You are on page 1of 5

วิชา 01403117

เฉลยแบบฝึ กหัดเรื่อง สารละลาย

1. จงคํานวณหาความเข้มข้นโมลาริ ตีของสารละลายที่ประกอบด้วย C 2 H 5 OH 10.0 กรัมในสารละลาย 200 cm3


ความเข้มข้นเป็ นโมลาร์ = จํานวนโมลของตัวถูกละลายในสารละลาย 1 ลิตร
จํานวนโมลของตัวถูกละลาย = = 0.4 mol
ความเข้มข้นเป็ นโมลาร์ = = 0.1 M
2. จากสารละลายกรด HNO 3 เข้มข้น 38% โดยนํ้าหนัก ถ้าดูดสารละลายนี้มา 20.0 กรัม จะมีจาํ นวนกรัมของ
กรดไนตริ กเท่าไร
ในสารละลาย 100 g มี HNO 3 ปริ มาณ 38 g
ถ้าสารละลาย 20 g จะมี HNO 3 38 × 20 g = 7.6 g
100
3. สารละลาย NaOH 30% โดยนํ้าหนัก มีความหนาแน่น 1.2 g/cm3 จงคํานวณหาความเข้มข้นเป็ นโมแลลิตีและ
โมลาริ ตี
สารละลาย NaOH เข้มข้น 30 % โดยนํ้าหนักหมายความว่ามี NaOH 30 g ในสารละลาย 100 g
ดังนั้นจะมี นํ้าอยู่ 100 – 30 = 70 g
m= = = 10.7 m
0.07 kg

สารละลายมีความหนาแน่น 1.2 g/cm3


ดังนั้นสารละลาย 100 กรัม มีปริ มาตร 100 g/ 1.2 cm-3 = 83.33 cm3
M = จํานวนโมล NaOH /ปริ มาตรสารละลาย = 0.75 mol / 0.083 L = 9.04 M

4. สารใดที่สามารถละลายในเมทิลแอลกอฮอลได้ดีกว่ากันระหว่างคาร์ บอนเตตระคลอไรด์ (CCl 4 ) และ


แอมโมเนีย เพราะเหตุใด
“สารจะละลายสารที่คล้ายกัน” เมทิลแอลกอฮอล์ (CH 3 OH) เป็ นสารประเภทมีข้ วั ดังนั้นจะละลายกสารพวก
มีข้วั ได้ดี ในที่น้ ี NH 3 เป็ นโมเลกุลมีข้ วั จึงละลายได้ดีใน เมทิลแอลกอฮอล์ แต่คาร์ บอนเตตระคลอไรด์ไม่มี
ขั้วจึงไม่ละลาย
5. ถ้าต้องการเตรี ยมสารละลายของ CH 3 OH 20% โดยปริ มาตร จํานวน 100 มิลลิลิตร จงหาปริ มาตรของ
CH 3 OH และนํ้าที่ตอ้ งใช้ในการเตรี ยมสารละลายนี้

-1-
วิชา 01403117

CH 3 OH 20% โดยปริ มาตร หมายความว่า ในสารละลาย 100 mL มี CH 3 OH อยู่ 20 mL ดังนั้น


จะต้องใช้ CH 3 OH 20 mL และนํ้าในการเตรี ยม 100 -20 = 80 mL
6. ถ้าต้องการเตรี ยมสารละลายกลูโคส (C 6 H 12 O 6 ) 5% โดยมวล ให้มีปริ มาณ 500 กรัม จะต้องใช้ตวั ถูกละลายกี่
กรัม
ในสารละลาย 100 g มีกลูโคสอยู่ 5 g
ถ้าต้องการเตรี ยมสาร 500 g มีกลูโคสอยู่ x 500 g = 25 g

7. จงคํานวณหาเศษส่ วนโมลของแต่ละองค์ประกอบในสารละลายซึ่งประกอบด้วย H 2 O 42.0 g CH 3 OH


30.0 g และ C 2 H 5 OH 50 g

n (นํ้า) = = 2.3 mol เศษส่ วนโมลของนํ้า = = 0.5

n (CH 3 OH) = = 0.9 mol เศษส่ วนโมลของ(CH 3 OH) = =


0.2

n (C 2 H 5 OH) = = 1.1 mol เศษส่ วนโมลของ(C 2 H 5 OH) = = 0.3

8. สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายหมายถึงอะไร พร้อมทั้งยกตัวอย่างสมบัติคอลลิเกทีฟมา 1 ชนิด


สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลาย คือสมบัติทางกายภาพของสารละลายที่ต่างจากสมบัติชนิดเดียวกัน
ของตัวทําละลายบริ สุทธิ์ และเป็ นสมบัติที่ข้ ึนอยูก่ บั จํานวนอนุภาคของตัวถูกละลาย และชนิดของตัวทํา
ละลาย แต่จะไม่ข้ ึนอยูก่ บั ชนิดของตัวถูกละลาย เช่น การลดตํ่าลงของความดันไอ การสู งขึ้นของจุดเดือด
การลดลงของจุดเยือกแข็ง และความดันออสโมติก
9. จงอธิ บายว่าทําไมความดันไอของตัวทําละลายบริ สุทธิ์จึงสู งกว่าความดันไอของสารละลาย (เมื่อตัวถูก
ละลายไม่ระเหย)

เติมตัวถูกละลาย ( ) ที่ไม่ระเหย

ตัวทําละลายบริ สุทธิ์ สารละลายที่มีตวั ถูกละลายไม่ระเหย

-2-
วิชา 01403117

ที่ผวิ หน้าของสารละลายจะมีอนุภาคของตัวถูกละลายที่ไม่ระเหยแทนที่อนุภาคตัวทําละลายบางส่ วน ทํา


ให้อนุภาคตัวทําละลายที่ผวิ หน้าสารละลายจะน้อยกว่าที่ผวิ หน้าของตัวทําละลายบริ สุทธิ์ ซึ่ งจะส่ งผลให้
ความดันไอของตัวทําละลายเหนือสารละลายตํ่ากว่าของตัวทําละลายบริ สุทธิ์
10. จุดเดือดของเอทานอลบริ สุทธิ์ คือ 78.35 °C และมีค่าคงที่ molal boiling point elevation constant (K b )
เท่ากับ 1.20 °C/m โดยพบว่าในสารละลายที่มีน้ าํ ตาลชนิดนี้ 11.7 g ในเอทานอล 325 g มีจุดเดือดที่ 78.59 °C
จงคํานวณหาสู ตรโมเลกุลของนํ้าตาลชนิดหนึ่งที่มี C 40.0% H 6.7% และ O 53.3% โดยนํ้าหนัก

78.59 - 78.35 °C = 1.20 °C/m


Mw = 177.25 g/mol
จากร้อยละขององค์ประกอบของสาร
สารประกอบ 100 g จะมีคาร์ บอน 40 g
ดังนั้นถ้า Mw จะมีคาร์ บอนเป็ นส่ วนประกอบ x 177.25 = 71 g/mol
คาร์ บอน 12 g เป็ นจํานวนโมล 1 mol
ดังนั้นคาร์ บอน 71 g มีจาํ นวนโมล 1 × 70.9 = 6 mol
12
C= x 177.25 g/mol = g/mol = 6 mol
H= x 177.25 g/mol = = 12 mol
O= x 177.25 g/mol = = 6 mol
ดังนั้นสู ตรโมเลกุลเป็ น C 6 H 12 O 6
11. จงคํานวณหาจุดเยือกแข็งของสารละลายที่ประกอบด้วยสารประกอบชนิดหนึ่งหนัก 2.0 g ที่มีน้ าํ หนัก
โมเลกุล 125 g/mol ในการบูร 50.0 g (จุดเยือกแข็งของการบูรบริ สุทธิ์ คือ 178.4 C มี K f = 40.0 °C/m

-3-
วิชา 01403117

∆T f = T f - T′ f
T′f = Tf - ∆Tf = 178.4 – 12.8 = 165.6 °C
12. ที่อุณหภูมิ 25 °C ความดันไอของไซโคลเฮกเซน (C 6 H 12 ) มีค่า 100 torr ทําการละลายตัวถูกละลายที่ไม่
ระเหยจํานวน 150.0 g ในไซโคลเฮกเซน 252.0 g ให้สารละลายมีความดันไอ 98.2 torr จงคํานวณหานํ้าหนัก
โมเลกุลของตัวถูกละลาย
จํานวนโมลของตัวถูกละลาย = จํานวนโมลของไซโคลเฮกเซน =
P สารละลาย = X ไซโคลเฮกเซน x P° ไซโคลเฮกเซน

Mw = 272

13. สารละลายซู โครส (C 12 H 22 O 11 ) ประกอบด้วยกลูโคส 10 g ในสารละลาย 1 ลิตร ที่อุณหภูมิ 30 °C จะมี


ความดันออสโมติกเป็ นเท่าไร
π = MRT =
π = 0.74 atm
14. พิจารณากราฟสภาพการละลายได้ต่อไปนี้ แล้วตอบคําถาม

ก.) อุณหภูมิมีผลน้อยที่สุดต่อสภาพการละลายได้ของสารใด (NaCl)


ข.) สภาพการละลายได้ของสารใด้เป็ นแบบคายความร้อน(Ce 2 (SO 4 ) 3 )
ค.) ที่อุณหภูมิ 20 °C สารใดมีสภาพละลายได้ต่าํ สุ ด (Ce 2 (SO 4 ) 3 )
-4-
วิชา 01403117

15. จงคํานวณหานํ้าหนักเชิงโมเลกุลของตัวถูกละลายของสารละลายที่มีตวั ถูกละลายอยู่ 3.5 g ต่อลิตร ความดัน


ออสโมติกเท่ากับ 256 mm ปรอทที่ 25 °C
ความดันออสโมติก 256 ความดันออสโมติกเท่ากับ 256/760 = 0.337 atm
π = MRT
0.337 atm =
Mw = 254
16. เมื่อมีน้ าํ แข็งเกาะถนนในฤดูหนาว เราควรใช้ NaCl หรื อ CaCl 2 โรยเพื่อให้น้ าํ แข็งละลาย เพราะเหตุใด
NaCl และ CaCl 2 เป็ นสารอิเล็กโทรไลต์ที่แตกตัวได้ดี สมการการแตกตัว (โดย m แทนความเข้มข้น)
NaCl(s) Na+(aq) + Cl- (aq)
m m m
CaCl 2 (s) Ca2+(aq) + 2Cl-(aq)
m m 2m
การลดลงของจุดเยือกแข็งของนํ้าจะเท่ากับ
ในกรณี ของ NaCl แต่ถา้ ใช้ CaCl 2 แสดงว่า CaCl 2 ช่วยลดจุด
เยือกแข็งได้มากกว่าจึงควรใช้ CaCl 2 ทั้งนี้จุดเยือกแข็งจะตํ่ากว่า 0°C ของนํ้า
17. สารละลาย NaCl ในนํ้าเข้มข้น 0.100 m แตกตัวได้ 80% จงคํานวณหาจุดเยือกแข็งของสารละลายนี้
ร้อยละการแตกตัว = α × 100
α = 80/100 = 0.8
i-1 = α = 0.8
n–1
i-factor = 0.8 + 1 = 1.8
การลดลงของจุดเยือกแข็งของสารละลาย NaCl จะเท่ากับ

= (1.8) (1.85 °C/m × 0.1 m)


= 0.33 °C
T f สารละลาย = T f นํ้า - T f
= 0 °C - 0.33 °C
= - 0.33 °C
-5-

You might also like