชุบเหรี ยญทองแดง ควรใชอ
้ ะไรเป็ นอิเล็กโทรไลตแ์ ละอะไรเป็ นแอโนด

1. สารละลายที่มี Ag+​, โลหะเงิน 2. สารละลายที่มี Cu2+​ โลหะเงิน

3. สารละลายที่มี Ag+​, เหรี ยญทองแดง 4. สารละลายที่มี Cu2+​ เหรี ยญทองแดง

34. ในการชุบตะปูเหล็กดว้ ยสั งกะสี โดยจุม


่ ตะปูและแผน ้
่ สั งกะสีลงในสารละลาย ZnSO4​ ตอ่ ตะปูกับขัวลบ และ สั งกะสี

กับขัวบวกของแบตเตอรี ่ ่
1.5 โวลต์ เมือปฏิกิริยาดาํ เนิ นไปขอ ้ ความใดถูกตอ
้ ง

1. ความเขม ้ ของสารละลาย ZnSO4​ จะคงที่


้ ขน

2. ความเขม ้ ของสารละลาย ZnSO4​ จะลดลงไปเพราะ Zn ไปเกาะที่ตะปูเป็ น Zn


้ ขน
2+​

3. ความเขม ่ ขึ้นเพราะ Zn จากขัวบวกจะกร


้ ของสารละลาย ZnSO4 จะเพิม
้ ขน ้ ่อนไปเรื่ อย ๆ

4. ความเขม ่ ขึ้นหรื อลดลงก็ไดแ


้ ของสารละลาย ZnSO4 จะเพิม
้ ขน ้ ลว้ แตอ่ ั ตราเร็วของปฏิกิริยา

35.การกระทาํ ในขอ
้ ใดไมถ ้ ง เมื่อตอ
่ ูกตอ ้ งการชุบแทง่ เหล็กดว้ ยโครเมียม


1. ใชโ้ ลหะโครเมียมเป็ นแอโนดหรื อเป็ นขัวบวก ้
้ ทง่ เหล็กเป็ นแคโทดหรื อเป็ นขัวลบ
2. ใชแ

3. สารละลายอิเล็กโทรไลตต ้
้ งมีไอออนของ โครเมียม 4. ใชโ้ ลหะโครเมียมเป็ นแคโทดหรื อเป็ นขัวลบ
์ อ

้ ใดไมเ่ กี่ยวกับเรื่ องเซลลเ์ ชื้อเพลิงไฮโดรเจน - ออกซิเจน


้ ความตอ่ ไปนี้ ขอ
36. ขอ

1. เกิดปฏิกิริยารี ดอกซ์

2. เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็ นพลังงานไฟฟ้า

้ น
3. มีการผา่ นสารตังต ้ ที่ขัวแคโทดและแอโนดอย
้ า่ งสมา่ ํ เสมอ

4. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ขัวแคโทดจะให
้ ้ก๊าซไฮโดรเจน ที่ขัวแอโนดให
้ ้ก๊าซออกซิเจน

้ ความเกี่ยวกับเซลลเ์ ชื้อเพลิงไฮโดรเจน - ออกซิเจน ตอ่ ไปนี้ ขอ


37. ขอ ้ ใดผิด

1. พลังงานเคมีของเชื้อเพลิงถูกเปลี่ยนเป็ นพลังงานไฟฟ้า

้ งบรรจุเชื้อเพลิงเขา้ ไปในเซลลต
2. ตอ ์ อ่ เนื่ องกันอยูต
่ ลอดเวลา

3. ที่แอโนดเป็ นปฏิกิริยาออกซิเดชั นของไฮโดรเจน โดยมีไฮดรอกไซดไ์ อออนเขา้ ร่วมในปฏิกิริยาดว้ ย

4. นํา้ ซึ่งเป็ นผลิตผลของปฏิกิริยา จะแยกสลายเป็ นไฮโดรเจนและออกซิเจน ซึ่งนํากลับมาใชเ้ ป็ นเชื้อเพลิงไดอ


้ ีก

่ ูกตอ
38. การป้องกันการผุกร่อนของตะปูเหล็กวิธีใดไมถ ้ ง


1. นําตะปูตอ่ เขา้ กับขัวบวกของถา่ นไฟฉาย 2. นําตะปูไปทาํ อะโนไดซ์

3. นําตะปูไปทาํ แคโทดิก 4. นําตะปูไปทาํ รมดาํ

้ สรุ ปในการชุบโลหะดว้ ยไฟฟ้าตอ่ ไปนี้


39. จากขอ

ก. สารละลายอิเล็กโทรไลตต ้ งมีไอออนของโลหะที่ใชเ้ คลือบปนกับสารประกอบไซยาไนด์


์ อ

้ งการชุบควรตอ่ ที่ขัวแอโนด
ข. สิง่ ที่ตอ ้
้ งการชุบชิ้นงานดว้ ยโลหะใด ตอ
ค. ตอ ้ ที่ขัวแคโทด
้ งตอ่ โลหะนัน ้

ง. การทดลองสามารถตอ่ กระแสไฟฟ้าตรงหรื อกระแสไฟฟ้าตามบา้ นได้

จ. โลหะที่เป็ นแอโนดตอ
้ งบริ สุทธิ์ และไมค
่ วรชุบนานเกินไป

ขอ
้ สรุ ปใดผิด

1. ก, ข และ ค 2. ค, ง และ จ 3. ก, ง และ จ 4. ข, ค และ ง

40. เปรี ยบเทียบ เซลลก ้ สรุ ปตอ่ ไปนี้


์ ั ลวานิ ก และเซลลอ์ ิเล็กโทรไลต์ โดยพิจารณาขอ

ก. ไอออนบวกจะเคลื่อนที่เขา้ หาขัวลบ
้ ้
และไอออนลบจะวิง่ เขา้ หาขัวบวกเสมอในเซลลท ้
์ ั งสองชนิ ด

ข. ในเซลลก ์ ั ลวานิ ก ไอออนบวกจะวิง่ ไปที่แอโนด และไอออนลบจะวิง่ ไปที่แคโทด ในเซลลอ์ ิเล็กโทรไลตไ์ อออนบวก


และลบจะวิง่ ไปที่แคโทดและแอโนด ตามลาํ ดับ

์ ั ลวานิ กขัวของแอโนดและแคโทดจะเป็
ค. ในเซลลก ้ ้
นขัวลบและบวกตามลาํ ดับ สว่ นในเซลลอ์ ิเล็กโทรไลต์ แอโนดคือ

ขัวบวก และแคโทดคือขัวลบ ้

ง. อิเล็กตรอนไหลจาก แอโนดไปแคโทด เมื่อตอ่ สายภายนอกของเซลลก


์ ั ลวานิ ก สว่ นในเซลลอ์ ิเล็กโทรไลต์
่ ้
อิเล็กตรอนมาจากแบตเตอรี เขา้ สูข่ ั วแอโนด

ขอ
้ สรุ ปใดถูก


1. ค เทา่ นัน ้
2. ข, ง เทา่ นัน ้
3. ก, ง เทา่ นัน ้
4. ก, ค, ง เทา่ นัน

http://st.mengrai.ac.th/users/6556/Entrancetwo.htm

เฉลยขอ
้ สอบเอนทรานซ์
​ 1. ขอ้ 2 เหตุผล ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ Sn + Pb​2+​ Sn​2+​ เนื่ องจากดีบุกให้อิเล็กตรอนแก่
้ ดีบุกจึงเป็ นตัวรี ดิวซ์
Pb​2+​ ดังนัน

​ ่ และลดเลขออกซิเดชั น Cu​ มีเลขออกซิเดชั นลดลง 1 ใน CuSO​4​; Cu


้ 3 เหตุผล เพราะมีการเพิม
​2. ขอ

มีเลขออกซิเดชั น +2 แตใ่ น Cu​2​ (CN)​2​ Cu ม


​ ีเลขออกซิเดชั นเทา่ กับ +1 CN ม ่
​ ีเลขออกซิเดชั นเพิม
ขึ้น 1 ใน KCN;CN

มีเลขออกซิเดชั นเทา่ กับ -1 แตใ่ น (CN)​2​;CN​ มีเลขออกซิเดชั นเทา่ กับ 0

​ ้ 4 เหตุผล การที่มีก๊าซคลอรี นซ่ึงเป็ นธาตุเกิดขึ้น แสดงวา่ มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชั นอยา่ ง


​ . ขอ
3
แน่นอน
เพราะในสารประกอบคลอรี น มีเลขออกซิเดชั นไมเ่ ทา่ กับศูนย ์ แตเ่ มื่อกลายเป็ นธาตุ จะมีเลขออกซิเดชั น
เทา่ กับศูนย ์

้ 4 เหตุผล เพราะ C​ ใน H​2​C​2​O​4​ มีเลขออกซิเดชั นเทา่ กับ +3 แตใ่ น CO​2​ และ K​2​CO​3​C​ มีเลขออ
​ ​ 4. ขอ
ซิ เ​ ดชั นเทา่ กับ +4

้ ม
้ 3 เหตุผล เพราะ Cl​ ใน Cl​2​ มีทังเพิ
​ ​5. ขอ ่ และลดเลขออกซิเดชั น

​ ​ . ขอ
6 ่ ขึ้น หรื อเสียอิเล็กตรอน
้ 2 เหตุผล เพราะ H​2​ มีเลขออกซิเดชั นเพิม

​ ​7. ขอ ่ ขึ้นจาก 0 เป็ น +2


้ 2 เหตุผล เพราะ Ni​ เสียอิเล็กตรอน ให้แก่ Ag​+​ หรื อ Ni​ มีเลขออกซิเดชั นเพิม

​ . ขอ
​ 8 ้ Mn​ 1
้ 3 เหตุผล ​Mn​ ใน MnO​4​ -​ ​มีเลขออกซิเดชั นเทา่ กับ +7 แตใ่ น MnO​2​ เทา่ กับ +4 ดังนัน
อะตอมมีเลขออกซิเดชั น

ลดลงเทา่ กับ 3 Mn​ 2 อะตอมมีเลขออกซิเดชั นลดลง 6 แสดงวา่ ปฏิกิริยานี้ มีการรับอิเล็กตรอน 6 ตัว

้ 1 เหตุผล สมการที่ดุลแลว้ คือ


​ ​ 9. ขอ

​6​Fe​2+​ + Cr​2​O​7​2-​ + 14H​+​ 6Fe​3+​ + 2Cr​3+​ + 7H​2​O

a = 6, b = 1, c = 6 แ
​ ละ d = 2

้ 2 เหตุผล สมการที่ดุลแลว้ คือ


​ ​ 10. ขอ

​ ​2NaCl + H​2​O​2​ + 2FeCl​2​ ® 2FeCl​3​ + 2NaOH

​จาํ นวนโมลของ NaOH​ คือ 2

้ 3 เหตุผล ในการอิเล็กโทรลิซีส H​2​O​ ปฏิกิริยารวมคือ


​ ​ 11. ขอ

​ ​2H​2​O ® 2H​2(g)​ + O​2(g)

​ จากสมการ เกิดก๊าซ (H​2​ + O​2​) = 3 x 22.4 = 67.2 dm​3​ ​ท่ี STP

​เมื่อเกิดก๊าซ 67.2 dm​3 ที


​ ่
​ ​STP​ มี O​2​ เกิดขึ้น = 32 g (1 mol)

​ ถา้ เกิดก๊าซ ​13.44 ​dm​3 ​ที่ STP ​มี O​2​ เกิดขึ้น = 6.4 g

​1 ้ 4 เหตุผล จากผลการทดลองที่ 2 แสดงวา่ Zn​ ​เสียอิเล็กตรอนให้แก่ Cu​2+​ เกิดปฏิกิริยาดังสมการ


​ 2. ขอ
​ ​Zn​ (s)​ + Cu​2+​(aq)​ Zn​2+​ (aq)​ + Cu​(s)

​ ้ เมื่อตอ่ ครึ่ งเซลล์ Zn​ ïZn​


แสดงวา่ Zn​ ​เสียอิเล็กตรอนไดง้ า่ ยกวา่ Cu​ ดังนัน ​ กับครึ่ งเซลล์ Cu ïCu​2+
2+​

อิเล็กตรอนจะไหลจาก

​Zn​ ไปย
​ ั ง Cu​ ทาํ ให้เข็มของโวลตม
์ ิเตอร์เบนเขา้ หาทองแดง

​ 3. ขอ
​1 ้ 3 เหตุผล เนื่ องจากครึ่ งเซลล์ Zn ï​ ​Zn​2+​มีศักยไ์ ฟฟ้าตา่ ํ กวา่ ครึ่ งเซลล์ Cu ïCu​2+​ดังนัน
้ เมื่อขัว้
ทองแดงมีคา่ ศั กยไ์ ฟฟ้า

์ าตรฐาน = a​ ที่ขัวสั
ครึ่ งเซลลม ์ าตรฐานน้อยกวา่ a​ เนื่ องจากขอ
้ งมีคา่ ศั กยไ์ ฟฟ้าครึ่ งเซลลม
้ งกะสีจะตอ ้ 3
์ ้ อยกวา่ a
ผลลัพธน

้ 3(-a) + (-b) = -a - b​ ซ่ึงน้อยกวา่ a


จึงตอบขอ

้ 2 เหตุผล เพราะวา่ ที่ครึ่ งเซลล์ Zn​ ïZn​


​ 14. ขอ ​ เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั น ดังนี้
2+​

Zn​ (s) ​ ​ ​Zn​2+​ (aq)​ + 2


​ e​-​ จ​ ึงทาํ ให้ความเขม ่ ขึ้นเรื่ อย ๆ
้ ของ Zn​2+​เพิม
้ ขน

​15. ขอ
้ 2 เหตุผล คาํ ตอบชั ดเจนอยูแ่ ลว้

​ 16. ขอ ่ ตัวของ KNO​3​ ทาํ ให้ในสะพานไอออนมี K​+​ และ NO​3​-​ เป็ น


้ ารละลายอิม
้ 3 เหตุผล เพราะการใชส
จาํ นวนมาก

เนื่ องจากไอออนทังสอง
้ มีหน้าที่ในการรักษาสมดุลระหวา่ งไอออนบวกกับไอออนลบ ในครึ่ งเซลลท ้
์ ั งสอง
เมื่อมี K​+

และ NO​3​-​ เป็ นจาํ นวนมากจึงสามารถทาํ หน้าที่ไดน


้ าน หรื อทาํ ให้เซลลส์ ามารถจา่ ยไฟไดน
้ าน

​ 7. ขอ
​1 ้ 1 แสดงวา่ Na​ ให้อิเล็กตรอนไดง้ า่ ยกวา่ Zn​ ผลการทดลองในขอ
้ 4 เหตุผล ผลการทดลองในขอ ้ 2
แสดงวา่ Zn

้ 3 เกิดปฏิกิริยาดังนี้
เสียอิเล็กตรอนไดง้ า่ ยกวา่ Fe​ การทดลองในขอ

Cu​(s)​ + 2Ag​+​ (aq) ​ Cu​2+​ (aq)​ + 2Ag​(s)

้ 4 เกิดปฏิกิริยา ดังนี้
​ สดงวา่ Cu​ เสียอิเล็กตรอนไดง้ า่ ยวา่ Ag​ การทดลองในขอ

​ ​Fe​(s)​ + Cu​2+​(aq)​ Fe​2+​(aq)​ + Cu​(s)

​แสดงวา่ Fe​ เสียอิเล็กตรอนไดง้ า่ ยกวา่ Cu​ ลาํ ดับความสามารถในการเสียอิเล็กตรอนคือ


Na>Zn>Fe>Cu>Ag
​1 ้ 1 เหตุผล เนื่ องจาก Fe​ เสียอิเล็กตรอนไดง้ า่ ยกวา่ Cu​ ดังนัน
​ 8. ขอ ้ เมื่อสร้างเซลลไ์ ฟฟ้าเคมี เหล็ก –
ทองแดง อิเล็กตรอน

จะไหลจากเหล็กไปทองแดง

้ 1 เหตุผล เนื่ องจาก Zn​ เสียอิเล็กตรอนไดง้ า่ ยกวา่ Ag​ ดังนัน


​ 9. ขอ
​1 ้ Zn​ จึงเสียอิเล็กตรอนให้แก่ Ag​+​ ได้
หรื อปฏิกิริยา

Zn​ (s) ​+ ​2Ag​+​ (aq)​ 2Ag​(s)​ + ​Zn​2+​ (aq)​ เกิดขึ้นไดน ้ ขอ


้ ั ่ นเอง ดังนัน ้ 1จึงผิด

​2
​ 0. ขอ ้ 1 เหตุผล เนื่ องจากครึ่ งเซลล์ Al ï Al​3+​ มีคา่ ศั กยไ์ ฟฟ้าตา่ ํ กวา่ ครึ่ งเซลล์ Zn ï Zn​2+​ ดังนัน
้ ที่ขัว้ Al
เกิดออกซิเดชั น ที่ขัว้ Sn

เกิดรี ดักชั น ที่ขัว้ Ag​ เกิดออกซิเดชั น และที่ขัว้ เ​ กิดรี ดักชั น ขอ


้ 1 ผิด เพราะปฏิกิริยาในเซลล์ 2 หลังการตอ่
คือ

​Sn + Zn​2+​ Sn​2+​ + Zn

​2 ้ 2 เหตุผล จากคา่ E°​ ที่กาํ หนดให้ แสดงวา่ Cd​ เสียอิเล็กตรอนไดย้ ากกวา่ Fe​ ดังนัน
​ 1. ขอ ้ Cd​ จึงไมย่ อม
ให้อิเล็กตรอนแก่

้ 2 เกิดขึ้นเองไมไ่ ดน
Fe​2+​ หรื อปฏิกิริยาในขอ ้ ั ่ นเอง

​ 22. ขอ้ 1 เหตุผล เพราะ E°​ ของครึ่ งเซลล์ Cu ï Cu​2+​ สูงกวา่ E°​ ของครึ่ งเซลล์ Sn ï Sn​2+​ , Cd ï Cd​2+
และ Cr ï Cr​3+​ แสดงวา่

้ Cu​ จึงไมท
​ u​ เสียอิเล็กตรอนไดย้ ากกวา่ Sn Cd​ และ Cr​ ดังนัน
C 2+​ 2+​
่ าํ ปฏิกิริยากับ Sn​ Cd​ และ Cr​
3+

ภาชนะที่ทาํ ดว้ ย Cu

เมื่อบรรจุสารละลาย Sn​2+​ Cd​2+​และ Cr​3+​ จึงไมม


่ ีการผุกร่อน

​ 23. ขอ
้ 1 เหตุผล ปฏิกิริยาของเซลล์ 1 คือ

​ ​Sn + Cu​2+ ​
Sn​2+​ + Cu E°​เซลล์ = 0.48 V


​ ฏิกิริยาของเซลล์ 2 คือ

​ ​Mg + Sn​2+​ Mg​2+​ + Sn E°​เซลล์ = 2.23 V


​ ฏิกิริยาของเซลล์ 3 คือ

​ ​Mg + Cu​2+ ​
Mg​2+​ + Cu E°​เซลล์ = 0.48 + 2.23 = 2.71 V
​ปฏิกิริยาที่ไดเ้ ป็ นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเมื่อตอ่ ครึ่ งเซลล์ Cu​ ​l​ ​Cu​2+ ​กับครึ่ งเซลล์ Mg​ ​l Mg​2+​ และมีคา่ E°

เซลล์ = 2.71 V​ ครึ งเซลล ์

Cu​ ​l​ ​Cu​2+ เกิ


​ ้
ดรี ดักชั น Cu​ จึงเป็ นขัวแคโทด สว่ นครึ่ งเซลล์ Mg​ ​l Mg​2+​เกิดออกซิเดชั น Mg​ จึงเป็ น
แอโนด

้ 4 เหตุผล เมื่อจุม
​ ​24. ขอ +​
่ โลหะ A​ ใน B​ เกิดปฏิกิริยาได้ แสดงวา่ A​ ให้อิเล็กตรอนไดง้ า่ ยกวา่ B​ หรื อ A
มีคา่ E° ​ตา่ ํ กวา่ B

เมื่อจุม
่ โลหะ B​ ใน C​ ไมเ่ ปลี่ยนแปลง แสดงวา่ C​ ให้อิเล็กตรอนไดง้ า่ ยกวา่ B​ หรื อ C​ มีคา่ E° ​ตา่ ํ กวา่ B
+​

้ จึงตอบขอ
ดังนัน ้ 4

​25. ขอ
้ 2 เหตุผล

​2​H​2​O​(l)​ + 2e​-​ 2OH​-​(g)​ + H​2​(g) ........(1)

2Cl​-​(aq)​ Cl​2(g)​ + 2e​-​ ……...(2)

(1) + (2) 2H​2​O​(l)​ + 2Cl​-​(aq)​ 2OH​-​(aq)​ + H​2(g)​ + Cl​2(g) ​ ……....(3

​ ก๊าซซ่ึงเกิดขึ้นที่ขัวแอโนดคื
้ อก๊าซ Cl​2

จากสมการ 3

​ เมื่อเกิด Cl​2​ 22.4 ​dm​3​ ที่ STP​ จะเกิด OH​-​ = 2 mol

​ ถา้ เกิด Cl​2​ 0.448 ​dm​3​ ที่ STP​ จะเกิด OH​-​ = 0.04 mol

​ เพราะวา่ OH​-​ 0.04 mol อ


​ ยูใ่ นสารละลาย 4 dm​3

​ สารละลาย OH​-​ เขม


้ ขน
้ = 0.01 = 10​-2​ mol/dm​3

pOH = -log(OH​-​)

= -log 10​-2​ = 2

pH = 14 – pOH

= 14 – 2

= 12

​26. ขอ ้
้ 2 เหตุผล ขัวแอโนดของเซลลส์ ะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วคือ ​ ​Pb​ไมใ่ ช่ PbO​2
้ 2 เหตุผล ในการประจุไฟครัง้ แรก เกิดปฏิกิริยาดังนี้
​27. ขอ

​ท่ีขัวแอโนด
้ ้
(ขัวลบ) ​ ​2H​+​(aq)​ + 2e​-​ H​2(g)

​ท่ีขัวแคโทด
้ ้
(ขัวบวก) ​ ​2H​2​O​(l)​ O​2(g)​ + 4H​+​(aq)​ + 4e​-

Pb​(s)​ + O​2(g)​ PbO​2(s)

​ ฏิกิริยารวมที่ขัวแคโทดคื
ป ้ อ Pb​(s)​ + ​2H​2​O​(l)​ ​ ​ ​PbO​2(s)​ + ​4H​+​(aq)​ + 4e​-

​2
​ 8. ขอ ้ ดีบุกจึงไปเร่งให้เหล็กเป็ นสนิ มเร็วขึ้น
้ 1 เหตุผล เพราะดีบุกเสียอิเล็กตรอนไดย้ ากกวา่ เหล็ก ดังนัน

​2 ้ 3 เหตุผล เนื่ องจากการผุกร่อนหรื อเกิดสนิ มของเหล็ก เกิดจากเหล็กเสียอิเล็กตรอนแลว้ กลายเป็ น


​ 9. ขอ
2+​ 2+
Fe​ ​Fe​

่ ่ึงมีสน
เมื่อทาํ ปฏิกิริยากับ K​3​[Fe(CN)​6​]​ จะเกิดสารใหมซ ี ํา้ เงินดังสมการ

K​3​[Fe(CN)​6​] 3K​+​ + Fe(CN)​6​3-

Fe​2+​ + K​+​+ Fe(CN)​ 6​ 3- ​


KFe[Fe(CN)​ 6​]

​ 0. ขอ
​3 ้ 4 เหตุผล ​ เพราะในนํา้ ทะเลมีเกลือละลายอยูม
่ ากมายหลายชนิ ด บางชว่ ยเร่งการผุกร่อนของโลหะ
เมื่อเกาะที่เหล็ก

จะทาํ ให้โลหะชื้นตลอดเวลา โลหะจึงผุกร่อนเร็วขึ้น

​3 ้ 1 เหตุผล เพราะนิ กเกิลมีคา่ E°​ น้อยกวา่ ตะกั่ว นิ กเกิลจึงเสียอิเล็กตรอนไดง้ า่ ยกวา่ ตะกั่ว นิ กเกิลจึง
​ 1. ขอ
สามารถป้องกัน

การผุกร่อนของตะกั่วได้

้ 1 เหตุผล เพราะในการชุบโลหะดว้ ยไฟฟ้า โลหะที่จะชุบจะตอ


​ 2. ขอ
​3 ้ ่ และเรี ยก
้ งตอ่ กับขัวบวกของแบตเตอรี

วา่ ขัวแอโนด

สว่ นของที่จะชุบจะตอ ้ ่ และเรี ยกวา่ ขัวแคโทด


้ งตอ่ กับขัวลบของแบตเตอรี ้

้ 1 เหตุผล ของที่จะชุบคือเหรี ยญทองแดง สว่ นโลหะที่จะใชช้ ุบคือโลหะเงิน ดังนัน


​ 33. ขอ ้ สารละลายอิเล็กโท
ไลตจ์ ึงตอ
้ ง

้ ารละลายที่มี Ag​+
ใชส
้ 1 เหตุผล ในการชุบตะปูเหล็กดว้ ยสั งกะสี ที่ตะปูเหล็ก ซ่ึงเป็ นขัวแคโทด
​ 4. ขอ
​3 ้ Zn​2+​ จะไปรับอิเล็กตรอน
กลายเป็ น Zn
​ ่
เคลือบบนตะปูเหล็ก สว่ นที่ขัวสั
้ งกะสี สั งกะสีจะเสียอิเล็กตรอนกลายเป็ น Zn​2+​ เนื องจาก Zn​2+​ ที่ใชไ้ ปที่ขัว้
แคโทด เทา่ กับ Zn​2+

​ท่ีเกิดขึ้นที่ขัวแอโนด
้ จึงทาํ ให้ความเขม ้ ของสารละลาย ZnSO​4​ คงที่
้ ขน

​ 5. ขอ
​3 ้ 4 เหตุผล ในการชุบแทง่ เหล็กดว้ ยโครเมียมตอ ้ ่ จึงทาํ หน้าที่เป็ นขัวบวก
้ งตอ่ กับขัวบวกของแบตเตอรี ้

หรื อขัวแอโนด

้ 4 เหตุผล ในเซลลเ์ ชื้อเพลิงไฮโดรเจน –​ ออกซิเจน ที่ขัวแคโทด


​ 6. ขอ
​3 ้ ้
และขัวแอโนด ก๊าซไฮโดรเจนและ
ก๊าซออกซิเจนถูก

ใชไ้ ป ไมใ่ ชเ่ กิดขึ้น

้ 4 เหตุผล นํา้ ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาไมไ่ ดเ้ กิดการแยกสลายกลายเป็ นก๊าซไฮโดรเจนและก๊าซ


​ 37. ขอ
ออกซิเจน

​3 ้ 1 เหตุผล การผุกร่อนของเหล็กคือ การที่เหล็กเสียอิเล็กตรอน เมื่อนําตะปูเหล็กไปตอ่ กับขัวบวกของ


​ 8. ขอ ้
ถา่ นไฟฉาย

จะทาํ ให้ตะปูเหล็กเสียอิเล็กตรอนเร็วขึ้น จึงทาํ ให้ตะปูเหล็กผุเร็วขึ้น

​ 9. ขอ
​3 ้ 4 ​ ​ขอ ้ งการชุบตัวตอ่ ที่ขัวแคโทด
้ ข ผิด เพราะสิง่ ที่ตอ ้

้ ค ผิด เพราะโลหะที่จะใชช้ ุบหรื อเคลือบบนชิ้นงานจะตอ


ข​ อ ้
้ งเป็ นขัวแอโนด

ข​ อ
้ ง ผิด การชุบโลหะดว้ ยกระแสไฟฟ้าตอ ้ ไฟฟ้าตามบา้ นเป็ นกระ
้ งใชไ้ ฟฟ้ากระแสตรงเทา่ นัน
แสสลับใชไ้ มไ่ ด้

สว่ นขอ
้ ก และ จ ถูกตอ
้ งแลว้

​4
​ 0. ขอ
้ 1 เหตุผล
เ​ ซลลก
์ ั ลวานิ ก ​ เซลลอ์ ิเล็กโทรไลต์

​ขอ
้ ก ผิด

​ขอ
้ ข ผิด

​ขอ
้ ค ถูก

​ขอ
้ ง ผิด

You might also like