You are on page 1of 8

สรุปยอวิชาเคมีระดับชั้นมัธยมปลาย : สารละลาย 1

สารละลาย

สารละลาย (solution) ประกอบขึ้นจาก

1. ตัวถูกละลาย (solute)

2. ตัวทําละลาย (solvent)

ความเขมขนของสารละลาย

ปริมาณของตัวถูกละลาย (solute)
ความเขมขน (concentration) =
ปริมาณของสารละลาย (solution)

หนวยของปริมาณสาร 1. น้ําหนักเปนกรัม : ใชทั้วไป ทั้งของแข็ง กาซ และสสารที่ไมระบุสถานะ

2. ปริมาตรเปน ลบ.ซม. หรือ ม.ล. : ใชกับของเหลวเทานั้น

หนวยความเขมขนที่นิยมใช
1. รอยละ (percent, %)

2. สวนในลานสวน (part per million, ppm)

ปริมาณของตัวถูกละลาย (solute)
percent = x 100
ปริมาณของสารละลาย (solution)

ปริมาณของตัวถูกละลาย (solute)
ppm = x 106
ปริมาณของสารละลาย (solution)

3. โมลาร (Molar, M)

ปริมาณของตัวถูกละลาย (โมล)
โมลาร =
ปริมาณของสารละลาย (ลิตร)

อ.ดร.โรจนฤทธิ์ โรจนธเนศ สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2539


2 สรุปยอวิชาเคมีระดับชั้นมัธยมปลาย : สารละลาย

การคํานวณที่เกี่ยวของกับความเขมขนของสารละลาย
ตัวอยางที่ 1 โลหะผสมชนิดหนึ่งมี Mn เปนองคประกอบอยูรอยละ 5 ดังนั้น โลหะผสมชนิดนี้หนัก 2 กิโลกรัมจะ

มี Mn อยูกี่กรัม

โลหะผสม 100 กรัม จะมี Mn ปนอยู = 5 กรัม

ดังนั้น โลหะผสม 2,000 กรัม จะมี Mn ปนอยู = (2,000 x 50) ÷ 100 กรัม

= 100 กรัม

ตอบ ดังนั้นโลหะผสม 2 กิโลกรัมจะมี Mn เปนองคประกอบอยู 100 กรัม

ตัวอยางที่ 2 ในน้ําทิ้งจากโรงงานแหงหนึ่งมี O2 ละลายอยู 0.5 ppm ดังนั้นในน้ําทิ้งปริมาตร 1 ลิตร จะมี

ปริมาณ O2 อยูทั้งสิ้นกี่มิลิกรัม

น้ําเสีย 1,000,000 ม.ล. จะมี O2 ปนอยู = 0.5 กรัม

ดังนั้น น้ําเสีย 1,000 ม.ล. จะมี O2 ปนอยู = (1,000 x 0.5) ÷ 1,000,000 กรัม

= 0.5 x 10−3 กรัม


= 0.5 ม.ก.

ตอบ ดังนั้นน้ําเสีย 1 ลิตรมี O2 ทั้งสิ้น 0.5 มิลลิกรัม (คิดเปนความเขมขนเทากับ 0.5 มิลลิกรัมตอลิตร)

ตัวอยางที่ 3 น้าํ บริสุทธิ์ จะมีความเขมขนกี่โมลารในสภาวะปกติ (ความหนาแนนของน้ํา = 1 กรัม / ลบ.ซม. และ


กําหนดใหมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุตางๆ เปนดังนี้ : O = 16, H = 1)

น้ําบริสุทธิ์ 1,000 ม.ล. คิดเปนน้ําหนัก = 1,000 กรัม

คิดเปนจํานวนโมล = 1,000 ÷ 18 โมล

= 55.56 โมล

ตอบ ดังนั้นน้ําบริสุทธิ์ มีความเขมขน 55.56 โมลาร

สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2539 อ.ดร.โรจนฤทธิ์ โรจนธเนศ


สรุปยอวิชาเคมีระดับชั้นมัธยมปลาย : สารละลาย 3

ตัวอยางที่ 4 ถาตองการเตรียมสารละลาย CuSO4 ปริมาตร 200 ลบ.ซม. ใหมีความเขมขนเทากับ 2 โมลาร

จะตองชั่ง CuSO4·5H2O มาทั้งสิ้นกี่กรัม (กําหนดใหมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุตางๆ เปนดังนี้ : Cu = 63.5, S


= 32, O = 16, H = 1)

มวลโมเลกุลของ CuSO4 = 63.5 + 32 + 4(16) = 159.5


มวลโมเลกุลของ CuSO4·5H2O = 63.5 + 32 + 4(16) + 5(18) = 249.5

CuSO4 1 โมล คิดเปนน้ําหนัก = 159.5 กรัม

ดังนั้น CuSO4 2 โมล คิดเปนน้ําหนัก = 2 x 159.5 กรัม

= 319 กรัม

สารละลายปริมาตร 1,000 ลบ.ซม. ตองการ CuSO4 = 2 โมล

สารละลายปริมาตร 200 ลบ.ซม. ตองการ CuSO4 = (200 x 2) ÷ 1,000 โมล

= 0.4 โมล
ดังนั้นตองใช CuSO4·5H2O = 0.4 โมล

CuSO4·5H2O 1 โมล คิดเปนน้ําหนัก = 249.5 กรัม


ดังนั้น 0.4 โมล คิดเปนน้ําหนัก = 0.4 x 249.5 กรัม

= 99.8 กรัม

ตอบ ดังนั้นตองเตรียมสารละลาย โดยละลาย CuSO4·5H2O 99.8 กรัม ในน้ําใหมีปริมาตรรวม 200 ลบ.ซม.

ตัวอยางที่ 5 สารละลาย NaOH เขมขน 2% คิดเปนความเขมขนกี่โมลาร (กําหนดใหมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ

ตางๆ เปนดังนี้ : Na = 23, O = 16, H = 1)

สารละลาย 100 ลบ.ซม. มี NaOH หนัก = 2 กรัม

ดังนั้น สารละลาย 1,000 ลบ.ซม. มี NaOH หนัก = (1,000 x 2) ÷ 100 กรัม

คิดเปนจํานวนโมล = [(1,000 x 2) ÷ 100] ÷ 40 โมล


= 0.5 โมล

ตอบ ดังนั้นคิดเปนความเขมขนเทากับ 0.5 โมลาร

อ.ดร.โรจนฤทธิ์ โรจนธเนศ สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2539


4 สรุปยอวิชาเคมีระดับชั้นมัธยมปลาย : สารละลาย

ตัวอยางที่ 6 มีสารละลาย NaOH อยู 2 ขวด โดยขวดที่ 1 เขมขน 4% มี 150 ลบ.ซม. และขวดที่ 2 เขมขน 2

โมลาร มี 100 ลบ.ซม. นําสารละลายทั้ง 2 ขวดมาเทผสมกัน จะไดสารละลายใหมที่มีความเขมขนรอยละเทาไร


และคิดเปนกี่โมลาร (กําหนดใหมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุตางๆ เปนดังนี้ : Na = 23, O = 16, H = 1)

ขวดที่ 1

สารละลาย 100 ลบ.ซม. มี NaOH = 4 กรัม ÷ 40 0.10 โมล

ดังนั้น สารละลาย 150 ลบ.ซม. มี NaOH = 6 กรัม 0.15 โมล

ขวดที่ 2

สารละลาย 1,000 ลบ.ซม. มี NaOH = 2 โมล x 40 80 กรัม

ดังนั้น สารละลาย 100 ลบ.ซม. มี NaOH = 0.2 โมล 8 กรัม

ขวดที่ 1 + 2

สารละลาย 250 ลบ.ซม. มี NaOH = 0.35 โมล 14 กรัม


ดังนั้น สารละลาย 1,000 ลบ.ซม. มี NaOH = 1.40 โมล

ดังนั้น สารละลาย 100 ลบ.ซม. มี NaOH = 5.6 กรัม

ตอบ ดังนั้นคิดเปนความเขมขนเทากับ 1.4 โมลาร เทากับ 5.6%

ตัวอยางที่ 7 เทสารละลาย HCl เขมขน 0.5 โมลาร ปริมาตร 200 ลบ.ซม. ลงผสมกับ CaCO3 หนัก 20 กรัม

จะเกิดกาซ CO2 ขึ้นกี่ลิตร ที่ STP และมี CaCO3 เหลืออยูกี่กรัม (กําหนดใหมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุตางๆ

เปนดังนี้ : Ca = 40, Cl = 35.5, O = 16, C = 12, H = 1)

สารละลาย HCl 1,000 ลบ.ซม. มี HCl = 0.5 โมลโมเลกุล

ดังนั้น สารละลาย 200 ลบ.ซม. มี HCl = (200 x 0.5) ÷ 1,000 โมลโมเลกุล

= 0.1 โมลโมเลกุล

CaCO3 หนัก 100 กรัม คิดเปนจํานวน = 1 โมลโมเลกุล

CaCO3 หนัก 20 กรัม คิดเปนจํานวน = (20 x 1) ÷ 100 โมลโมเลกุล

= 0.2 โมลโมเลกุล

สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2539 อ.ดร.โรจนฤทธิ์ โรจนธเนศ


สรุปยอวิชาเคมีระดับชั้นมัธยมปลาย : สารละลาย 5

จากสมการการเกิดปฏิกิริยา จะไดวา

2 HCl + CaCO3 CaCl2 + CO2 + H2O

อัตราสวนโดยโมเลกุล 2 1 1 1 1

ปริมาณเริ่มตน (โมล) 0.1 0.2 0 0 0

ปริมาณที่เปลี่ยนไป −0.1 −0.05 +0.05 +0.05 +0.05

ปริมาณหลังปฏิกิริยา 0 0.15 0.05 0.05 0.05

CaCO3 จํานวน 1 โมล มีน้ําหนัก = 100 กรัม

CaCO3 จํานวน 0.15 กรัม คิดเปนจํานวน = (0.15 x 100) ÷ 1 กรัม

= 15 กรัม

CO2 จํานวน 1 โมล มีปริมาตรที่ STP = 22.4 ลิตร

CO2 จํานวน 0.05 โมล มีปริมาตรที่ STP = (0.05 x 22.4) ÷ 1 ลิตร


= 1.12 ลิตร

ตอบ ดังนั้นมี CO2 เกิดขึ้น 1.12 ลิตรที่ STP และมี CaCO3 เหลืออยู 0.15 กรัม

ตัวอยางที่ 8 ของผสมระหวาง Mg และ MgO หนักรวม 10 กรัม นําไปเผารวมกันในอากาศในภาชนะใบหนึ่ง


พบวา Mg ทั้งหมดเกิดปฏิกิริยาไปเปน MgO โดยสมบูรณ มีของแข็งเหลืออยูในภาชนะเปนน้ําหนักรวม 14

กรัม ดังนั้นของผสมตั้งตนมี Mg อยูรอยละเทาไร (กําหนดใหมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุตางๆ เปนดังนี้ : Mg =

24, O = 16)

อ.ดร.โรจนฤทธิ์ โรจนธเนศ สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2539


6 สรุปยอวิชาเคมีระดับชั้นมัธยมปลาย : สารละลาย

2 Mg + O2 2 MgO

อัตราสวนโดยโมเลกุล 2 1 2

x มวลโมเลกุล x 24 x 40

อัตราสวนโดยน้ําหนัก 48 80

ปริมาณเริ่มตน (กรัม) a 10 − a

ปริมาณที่เปลี่ยนไป −a +(80a ÷ 48)

ปริมาณหลังปฏิกิริยา 0 10 + (2a ÷ 3)

2a
จะสามารถแกสมการไดดังนี้ 10 + = 14
3

2a
= 4
3

a = 6

ของผสมน้ําหนัก 10 กรัม มี Mg อยู = 6 กรัม


ของผสมน้ําหนัก 100 กรัม มี Mg อยู = 60 กรัม

คิดเปนรอยละ = 60 %

ตอบ ดังนั้นของผสมเริ่มตนมี Mg อยูรอยละ 60

ตัวอยางที่ 9 ยาเม็ดลดกรดชนิดหนึ่งประกอบดวย MgO และแปงที่ทําหนาที่ยึดเกาะใหเปนเม็ด จะหาวาในยาลด

กรดนี้มี MgO อยูรอยละเทาไร จึงนํายาลดกรดมา 2 กรัม แลวบดใหละเอียด จากนั้นนําไปทําปฏิกิริยากับ

สารละลาย HCl เขมขน 1 โมลาร ทั้งสิ้น 100 ลบ.ซม. แลวจึงกรองเอาแปงทิ้งไป แบงสารละลายที่เหลืออยูมา


20 ลบ.ซม. เพื่อทําปฏิกิริยาหาปริมาณ HCl ที่เหลืออยูจากการทําปฏิกิริยากับ MgO พบวา สามารถทําปฏิกิริยา

กับสารละลาย NaOH เขมขน 0.8 โมลาร ปริมาตร 10 ลบ.ซม. ไดพอดีกัน ดังนั้น ยาเม็ดลดกรดนี้มี MgO

เปนองคประกอบอยูรอยละเทาไร (กําหนดใหมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุตางๆ เปนดังนี้ : Mg = 24, O = 16)

สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2539 อ.ดร.โรจนฤทธิ์ โรจนธเนศ


สรุปยอวิชาเคมีระดับชั้นมัธยมปลาย : สารละลาย 7

ขั้นที่ 1 หาปริมาณ HCl ที่ทําปฏิกิริยากับ NaOH ไดพอดี

สารละลาย NaOH 1,000 ลบ.ซม. มี NaOH อยู = 0.8 โมล


ดังนั้น สารละลาย 10 ลบ.ซม. มี NaOH อยู = (10 x 0.8) ÷ 1,000 โมล

= 8 x 10−3 โมล

HCl + NaOH NaCl + H2O

อัตราสวนโดยโมเลกุล 1 1 1 1

คิดเปน 8 x 10−3 8 x 10−3 8 x 10−3 8 x 10−3

ดังนั้น HCl ในสารละลาย 20 ลบ.ซม. ที่แบงมา มี HCl อยู 8 x 10−3 โมลโมเลกุล

สารละลาย HCl 20 ลบ.ซม. มี HCl อยู = 8 x 10−3 โมล


ดังนั้น สารละลาย 100 ลบ.ซม. มี HCl อยู = (100 x 8 x 10−3) ÷ 20 โมล

= 0.04 โมล

หมายความวา HCl ที่เหลืออยูจากการทําปฏิกิริยากับ MgO ในขั้นตอนแรกเทากับ 0.04 โมล

จะตองหาปริมาณของ HCl ตั้งตนกอนทําปฏิกิริยากับ MgO

สารละลาย HCl 1,000 ลบ.ซม. มี HCl อยู = 1 โมล

สารละลายเริ่มตน 100 ลบ.ซม. มี HCl อยู = (100 x 1) ÷ 1,000 โมล

= 0.1 โมล

ดังนั้น HCl ใชทําปฏิกิริยากับ MgO ไปทั้งสิ้น 0.1 − 0.04 = 0.06 โมล

และจะหา MgO ที่มีในยาลดกรดไดดังนี้

2 HCl + MgO MgCl2 + H2O

อัตราสวนโดยโมเลกุล 2 1 1 1

คิดเปน 0.06 0.03 0.03 0.03

อ.ดร.โรจนฤทธิ์ โรจนธเนศ สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2539


8 สรุปยอวิชาเคมีระดับชั้นมัธยมปลาย : สารละลาย

MgO จํานวน 1 โมล มี Mg อยู = 40 กรัม

MgO จํานวน 0.03 โมล มี Mg อยู = (0.03 x 40) ÷ 1 กรัม


= 1.2 กรัม

ยาลดกรดหนัก 2 กรัม มี MgO อยู = 1.2 กรัม

ถายาลดกรด 100 กรัม จะมี MgO อยู = (100 x 1.2) ÷ 2 กรัม

คิดเปนรอยละ = 60 %

ตอบ ดังนั้นยาลดกรดมี MgO เปนองคประกอบอยูรอยละ 60

ตัวอยางที่ 10 สารประกอบ hydrocarbon ชนิดหนึ่งมี C และ H เปนองคประกอบอยูรอยละ 90 และรอลยะ

10 ตามลําดับ สูตรอยางงายของสารประกอบชนิดนี้คืออะไร (กําหนดใหมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุตางๆ เปนดังนี้ :

C = 12, H = 1)

C H

อัตราสวนโดยน้ําหนัก 90 10

÷ มวลอะตอม ÷ 12 ÷1

อัตราสวนโดยโมล 7.5 10

(÷ 7.5) คิดเปน 1 1.33

(÷ 2) คิดเปน 2 2.66

(÷ 3) คิดเปน 3 3.99

ตอบ ดังนั้นสูตรอยางงายของสารประกอบ hydrocarbon ชนิดนี้คือ C3H4

สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2539 อ.ดร.โรจนฤทธิ์ โรจนธเนศ

You might also like