You are on page 1of 21

Solution, syrup, elixir, tincture, etc.

By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64


(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

1. สารละลาย (solution)
นิยาม สารละลาย (solution) คือ การผสมสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมเป็นเนื้อเดียวกัน ประกอบด้วยตัวถูก
ละลาย ≥1 ชนิดและตัวทาละลาย ≥1 ชนิดเช่นกัน
ค่าการละลาย (solubility) คือ ความเข้มข้นของสารละลายขณะที่ส่วนที่ละลายของตัวถูกละลายอยู่
ในภาวะสมดุลกับตัวถูกละลายในสภาวะของแข็ง ซึ่งเป็นความเข้มข้นของตัวถูกละลายในสารละลายอิ่มตัว
การระบุความเข้มข้นและค่าการละลาย -> ควรระบุอุณหภูมิและความดันอากาศขณะทดสอบด้วย
1. g ตัวถูกละลาย/ml ตัวทาละลาย -> g/ml
2. เปอร์เซ็นต์ คือ ปริมาณหรือปริมาตรของตัวถูกละลายต่อสารละลาย 100 ส่วน เช่น % w/v % w/w
3. Molarity; M คือ จานวนโมลของตัวถูกละลายในสารละลาย 1 L
4. Molality; m คือ จานวนโมลของตัวถูกละลายในตัวทาละลาย 1000 g (1 kg)
5. Normality; N คือ จานวนกรัมสมมูลของตัวถูกละลายในสารละลาย 1 L (N ใช้กับพวกกรดด่าง
แก่/electrolyte)
6. Mole fraction; X คือ อัตราส่วนจานวนโมลของตัวถูกละลายแต่ละชนิดต่อจานวนโมลของสารละลาย
ทั้งหมด
7. Volume fraction คือ สัดส่วนโดยปริมาตรของตัวทาละลายในปริมาตรสารละลายทั้งหมด
8. Parts คือ จานวนส่วนของตัวทาละลายที่ต้องใช้เพื่อละลายตัวถูกละลาย 1 ส่วน เช่น A ละลายใน 20
ส่วนของน้า ที่ 20˚C หรืออาจแปลความหมายจากคานิยามตาม USP ดังนี้

คานิยาม ปริมาณตัวทาละลาย (by vol) ต่อตัวถูกละลาย 1 ส่วน (by wt)


Very soluble น้อยกว่า 1 ส่วน
Freely soluble ตั้งแต่ 1-10 ส่วน
Soluble ตั้งแต่ 10-30 ส่วน
Sparingly soluble ตั้งแต่ 30-100 ส่วน
Slightly soluble ตั้งแต่ 100-1,000 ส่วน
Very slightly soluble ตั้งแต่ 1,000-10,000 ส่วน
Practically insoluble มากกว่า 10,000 ส่วน

1
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

เทคนิคการเพิ่มค่าการละลาย
สาหรับตัวยาที่ละลายน้า ได้น้อย ทาให้ความเข้มข้นของตัวยาในยาเตรียมรูปแบบของเหลวไม่เป็นไป
ตามที่ต้องการ Solubilization เป็นวิธีการที่เพิ่มขีดการละลายของสารที่ละลายน้าได้น้อย ซึ่งจะรวมถึงการใช้
ตัวทาละลายร่วม, การทาให้เกิดเกลือ, การเตรียมเป็นบรรพเภสัช (prodrug), การทาเกิดสารเชิงซ้อน, การ
ปรับ pH, การลดขนาดอนุภาค และการใช้สารลดแรงตึงผิว (micellization) เป็นต้น (สานักยา, 2560)
ตารางแสดงการเปรียบเทียบการเพิ่มการละลายของตัวยา
วิธี ชีดการละลายที่เพิ่มขึ้นโดยประมาณ
การใช้ตัวทาละลายร่วม (Cosolvency) 1-1,000 เท่า
การทาให้เกิดเกลือ (Salt formation) 1-1,000 เท่า
การเตรียมเป็นบรรพเภสัช (Prodrug) 1-1,000 เท่า
การทาให้เกิดสารเชิงซ้อน (Complexation) 1-100 เท่า
การทาให้เกิด micelle (Micellization) 1-50 เท่า

a) การใช้ตัวทาละลายร่วม (Cosolvency)
การใช้ตัวทาละลายร่วมเป็นวิธีการที่ใช้มากที่สุดในการตั้งสูตรตารับยาน้า โดยเฉพาะยาใหม่ที่มี
โครงสร้างซับซ้อนมาก ซึ่งเป็นวิธีที่ดีในการเพิ่มขีดการละลายของยา
Cosolvent มักเป็นสารที่มีโมเลกุลที่ประกอบด้วยส่วนมีขั้วที่เข้ากับน้าได้และส่วนไม่มีขั้วที่เข้ากับ
ตัวถูกละลายที่ไม่มีขั้วได้ดี แต่ความสามารถในการเพิ่มการละลายจะมีความแตกต่างกันขึ้นกับตัว
ทาละลายร่วมที่เลือกใช้และคุณสมบัติของตัวถูกละลายดังนี้
o Polar solute: มีสภาพขั้วที่ใกล้เคียงกับน้าจึงละลายเข้ากันได้ดี ไม่ต้องอาศัย cosolvent
หากเติม cosolvent ลงไป อาจทาให้ค่าการละลายลดลง เนื่องจาก cosolvent โดยทั่วไปมี
สภาพขั้วต่ากว่าน้า
o Semi-polar solute: ค่าการละลายของ solute กลุ่มนี้จะมีค่าสูงสุด เมื่ออัตราส่วนของตัว
ทาละลายผสม (น้า+solvent) มีสภาพขั้วเท่ากับสภาพขั้วของ solute
o Non-polar solute: การเติม cosolvent ซึ่งมีสภาพขั้วอยู่ระหว่างน้าและ solute จะทาให้
สภาพขั้วของตัวทาละลายผสมลดลงจนสามารถละลายเข้ากับ solute ได้
Ethanol เป็นตัวทาละลายร่วมที่ใช้มากที่สุดในตารับยาน้ารับประทาน เนื่องจากมีคุณสมบัติเป็น
ตัวทาละลายที่ดีสาหรับตัวยาที่ไม่มีขั้วและมีกลิ่นรสดี สามารถใช้สาหรั บยาน้าที่ใช้สาหรับเด็กแต่
ต้องใช้ ethanol ในความเข้มข้นต่า ตัวทาละลายอื่นๆที่ใช้คือ sorbitol, glycerin, propylene
glycol และสาร polyethylene glycol อื่นๆ
ข้อจากัด คือ ความเป็นพิษของตัวทาละลายที่เข้ากันไม่ได้กับน้า แต่มีคุณสมบัติเพิ่มขีดการละลาย
ที่ดมี าก ความเป็นพิษดังกล่าวได้แก่ ความเป็นพิษทั่วไป ความเป็นพิษต่ออวัยวะที่ยาออกฤทธิ์และ
ความเป็นพิษต่อเนื้อเยื่อ
2
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

การระบุสภาพขั้วสามารถระบุได้หลายค่า ค่าที่นิยมใช้ คือ dielectric constant เป็นคุณสมบัติ


ทางกายภาพที่สาคัญในการแบ่งประเภทของ solvent โดยการวัดค่าความจุทางไฟฟ้า สาร non-
polar จะมีค่า dielectric constant ต่า ส่วนสาร polar จะมีค่า dielectric constant สูง ดังนี้
สภาพขั้ว ค่า dielectric constant
Non-polar 1-20
Semipolar 20-50
Polar > 50
ตัวอย่าง cosolvent ที่เข้ากับน้าได้และค่า dielectric constant
Cosolvent ค่า dielectric constant
Ethanol 24.3
Methanol 32.6
Glycerin 42.5
Sorbitol 62.0
Propylene glycol 37.7
Ethylene glycol 37.7
PEG-400 13.6
Water 81.0

b) การทาให้เกิดเกลือ (Salt formation)


ตัวยาที่ละลายน้าได้น้อยสามารถเพิ่มขีดการละลายได้โดยทาให้อยู่ในรูปของเกลือ การเพิ่มขีดการ
ละลายในน้าทาให้พลังงานโครงร่างผลึกลดลง ซึ่งทราบได้จากค่าของจุดหลอมเหลวที่ลดลง

c) การเตรียมเป็นบรรพเภสัช (prodrug)
Prodrug จะเปลี่ยนแปลงเป็นสารที่ออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาได้หลังจากเข้าสู่ร่างกาย แม้ว่าการเกิด
เกลือและการเตรียมเป็น prodrug สามารถเพิ่มขีดการละลายของตัวยาได้ สิ่งที่ต้องทาต่อไป คือ
การสังเคราะห์ตัวยาใหม่ และการศึกษาในสัตว์เพื่อยืนยันประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา

d) การทาให้เกิดสารเชิงซ้อน (Complexation)
การเกิดสารประกอบเชิงซ้อน คือ การรวมกันของโมเลกุลของสาร 2 ชนิดหรือมากกว่า (เช่น ยา
และตัวเพิ่มขีดการละลาย) ด้วยแรงอ่อนๆ โดยโมเลกุลทั้งสองสามารถให้หรือรับ electron ได้
เช่น การเกิดสารประกอบเชิงซ้อนของ cyclodextrin (CD) ซึ่ง cyclodextrin มีโครงสร้างที่มี
ช่องว่างภายในที่ไม่ชอบน้า ในขณะที่ด้านที่ชอบน้าอยู่ภายนอก ทาให้ตัวถูกละลายที่ไม่ชอบน้า

3
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

สามารถถูกกักภายในช่องว่างของ cyclodextrin และทาให้ตัวถูกละลายนั้นสามารถละลายเข้ากับ


น้าได้ดี
ข้อดี คือ การเกิดสารประกอบเชิงซ้อนเป็นปฏิกิริยาที่ย้อนกลับได้ เป็นระบบที่สามารถทานายได้
และยังมีความคงตัวทางกายภาพ
ข้อเสีย คือ การมีโมเลกุลของสารที่ทาให้เกิดสารประกอบเชิงซ้อนอยู่เท่ากับหรือมากกว่าตัวยา

e) การทาให้เกิด micelle (Micellization)


Micelle เป็นโครงสร้างรูปแบบพิเศษที่เกิดจากการที่สารลดแรงตึงผิว (surfactant) เกาะกลุ่มกัน
โดย surfactant นั้นเป็นสารประกอบที่ภายในโมเลกุลมีทั้งส่วน polar และ non-polar ทาให้สาร
ที่มีสภาพขั้วต่างกันสามารถละลายเข้ากันได้ดี
กลไกการเกิด micelle เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติของ surfactant เรียกความเข้มข้นของ surfactant
ที่ทาให้เกิด micelle ว่า critical micelle concentration (CMC) ความสามารถในการละลาย
สารที่ไม่ละลายน้าจะเริ่มที่ CMC และค่อยๆเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของ micelle
สารเพิ่มการละลายกลุ่ม surfactant ควรมีค่า HLB มากกว่า 15 และสารที่ใช้บ่อยทางเภสัชกรรม
ได้แก่ polyethylene, sorbitan fatty acid esters (Tween series), polyoxyethylene
monoalkyl ethers (Brij และ Myrj series) และ sorbitan fatty acid esters (Span series)
การเลือกใช้สารเพิ่มการละลายขึ้นอยู่กับการศึกษา phase-solubility โดยสามารถหาค่าขีดการ
ละลายของตัวยาได้จากสมการความเข้มข้นของ surfactant
Surfactant ที่เหมาะสมสามารถพิจารณาได้จากประสิทธิภาพในการเพิ่มขีดการละลายและผลต่อ
ลักษณะอื่นๆของผลิตภัณฑ์และสารอื่นๆในตารับยา แสดงดังตารางต่อไปนี้
ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่า HLB กับประโยชน์ของ surfactant
ค่า HLB ประโยชน์ของสารลดแรงตึงผิว (surfactant)
3-6 ตัวช่วยทาให้เกิดอิมัลชันแบบน้าในน้ามัน (w/o emulsion)
6-9 ตัวช่วยทาให้เปียก
8-18 ตัวช่วยทาให้เกิดอิมัลชันแบบน้ามันในน้า (o/w emulsion)
13-15 น้ายาทาความสะอาด
15-18 ตัวเพิ่มขีดการละลาย

f) การปรับ pH (เพิ่มเติมเนื้อหาจาก Rx73)


เนื่องจากตัวถูกละลายบางชนิดจะละลายได้ดีในช่วงของกรดด่างบางช่วงเท่านั้น ในบางตารับยาจึง
ต้องปรับ pH ของสารละลายให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสม โดยใช้ระบบที่สามารถรักษาสภาวะความ

4
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

เป็นกรดด่างได้โดยที่ pH ไม่เปลี่ยนแปลงไปมากนักเมื่อเติมกรดแก่หรือด่างแก่ลงไปในปริมาณ
เล็กน้อย เรียกว่า buffer มี 2 ชนิด คือ
o Buffer กรด : สารละลายของกรดอ่อนกับเกลือของกรดอ่อน (คู่กรด) เช่น
CH3COOH/CH3COO-
o Buffer ด่าง : สารละลายของด่างอ่อนกับเกลือของด่างอ่อน (คู่กรด) เช่น NH3/NH4+
การเลือก buffer ที่จะใช้ในตารับ จะต้องมี pKa ใกล้เคียงกับ pH ของสารละลายในตารับ จากนั้น
ใช้สมการ Henderson-Hasselbalch เพื่อคานวณสัดส่วนของสารละลาย buffer ดังนี้
HA H+ + A-
Buffer กรด; pH = pKa - log
Buffer ด่าง; pH = pKa - log
เมื่อ pKa = ค่าคงที่การแตกตัว (dissociation constant) <ในกรณีที่ยาเป็น
amphoteric หรือ zwitterion molecules จะมีค่า pKa มากกว่า 1 ค่า>
[HA] = ความเข้มข้นของกรดในรูปไม่แตกตัว (mol/L)
[A-] = ความเข้มข้นของกรดในรูปแตกตัว (mol/L)
[BH+] = ความเข้มข้นของด่างในรูปแตกตัว (mol/L)
[B] = ความเข้มข้นของด่างในรูปไม่แตกตัว (mol/L)
ตัวอย่างระบบ buffer ที่นิยมใช้ เช่น
o Acetate buffer CH3COOH/CH3COONa (pH 3.7–5.6)
o Borate buffer H3BO3/Na2B4O7 (pH 8.0–10.0)
o Citrate buffer NaC6H7O7/C6H8O7 (pH 3.0–6.2)
o Phosphate buffer NaH2PO4/Na2HPO4 (pH 5.8–8.0)
Weak acidic APIs: การเพิ่ม pH เพิ่ม solubility
Weak basic APIs: การลด pH เพิ่ม solubility

ลักษณะในอุดมคติ ของเหลว ใส homogeneous (1 phase) หรือเข้ากันเป็นเนื้อเดียว ปลอดภัย คงตัวดี


ข้อดีของสารละลาย ข้อเสียของสารละลาย
homogeneous Bulky จัดเก็บ + พกพาไม่สะดวก
กลืนง่ายเหมาะสาหรับเด็ก+คนแก่ เพิ่ม compliance เหมาะสาหรับยาที่ละลายในน้าดี
ดูดซึมเร็วทาง GI ความคงตัวต่ากว่ารูปแบบอื่น เพราะมีน้า
ลด local irritation ใน GI จาเป็นต้องกลบรส (ยากิน)
ปรับขนาดยาได้ง่าย ขนาดยาอาจไม่ถูกต้อง/เท่ากันทุกครั้ง

5
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

การแบ่งประเภทสารละลาย
แบ่งตาม ตัวอย่างประเภท
Pharmacopoeia Syrup, elixir, spirit, aromatic water, tincture, fluid extract
การใช้ Oral, topical, ophthalmic, nasal, parenteral
ขนาดอนุภาคตัวถูกละลาย True solution ตัวถูกละลาย <1 nm,
Colloidal หรือ Micellar solution ตัวถูกละลาย 1-500 nm,
Macromolecular solution ตัวถูกละลายมี MW สูงและพองตัวได้ 1-500 nm
คุณสมบัติทางเคมีฟิสิกส์ Electrolyte ตัวถูกละลายแตกตัวเป็นไอออนเมื่อละลายและนาไฟฟ้าได้ เช่น
ของตัวถูกละลาย สารละลาย NaCl,
Non electrolyte ตัวถูกละลายไม่แตกตัวเป็นไอออน เช่น สารละลายน้าตาล
ปริมาณของตัวถูกละลาย สารละลายเจือจาง, เข้มข้น, อิ่มตัว, อิ่มตัวยิ่งยวด
Nature of formulation Simple, complex
ระบบตัวทาละลาย Aqueous, hydroalcoholic, non-aqueous

Oral solutions = ยาเตรียมของเหลวที่ใช้สาหรับรับประทาน ประกอบด้วยสารตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป อาจมี/ไม่


มี flavoring หรือ sweetening หรือ coloring agents ละลายในระบบตัวทาละลายด้วยก็ได้
Topical solutions = สารละลายสาหรับใช้ภายนอก (ผิวหนัง) ประกอบด้วยตัวทาละลาย เช่น น้า,
alcohol, polyols
Solute Solvent Intermolecular forces
การละลายขึ้นกับ polarity (จานวน - Polar - Coulombic forces แรงยึดระหว่างไอออนที่มี
polar group) เช่น น้า ประจุตรงข้ามกัน
- Dielectric constant ถ้าสูงขั้วมาก - Semi-polar - Van der Waals force แรงยึดระหว่างโมเลกุลที่
- Surface tension ถ้าสูงขั้วมาก เช่น alcohol มีพันธะ covalent
- Solubility parameter ถ้าสูงขั้ว - Non-polar Dipole-dipole
มาก เช่น CCl4 Dipole-induce dipole
- Partition coefficient ถ้าต่าขั้วมาก London forces
- Ion-dipole และ ion-induce dipole forces
แรงยึดระหว่างโมเลกุลมีขั้วหรือไม่มีขั้ว กับไอออน
- Hydrogen bond พันธะระหว่างโมเลกุลที่มี EN
สูงกับอะตอมของไฮโดรเจน
“Like dissolves Like”

6
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

ส่วนประกอบในตารับสารละลาย
หน้าที/่ ส่วนประกอบ ตัวอย่างสาร ความเข้มข้น (%)
1. ตัวยาสาคัญ (API) - -
2. Solubilizing agent Tween 80, polyethylene glycol (PEG) -
3. Cosolvent Alcohol, glycerin, propylene glycol, PEG400 -
4. Viscosity-inducing agent Methyl cellulose, -
Carboxymethyl cellulose (compatible กับ alc)
5. Buffer หรือ pH adjusting Acetic acid and salt pH 3.5-5.7 1-2
agent Citric acid and salt pH 2.5-6.0 1-3
เพื่อปรับ pH, buffer capacity, Glutamic acid pH 8.2-10.2 1-2
เพิ่มการละลาย/ความคงตัว Phosphoric acid salts pH 6.0-8.2 0.8-2
6. Tonicity adjusting agent Sodium chloride -
7. Chelating agent EDTA 0.01-0.075
form complex กับโลหะหนัก
(โลหะหนักเร่งก.เกิด oxidation ได้)
8. Antioxidant Na metabisulfite 0.02-1.0
เกิด oxidation แทนยา Na bisulfite 0.1
Na sulfite 0.01-1.0
9. Preservative Benzoic acid 0.1-0.3
Na benzoate 0.1-0.2
Methyl paraben 0.05-0.25
Propyl paraben 0.02-0.04
Alcohol 15-20 (self-preserving)
10. Flavoring agent กลิ่น+รส
10.1 Sweetening agent - Sugars, liquid glucose, corn syrup, polyols
(glycerin, PG, sorbitol), artificial sweetening agent
10.2 Souring agent - Citric acid 0.1-0.5
10.3 Flavoring agent กลิ่น - Vanillin, raspberry, strawberry essence,
orange, lemon oil 0.01-0.05
11. Coloring agent FD&C no. ที่ FDA อนุญาตให้ใช้ ละลายน้า คงตัวดีและเป็น 0.0005-0.001
สีที่เหมาะกับกลิ่นของยา

วิธีการเตรียม
1. วิธีการละลายอย่างง่าย (simple solution)
2. วิธีปฏิกิริยาเคมี (chemical reaction)
3. วิธีการสกัด (extraction)

7
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

Tips การเตรียม
1. ของแข็งละลายน้าได้ ละลายในน้า/solvent ก่อน
2. API ละลายน้าได้แต่คงตัวไม่ดี ควรละลายในน้าหลังปรับ pH ด้วย buffer, ใส่ antioxidant, chelating
agent แล้ว
3. เติมของเหลวหนืดน้อยก่อน ของเหลวหนืดมากเติมทีหลัง
4. สารที่ระเหยได้ควรเติมหลังสุด อย่าคนนานและไม่เติมตอนสารละลายร้อน
5. เติมเกลือ ให้แบ่งน้าปริมาตรน้อยๆ มาละลายเกลือก่อนแล้วเติมในรูปแบบสารละลายเกลือ ระวัง
salting-out = เกลือแย่งน้าจากยา ถ้าเกลือเยอะ น้าน้อย ยาอาจตกตะกอนได้
6. ถ้าตารับมีน้าและ alc ให้ค่อยๆเติมน้าลง alcohol
7. ถ้ายาไม่ใส กรองได้โดยใช้ filter aid = talc 15 g/ solution 1 L แต่ต้องไม่กรอง API ออกไปนะ!

ตัวอย่างสูตรตารับ
Rx Choral Hydrate Oral Solution HF 2549
ส่วนประกอบ Official Approx.vol. หน้าที่ในตารับ
Formula (ml)
Choral hydrate 10 g 5.0 API: hypnotics, anxiolytics
Citric acid monohydrate 0.75 g 0.375 Buffer, souring agent
Paraben concentrate 1 ml 1 Preservative
Glycerin 10 ml 10 Cosolvent (ตัวทาละลายร่วม),
sweetening agent
Purified water 20 ml 20 Solvent (ตัวทาละลายหลัก)
Color q.s. q.s. Coloring agent
Flavor q.s. q.s. Flavoring agent
Simple syrup q.s. to 100 ml 100-36.375= 63.625 Vehicle (น้ากระสายยา-ปริมาณ
¾ = 47.72 ประมาณ 48 มากสุดใช้ปรับปริมาตร),
¼ ประมาณ 16 sweetening agent

วิธีเตรียม
1. แยกชั่ง choral hydrate 10 g, citric acid monohydrate 0.75 g บนกระดาษชั่งยาด้วยเครื่องชั่งที่
คาลิเบรตและปรับสมดุลแล้ว
2. ละลาย citric acid monohydrate 0.75 g ที่ชั่งมาด้วย purified water 20 ml ในบีกเกอร์ขนาด 100
ml
3. ละลาย choral hydrate 10 g ในสารละลายข้อ 2 จนหมดจากนั้นจึงเติม glycerin 10 ml ลงไปผสม
คนให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียว

8
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

4. เติม simple syrup 48 ml (¾ approx.vol.) ลงไปในสารละลายข้อ 3 คนให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียว


5. คาลิเบรตหยดของ paraben concentrate แล้วหยดลงในสารละลายข้อ 4 จนครบ 1 ml
6. เติม color และ flavor
7. เทสารละลายที่เตรียมได้ลงในกระบอกตวงขนาด 100 ml แล้วปรับปริมาตรจนครบ 100 ml ด้วย
simple syrup (¼ approx.vol.)
8. เทลงภาชนะบรรจุและปิดฉลากให้เรียบร้อย

Rx Antiseptic Solution NF
ส่วนประกอบ Official Formula หน้าที่ในตารับ
Boric acid 25 g
(ค่าการละลายในน้า 5g/100ml ที่ 25˚C, API
37g/100ml ที่ 100˚C)
Thymol 0.5 g
Chlorothymol 0.5 g
Menthol 0.5 g
Flavoring agent
Eucalyptol oil ละลายได้ใน alc 0.1 g
Methyl salicylate 0.2 ml
Thyme oil 0.01 ml
Alcohol 300 ml Cosolvent, self-preservative
Purified water q.s. to 1000 ml Vehicle

วิธีเตรียม (แบบย่อ)
Preparation Chilling Filtration
1. บีกเกอร์ 1 เติมทุก oil+alcohol
2. บีกเกอร์ 2 ตวง ¾ purified water แล้วนาไปต้มให้พอร้อน ละลาย boric acid ในน้าร้อนแล้วรอให้เย็น
(ถ้าร้อนเดี๋ยวผสมแล้ว alc ระเหยหมด)
3. ค่อยๆเทบีกเกอร์ 2 (น้า) ลงในบีกเกอร์ 1 (alc) แล้วปรับปริมาตรด้วย purified water
4. เติม filter aid -> talc 5 g/ solution 1 L ลงในสารละลาย เขย่าให้กระจายทั่วแล้วปิดด้วย parafilm
นาไปแช่ตู้เย็น/ใส่ใน ice bath -> ให้สารละลายอิ่มตัวที่ 0˚C (talc ช่วย adsorb oil กระจาย oil ให้เล็ก
oil ก็จะละลายดีขึ้น, เป็นตัวช่วยในการกรองเนื่องจากสามารถอุดรูกระดาษกรองทาให้กรองได้ ละเอียด
ขึน้ )
5. กรองด้วยกระดาษกรอง จะได้สารละลายใส บรรจุลงในภาชนะและปิดฉลากให้เรียบร้อย

9
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

ภาชนะบรรจุ ภาชนะปิดสนิท, light-resistant/ child-resistant/ tamper-evident ขึ้นกับยา


การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิห้อง หากเก็บในตู้เย็นหลังเปิดใช้ยา/น้าตาลต้องไม่ตกตะกอน สารละลายยังคงใส
ความไม่คงตัวของสารละลาย
Instability
Physical Chemical Biological
Appearance เปลี่ยนแปลง เช่น ไม่ - Degradation of APIs Bacterial and fungal
ใส สี/กลิ่น/รสเปลี่ยน อาจเกิดจาก pH-stability profile growth
- API/ ของแข็งตกตะกอน ใช้ buffer, antioxidant, แก้โดยใช้ preservative
- มีการสร้าง polymorph ที่ละลาย chelating agent
ได้น้อยลง - Incompatibility
- ภาชนะดูดซับ API/ preservative เช่น paraben เกิด complex กับ
- immiscible oils ทาให้ขุ่น Tween 80

2. ยาน้าเชื่อม (syrups)
นิย าม เป็ น สารละลายในน้ าของน้ าตาลหรื อสารที่ ใ ช้แ ทนน้ าตาล มี ลั ก ษณะทั่ ว ไปคือ ข้ น หนื ด รสหวาน
ปราศจาก alcohol หรือมีปริมาณเล็กน้อย อาจมีหรือไม่มีสารแต่งกลิ่นรส และตัวยา
ความข้นหนืดสูงช่วย
1. เคลือบตุ่มรับรส (taste buds) เพื่อกลบรสชาติร่วมกับรสหวาน
2. ลดการระคายเคืองของเนื้อเยื่อบริเวณลาคอ (throat) ได้
ดังนั้นยาน้าเชื่อมจึงนิยมใช้กับยาที่ขม (eg. paracetamol) หรือยาแก้ไอ

ประเภทของยาน้าเชื่อม
1. น้าเชื่อมแต่งกลิ่นรส (flavored syrup) -> ใช้เป็นกระสายยา
2. น้าเชื่อมที่เป็นยา (medicated syrup) -> มีส่วนประกอบของยา

สูตรตารับโดยทั่วไปของยาน้าเชื่อม
API (water-soluble) x%
Sucrose 45-85%
Sugar substitute q.s.
Preservative q.s.
Flavor q.s.
Color q.s.
Purified water q.s. ad 100%

10
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

Syrup BP = Sucrose 66.7 % w/w


Syrup USP = simple syrup มี sucrose 85 %w/v หรือ 64.74 %w/w
ทั้ง Syrup BP และ Syrup USP เป็น Self-preservative

ส่วนประกอบของยาน้าเชื่อม
1. ตัวยาสาคัญ (Medication agent) ควรละลายน้าได้ดี เช่น ใช้รูปเกลือ หากไม่ละลายน้าใช้ตัวทาละลาย
ร่วมช่วย
2. สารแต่งรสหวาน (Sweetening agent) ได้แก่
2.1. น้าตาล – แบ่งออกเป็น sugars, liquid glucose และ polyols
Sugars (sucrose, dextrose, fructose และ stevia)
Sucrose
- Very soluble ในน้าและ alcohol, คงตัวใน pH = 4-8,
- หากให้ความร้อน >130๐C หรือเติมกรด HCl เพื่อเร่งปฏิกิริยา hydrolysis จะทาให้ sucrose
กลายเป็น inverted sugar (glucose+fructose) ซึ่งหนืดและหวานมากขึ้น
- หากให้ความร้อน >160๐C จะเกิด caramelization ทาให้ syrup กลายเป็นสีคาราเมล
- มีคุณสมบัติ self-preservative หากใช้มากกว่า 65% w/w หรือ 85% w/v เนื่องจากทาให้ระบบมี
ความดันออสโมติกสูง ป้องกันการเจริญของเชื้อได้
Dextrose - เป็น D-form ของ glucose นิยมใช้กรณีสูตรตารับเป็นกรดค่อนข้างสูง
Fructose - เหมาะกับตารับที่มี alcohol เพราะละลายได้ดี
Stevia - ได้จากใบของต้นหญ้าหวาน (honey leaf, yerba dulce)
Liquid glucose (แบะแซ) - มีองค์ประกอบหลักเป็น dextrose และมี dextrin กับ maltose ในปริมาณ
เล็กน้อย เตรียมได้จากการ hydrolysis แป้งด้วยกรด ต้องอุ่นก่อนใช้งานเพราะเหนียว
Polyols (glycerin, propylene glycol, sorbiltol, mannitol และ xylitol)
Glycerin และ propylene glycol - ใช้เป็นตัวทาละลายร่วมเพื่อช่วยเพิ่มค่าการละลายของตัวยาได้
Sorbitol, mannitol และ xylitol - เกิดจากการเปลี่ยนหมู่ aldehyde ของ sucrose, mannose และ
xylose เป็นหมู่ alcohol มีจุดเด่นคือให้ความรู้สึกเย็น นอกจากนี้ xylitol ป้องกันฟันผุได้
2.2. สารที่ใช้แทนน้าตาล - เหมาะสาหรับผู้ป่วยเบาหวาน
Saccharin - ให้รสชาติขมตามหลังรสหวาน, เป็นสารก่อมะเร็ง และห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ซัลฟา
Aspartame - ห้ามใช้ในผู้ป่วย Phenylketouria เพราะมี phenylalanine
Acesulfame potassium
Sucralose - ให้ความหวานมากกว่า sucrose 600 เท่า ปัจจุบันนิยมใช้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพราะทนความร้อน
และทน pH ได้ในช่วงกว้าง

11
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

3. สารกันเสีย
ในยาน้าเชื่อม การใช้สารกันเสียต้องคานึงถึง ปริมาณน้าในตารับ (free water), ดูว่าเป็น self-
preservative ไหม, ดูความสามารถของ Preservative ว่าป้องกันเชื้อได้มากแค่ไหน มักใช้
- Benzoic acid 0.1-0.2 % หรือ sodium benzoate 0.1-0.2 % (ได้ผลดีในสารละลาย pH ต่า)
- Paraben concentrate 1.0 % (= 10% methyl paraben+ 2% propyl paraben ใน PG)
- Alcohol 15-20%
4. สารแต่งกลิ่นและสารแต่งรส อาจะเป็นสารสังเคราะห์หรือได้จากธรรมชาติก็ได้ ใช้ 0.01-0.05% w/v
และเติม alcohol เล็กน้อยเพื่อช่วยให้สารแต่งกลิ่นรสละลายในยาน้าเชื่อมได้ดึขึ้น
5. สารแต่งสี (ควรเลือกให้สอดคล้องกับสารแต่งกลิ่น มีความคงตัว)
6. Purified water (ได้จากการกลั่นหรือ reverse osmosis มี pH 5-7)
7. อื่นๆ เช่น cosolvent, solubilizing agents, viscosity-inducing agents (Na alginate 2.5 %, Na
CMC 1.5%), stabilizers (antioxidant, chelating agent, buffer)
*viscosity inducing agents นิยมใช้ในตารับยาน้าเชื่อมที่มี artificial sweeteners 0.1-0.2% เพราะว่า
ตารับมีน้าตาลในปริมาณที่น้อย เลยไม่ข้นหนืดมากพอ
การคานวณหา free water และการพิจารณาใส่สารกันเสีย
Simple syrup USP 34
Sucrose 85 g
Purified water q.s. to 100 ml
*กาหนดให้ specific gravity ของสารละลายนี้คือ 1.313 g /ml และการละลายของ sucrose ในน้า
คือ 1 g: 0.5 ml
- น้าที่ใช้ในการละลาย sucrose เท่ากับ 85 g x 0.5 ml = 42.5 ml
- ดังนั้นจะมีน้าอิสระ (free water) อยู่เท่ากับ 131.3 g – (85+42.5) g = 3.8 g
- จะเห็นว่าปริมาณน้าที่เหลือน้อยเพียง 3.8 g จะทาให้ syrup USP มีคุณสมบัติ self-preservative
- เมื่อเปรียบเทียบกับ syrup BP พบว่า syrup BP มี free water น้อยกว่า syrup USP ดังนั้น
โอกาสทีน่ ้าตาลตกผลึก หรือเกิด cap-locking จะมากกว่า
- ยาน้าเชื่อมส่วนใหญ่มีปริมาณน้าตาล sucrose 60-80% w/v ดังนั้นต้องใส่สารกันเสียเสมอ
- ยิ่งมีน้าอิสระมาก ปริมาณสารกันเสียที่ใช้ก็ต้องมากตาม
- อาจเติมสารกันเสียไว้มากเกินพอเล็กน้อย เพราะเมื่อตั้งยาน้าเชื่อมทิ้งไว้นานๆ น้าอาจระเหยมาอยู่
บนผิวหน้าของยาน้าเชื่อม ทาให้เกิดเชื้อราบนผิวหน้าได้

วิธีเตรียม มี 4 วิธี
1. การละลายโดยใช้ความร้อน
เตรียมโดยเติม sucrose ในน้า ให้ความร้อนระยะหนึ่งจน sucrose ละลายหมด เติมตัวยาหรือสารที่
ไม่สลายตัวด้วยความร้อนลงใน syrup ที่เตรียมได้ คนผสมจนละลายหมด นิยมใช้เตรียม flavored syrup
- ถ้ามีสารที่สลายตัวหรือระเหยเมื่อโดนความร้อน ให้เติมตอน syrup มีอุณหภูมิเท่าอุณหภูมิห้องแล้ว

12
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

- การให้ความร้อนสูงทาให้ syrup หวานมากเพราะเกิด inverted sugar แต่ syrup ที่ได้จะเป็นสีเข้ม


จนถึงสีชาหรือน้าตาลเข้มข้นเนื่องจากเกิด caramelization
- การเกิด inverted sugar (glucose และ fructose) จะทาให้ใช้น้าละลายน้าตาลเหล่านี้น้อยลง เกิด
free water มากขึ้น โอกาสเกิดจุลชีพในยาน้าเชื่อมก็มากขึ้น
2. การละลายโดยการเขย่าและไม่ใช้ความร้อน
เตรียมโดยละลาย sucrose, สารอื่นที่ละลายน้าดี และตัวยาที่เป็นของเหลวมาละลายในน้า เขย่าหรือ
คนจนละลายหมด วิธีนี้ใช้เวลาเตรียมมากกว่าการใช้ความร้อน แต่ syrup ที่ได้จะคงตัวดีกว่าเพราะไม่เจอ
ความร้อน นิยมใช้เตรียม medicated syrup
- หากตัวยาเป็นของแข็งต้องนาผงยาละลายในน้าจานวนน้อยที่สุดให้เป็นสารละลายก่อน แล้วค่อย
ผสมกับน้าเชื่อม การเติมผงยาลงในน้าเชื่อมโดยตรง ผงยาจะละลายได้ยากเพราะน้าเชื่อมหนืดและมีน้า
อิสระน้อย
3. การเติม sucrose ลงในของเหลวที่มีตัวยาหรือของเหลวที่ปรุงแต่งรส
นิยมใช้ใน tincture หรือ fluid extracts เนื่องจากหากผสมน้าโดยตรงมักจะเกิดการตกตะกอน
วิธีการเตรียมคือ บดผสม tincture หรือ fluid extract เข้ากับ talcum จากนั้นนาไปกรองเอา talcum
และสารที่ไม่ละลายออก แล้วค่อยเติม sucrose ลงไปพร้อมกับบดผสมด้วยโกร่ง จากนั้นจึงนาไปปรับ
ปริมาตรให้ครบ
4. Percolation
เตรียมโดยนาน้าหรือสารละลายของตัวยา (tincture/fluid extract) มาไหลผ่าน sucrose ซึ่งบรรจุ
ใน Percolator อย่างช้าๆ โดยใช้แรงโน้มถ่วงหรือความดันช่วยก็ได้ สารละลายที่ได้เรียกว่า percolate
- หากเป็น crude drug เช่น สมุนไพร อาจนามาบรรจุใน percolator แล้วนา hydroalcoholic มา
สกัดเป็น menstruum แล้วค่อยนาไปผสมกับน้าเชื่อมหรือ sucrose
ตัวอย่างสูตรตารับ
Rx Antihistamine syrup
Official
ส่วนประกอบ หน้าที่ในตารับ
Formula
CPM maleate 0.4 g API (antihistamine)
Glycerin 25 ml Sweetening agent กลุ่ม polyols,
ป้องกัน Cap-locking, cosolvent
Syrup 83 ml Sweetening agent กลุ่ม sugars
Sorbitol solution 282 ml Sweetening agent กลุ่ม polyols, ป้องกัน Cap-locking
Sodium benzoate 1g Preservative
(หากมี benzoic acid ในตารับอาจพิจารณาเป็น buffer)
Alcohol 60 ml Cosolvent (ช่วยละลาย color และ flavor)
Color and flavor q.s. Coloring agent, flavoring agent
Purified water q.s. to 1000 ml Vehicle

13
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

วิธีการเตรียม
ใช้การละลายโดยการเขย่าและไม่ใช้ความร้อนเนื่องจากตัวยาละลายน้าได้ดี (เพราะเป็นรูปเกลือ)
1. บีกเกอร์ 1: น้าปริมาตร ¾ + sodium benzoate (บดก่อน) + CPM maleate (บดก่อน) จากนั้นค่อยๆ
ใส่ sorbitol solution + glycerin + syrup โดยผสมตามความหนืดจากน้อย->มาก เพื่อให้ง่ายต่อการ
คนผสม
2. บีกเกอร์ 2: alcohol + สีและกลิ่น (หากทา stock solution ใน alcohol)
3. เทบีกเกอร์ 2 ลง บีกเกอร์ 1 (ตามหลัก order of mixing แล้วควรเทน้าลง alcohol แต่เนื่องจากไม่มีตัว
ยาสาคัญใน alcohol จึงไม่กังวลเรื่องการตกตะกอน ส่วนสีและกลิ่นปริมาณน้อยสามารถเข้ากันได้กับน้า
ที่มี cosolvent) เนื่องจากบีกเกอร์ 1 มีความหนืดสูง เทได้ยากกว่า คนผสมให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียว
4. ปรับปริมาตรในกระบอกตวง เทลงภาชนะบรรจุและปิดฉลากให้เรียบร้อย

Rx Ferrous sulfate syrup


Official
ส่วนประกอบ หน้าที่ในตารับ
Formula
Ferrous sulfate 40 g API: iron supplement (ยาเกิด oxidation ได้ง่าย)
Citric acid, hydrous 2.1 g pH adjusting agent (ใช้ปรับ pH ให้ไปทางกรด),
antioxidant (เป็น chelating agent), flavoring agent
(ให้รสเปรี้ยว) แต่ไม่ใช่ buffer เพราะไม่มีคู่ citrate salt
Peppermint spirit 2 ml Flavoring agent (spirit มี alcohol อาจเกิดการ
ตกตะกอนได้)
Sucrose 825 g Sweetening agent กลุ่ม sugars, antioxidant
(เป็น reducing agent ช่วยป้องกัน ferrous –> ferric ได้)
Purified water q.s. to 1000 ml Vehicle

วิธีการเตรียม
ใช้การละลายโดยการเขย่าและไม่ใช้ความร้อนเนื่องจากตัวยาละลายน้าได้ดี (เพราะเป็นรูปเกลือ)
1. บีกเกอร์: น้าปริมาตร ¾ + citric acid + ferrous sulfate + peppermint spirit (ค่อยๆใส่ระวังการ
ตกตะกอน) + ¼ sucrose (ใส่เพื่อป้องกัน oxidation ของ ferrous) คนผสมให้เข้ากันดี
2. นาสารละลายที่ได้ไปกรองเอาตะกอนออกก่อนด้วยกระดาษกรองเบอร์ 1 เพราะ ferrous sulfate อาจ
เกิด oxidation เป็น ferric และตกตะกอนออกมาได้ และอาจเกิดตะกอนจาก peppermint spirit ที่ถูก
เจือจาง
3. นา filtrate ที่ได้จากการกรองมาเติม ¾ sucrose คนผสมให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวและปรับปริมาตรใน
กระบอกตวง

14
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

*หมายเหตุ: ตามหลักที่ถูกต้องแล้วควรปรับปริมาตรก่อนการกรอง เพราะถ้าหากปรับปริมาตรหลังการกรองจะ


ทาให้ความเข้มข้นตัวยาลดลงได้ แต่เข้าใจว่าต้องการกรองก่อนเพราะตารับมีความหนืดสูง ไม่สามารถไหลผ่าน
กระดาษกรองได้ แล้วจึงปรับปริมาตรทีหลัง รวมถึง ferrous sulfate ไม่ใช่ตัวยา therapeutic index แคบ
จึงเลือกใช้การกรองก่อนปรับปริมาตร

ความไม่คงตัวของยาน้าเชื่อม (instability of syrups)


ปัญหาความไม่คงตัว สาเหตุ แนวทางการแก้ไข
1. Surface dilution - ตัวทาละลายเกิดการระเหยลอยขึ้นไป - ใช้สารกันเสีย
การเจือจางพื้นผิวของยา ด้านบนภาชนะบรรจุ จากนั้ นเกิด การ - ป้องกันยาน้าเชื่อมจากการ
น้าเชื่อม ควบแน่นกลับมาเป็นตัวทาละลายและ เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิมากๆ
ไหลกลับลงไปด้านหน้าของยาน้าเชื่อม
เกิดเป็น diluted layer บริเวณผิวหน้า
ของยาน้าเชื่อม ทาให้จุลชีพเจริญได้ง่าย
ขึ้น
2. Crystallization of - เกิดจากการเตรียมยาน้าเชื่อมโดยใช้ - ใช้สารให้ความหวานอื่นแทน
sucrose sucrose ในปริมาณมากและอุณหภูมิ sucrose หรือลดปริมาณลง
การตกผลึกของน้าตาลในยา สูงๆ จนเป็น supersaturated - การให้ความร้อนจนเกิดเป็น
น้าเชื่อม solution เมื่อนามาเก็บที่อุณหภูมิต่าจึง inverted sugar ในสัดส่วนที่
เกิดการตกผลึก เหมาะสม
- มี alcohol ปริมาณมากไปในตารับ - ควรใช้ alcohol ไม่เกิน 10%
3. Cap-locking - เวลาริ น ยาน้ าเชื่ อ มออกจากภาชนะ - ใช้สารให้ความหวานอื่นแทน
การผลึกน้าตาลบนเกลียว บรรจุ มักจะมียาน้าเชื่อมหลงเหลื ออยู่ sucrose หรือลดปริมาณลง
ปากขวด บริ เ วณเกลี ย วปากขวด และเกิ ด ผลึ ก - ใช้สารกลุ่ม polyols เช่น
เมื่อตั้งทิ้งไว้นานๆ จะติดแน่นทาให้เปิด propylene glycol, glycerin,
ฝาไม่ออก sorbitol เพราะมีคุณสมบัติดึงน้า
ไว้ ช่วยลดการระเหยของน้าได้

ความเข้ากันไม่ได้ การเติมผงยาซึ่งแม้ละลายในน้าได้ลงน้าเชื่อมโดยตรง ทาให้ยาละลายได้ช้า จึงควรแยก


ละลายในน้าปริมาณน้อยที่สุด ก่อนเติมลงในน้าเชื่อม

การบรรจุและการเก็บรักษา ควรป้องกันน้าเชื่อมจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิมากๆ (ไม่ควรแนะนาให้


เก็บ ยาในตู้เย็น หากไม่มีความจ าเป็น เพราะทาให้อาจเกิดการตกตะกอนของยาและน้าตาล) ควรบรรจุใน
ภาชนะปิดสนิท

15
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

3. ยาอิลิกเซอร์ (elixirs)
นิยาม ยาเตรียมประเภทของเหลวสาหรับรับประทาน เป็นสารละลายใส รสหวาน ตัวทาละลายที่ใช้จะเป็นน้า
ผสมกับ alcohol

ข้อดีของตารับ = ใช้ได้กับสารที่ละลายน้าและสารที่ละลาย alcohol ง่ายต่อ


การเตรียมเมื่อเทียบกับ syrups (ใช้ตัวทาละลายได้หลากหลาย)
ข้อเสียของตารับ = มี alcohol ในปริมาณมาก
ประเภทของอิลิกเซอร์
1. Non-Medicated ใช้เป็นน้ากระสายยาปรุงแต่งรสเพื่อเจือจางตารับยาหรือใช้เป็นตัวทาละลายตัวยา มี
alcohol 9-75%
2. Medicated elixirs ใช้เพื่อการรักษาโรค มีตัวยาสาคัญละลายในน้ากระสายยามี alcohol 3-44%

ส่วนประกอบในยาอิลิกเซอร์
1. ตัวยาสาคัญ มักละลายได้น้อยในน้า ละลายได้ดีใน alc หรือ hydroalcoholic solution แต่ตัวยาที่
ละลายน้าได้ดีก็สามารถเตรียมเป็น elixir ได้เช่นกัน
2. ตัวทาละลาย มักเป็นน้า+alc (Hydroalcoholic solution) ความแรงของ alc จะมากหรือน้อย
ขึ้นกับความสามารถในการละลายน้าหรือ alcohol ของตัวยาหรือสารอื่นในตารับ
- ปริมาณ alcohol สาหรับเด็กน้อยกว่า 6 ปี คือ 0.5%, 6-12 ปี คือ 5% และมากกว่า 12 ปี คือ 10%
ดังนั้น pediatric preparation ไม่ควรมี alcohol มากกว่า 5% (อ้างอิงจาก WHO)
- Alcohol ในปริมาณ 10-12% มีคุณสมบัติ self-preservative
- อาจใช้ cosolvent อื่นร่วมด้วย เช่น PEG 400, propylene glycol, glycerin โดย propylene
glycol/ glycerin ในปริมาณมากกว่า 20% มีคุณสมบัติ self-preservative
3. สารแต่งรสหวาน ที่นิยมใช้มากที่สุด คือ Sucrose หากในตารับมีน้ามาก (มี alc ประมาณ 10%), ส่วน
saccharin ประมาณ 0.1% ใช้กับตารับที่มีน้าน้อยๆ (มี alc ประมาณ 80%)
4. สารกันเสีย
5. สารแต่งกลิ่น
6. สารแต่งสี
วิธีเตรียม ทาได้ 2 วิธี คือ
1. การละลายธรรมดา (Simple solution)
เตรียมโดยนาตัวยามาละลายในน้ากระสายยาหรือตัวทาละลายหรือตัวทาละลายร่วมจนได้
สารละลายใส แล้วจึงเติมสารอื่นในตารับ ผสมให้เข้ากัน ปรับปริมาตร วิธีนี้เตรียมง่ายและรวดเร็ว
2. การผสมสารละลายของตัวยา / สาร ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปเข้าด้วยกัน
(The Admixture of two or more liquid ingredient)
โดยตัวยา/สารในสูตรตารับมีคุณสมบัติการละลายต่างกัน ให้นาสารละลายในน้าค่อยๆ เทลง
ในสารละลายใน alcohol อย่างช้าๆ คนตลอดเวลา (เพื่อเป็นการรักษาความแรงของ alcohol ให้สูง
16
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

ไว้ และค่อยๆ ลดความแรงลง สารที่ละลายใน alcohol จะได้ไม่ตกตะกอน ตามหลัก order of


mixing) ปรับปริมาตรด้วยน้ากระสายยา ถ้าสารละลายที่เตรียมได้ขุ่นให้ตั้งทิ้งไว้จนเกิดตะกอนเต็มที่
แล้วนาไปกรองจนใส โดยทากระดาษกรองให้ชื้นด้วย hydroalcoholic solution ที่มีความแรงของ
alcohol เท่ากับ elixir ที่ต้องการกรอง (ปรับปริมาตรก่อนกรองเพื่อให้มีความเข้มข้นที่ถูกต้องก่อน
ถ้าหากปรับปริมาตรหลังกรองความเข้มข้นของตัวยาจะถูกเจือจางลงได้)
Iso-alcoholic Elixir
ได้จากการผสม low alcoholic elixir (Alcohol 9 % v/v) กับ high alcoholic elixir (alcohol
75% v/v) ในอัตราส่วนต่างๆ เพื่อให้ได้ความแรงของ alcohol ตามต้องการ

การคานวณ Iso-alcoholic elixir


สมมติต้องการเตรียม Iso-alcoholic elixir ที่มี alcohol 40 %
Low 9 35
40
High 75 31
66
เตรียม Iso-alcoholic elixir 66 ml ต้องใช้ high alcoholic elixir 31 ml
เตรียม Iso-alcoholic elixir 100ml ต้องใช้ high alcoholic elixir (31x100)/66 = 47 ml
เตรียม Iso-alcoholic elixir 66 ml ต้องใช้ low alcoholic elixir 35 ml
เตรียม Iso-alcoholic elixir 100ml ต้องใช้ low alcoholic elixir (35x100)/66 = 53 ml
ดังนั้น การเตรียม Iso-alcoholic elixir ที่มี alcohol 40 % v/v ทาได้โดยการนา high alcoholic elixir 47
ml ผสมกับ low alcoholic elixir 53 ml
ตัวอย่างสูตรตารับ
Rx Theophylline elixir
Official
ส่วนประกอบ หน้าที่ในตารับ
Formula
Theophylline 5.3 g API (bronchodilator) ยาละลายน้าต่า ละลายได้ดีใน alcohol
Citric acid 10 g pH adjusting agent (ใช้ปรับ pH ให้ไปทางกรด), flavoring
agent (ให้รสเปรี้ยว) แต่ไม่ใช่ buffer เพราะไม่มีคู่ citrate salt
Syrup 132 ml Sweetening agent กลุ่ม sugars
Glycerin 50 ml Sweetening agent กลุ่ม polyols
Sorbitol solution 324 ml Sweetening agent กลุ่ม polyols
Alcohol 200 ml Cosolvent
Flavor q.s. Flavoring agent
Purified water q.s. to 1000 ml Vehicle

17
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

วิธีการเตรียม
ใช้หลัก simple solution แยกละลายเป็น 2 บีกเกอร์ บีกเกอร์เฟสน้าและบีกเกอร์เฟส alcohol
1. บีกเกอร์เฟสน้า: น้าปริมาตร ¾ + citric acid
2. บีกเกอร์เฟส alcohol: alcohol + theophylline
3. ค่อยๆเทบีกเกอร์เฟสน้าลงบีกเกอร์เฟส alcohol พร้อมคนตลอดเวลาขณะที่เทด้วยแท่งแก้ว
4. เติมสารให้ความหวานต่างๆ ลงไปตามความหนืดจากน้อย->มาก (sorbitol solution->glycerin-
>syrup) 5. แต่งรสชาติด้วย flavoring agent และปรับปริมาตรในกระบอกตวง

ความไม่คงตัวของยาอิลิกเซอร์ (instability of elixirs)


ปัญหาความไม่คงตัว สาเหตุ แนวทางการแก้ไข
Precipitation - เกิดจากการระเหยของ alcohol ออก - ภาชนะบรรจุ ต้ อ งปิ ด สนิ ท
การตกตะกอนของ จากสูตรตารับ ทาให้สารที่เคยละลายได้เกิด ไม่เปิดภาชนะบรรจุทิ้งไว้
ส่วนประกอบในสูตรตารับ การตกตะกอน

ความเข้ากันไม่ได้
- การผสมยาอิลิกเซอร์ที่มีความแรงของ alcohol ต่าเข้ากับยาทิงเจอร์และยาสกัดเหลวที่มีปริมาณ alcohol
สูงจะทาให้เกิดการตกตะกอน
- สารเพิ่มความหนืดบางชนิดไม่ทน alcohol (เกิดการตกตะกอน) เช่น tragacanth และ acacia รวมถึงสาร
ก่อเจล

การบรรจุและการเก็บรักษา ควรป้องกันจากการระเหยและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ดังนั้นภาชนะควรปิด


แน่น ป้องกันแสง เก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิห้อง

ความแตกต่างระหว่าง syrups และ elixirs


ข้อเปรียบเทียบ Syrups Elixirs
คุณสมบัติการละลายของตัวยา ละลายน้าได้ดีกว่า ละลายน้าได้น้อยกว่า
ตัวทาละลาย น้า Hydroalcoholic
วิธีเตรียม เตรียมได้ 4 วิธี Simple solution
ความหวานและความหนืด มากกว่า น้อยกว่า
รสชาติ/การกลบรส ดีกว่า ไม่ค่อยดี
ความคงสภาพของตัวยา ดีน้อยกว่า ดีกว่า
อย่างไรก็ตามบางกรณีก็ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้ เช่น ปริมาณ alcohol ระหว่างยาอิลิกเซอร์
และยาน้าเชื่อมบางทีอาจใกล้เคียงกันหรือสูตรตารับที่คล้ายกันใน BP อาจเรียกยาอิลิกเซอร์ ขณะที่ USP เรียก
ยาน้าเชื่อม เป็นต้น

18
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

4. ยาเตรียมรูปแบบของเหลวใสชนิดอื่นๆ (เพิ่มเติมแต่ไม่น่าออกสอบ)
ชนิดของยาเตรียมรูปแบบของเหลวใส แบ่งตาม solute และ solvent
รูปแบบ Solute Solvent
Solution ของแข็ง/ของเหลวที่ไม่ระเหย น้า/สารละลายผสมที่ไม่ใช่น้า
Aromatic water ของแข็ง/ของเหลวหอมระเหย น้า
Spirit ของแข็ง/ของเหลวหอมระเหย น้า/สารละลายผสมที่ไม่ใช่น้า
Syrup น้าตาล/สารรสหวาน น้า
Elixir น้าตาล น้า/สารละลายผสมที่ไม่ใช่น้า
Tincture สารสกัด น้า/สารละลายผสมที่ไม่ใช่น้า

4.1 น้าปรุงหอม (Aromatic water)


นิยาม สารละลายใสและอิ่มตัวของน้ามันหอมระเหยง่าย (volatile oil) หรือสารที่มีกลิ่นหอม หรือสารระเหย
อื่นๆ ซึ่งอาจเป็นของแข็ง ของเหลว แก๊ส ในน้า

ส่วนประกอบ
1. ตัวยาสาคัญ ได้แก่ volatile oil, aromatic or volatile substance
2. น้ากระสายยา คือ purified water

วิธีเตรียม ตามเภสัชตารับมี 4 วิธี คือ


1. วิธีการกลั่น (distillation method) เตรียมโดยเอาส่วนของพืชหรือยาที่จะเตรียมเป็นน้าปรุงหอมมาใส่ใน
เครื่องกลั่นที่เหมาะสม ใส่น้าให้เพียงพอ ระวังอย่าให้ไหม้ เมื่อเก็บของเหลวที่ได้จากการกลั่น (distillation)
น้ามันที่มากเกินพอ (excess oil) จะลอยขึ้นข้างบนและแยกออกไป ส่วนที่เหลือจะเป็นสารละลายอิ่มตัวของ
น้ามันหอมระเหยในน้า การเตรียมวิธีนี้ต้องใช้เครื่องมือและเสียเวลามาก จึงใช้ในการเตรียมน้าปรุงหอมจาก
ส่วนของพืชสดที่ไม่สามารถเตรียมด้วยวิธีอื่นได้
2. วิธีการละลายธรรมดา (solution method) เตรียมโดยการเขย่าน้ามันหอมระเหยง่ายกับน้า (ถ้าเป็น
ของแข็งต้องบดให้ละเอียดก่อน) ในภาชนะที่เหมาะสม เป็นเวลา 15 นาที ตั้งทิ้งไว้อย่างน้อย 12 ชั่วโมงเพื่อให้
สารละลายอิ่มตัวและทาให้น้ามันที่มากเกินพอรวมกัน (coalesce) เป็นหยดลอยขึ้นข้างบนหรือของแข็งที่มาก
เกินพอนอนก้น (settle) กรองน้าปรุงหอมผ่านกระดาษกรองที่ทาให้เปียกด้วยน้าโดยไม่ต้องเขย่า การเตรียมวิธี
นี้ไม่ต้องใช้เครื่องมือยุ่งยาก ใช้เวลาน้อยกว่าการกลั่น แต่น้าปรุงหอมที่ได้มักจะไม่ใสแม้ว่ากรองหลายครั้งก็ตาม
3. วิธีการละลายโดยใช้สารช่วยกระจายตัว (distributing agent) (alternative solution method)
เตรียมโดยนาสารช่วยกระจายตัว เช่น purified talc, purified siliceous earth บดผสมกับสารหอมระเหย
แล้วเติม purified water ลงไป เขย่าให้เข้ากันดีประมาณ 10 นาที แล้วกรองผ่านกระดาษกรองที่ทาให้ชื้นด้วย
น้า ปรับปริมาตรผ่านกระดาษกรอง วิธีนี้นิยมใช้เพราะง่าย ไม่เสียเวลา
19
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

4. วิธีการทาให้เจือจาง (dilution method) (official ใน BP) นา concentrated aromatic water (มี


alcohol ประมาณ 50-55% และน้าเป็นตัวทาละลาย) ที่เตรียมไว้แล้วมาเจือจางด้วย purified water ข้อเสีย
ของวิธีนี้คือ ในน้าปรุงหอมมี alcohol ผสมอยู่ เมื่อ alcohol ถูกออกซิไดส์ กลิ่นรสจะเปลี่ยนไปจากเดิมและไม่
ถูกต้องตามคาจากัดความเพราะไม่ใช่สารละลายอิ่มตัวแล้ว

การบรรจุและการเก็บรักษา tight light resistant container ที่อุณหภูมิห้อง

ประโยชน์ โดยทั่วไปน้าปรุงหอมจะใช้ประโยชน์เป็นสารแต่งกลิ่นและรสหรือใช้เป็นน้ากระสายยาที่มีกลิ่นหอม

ตัวอย่างสูตรตารับ
Rx Peppermint Water NF
Peppermint Oil 2 ml
Purified Water to 100 ml
Talc. 15 g
เตรียมโดยวิธีการละลายธรรมดา (solution method)
1. บดผสม peppermint oil กับ talc. 15 g ให้เข้ากันจนน้ามันกระจายตัวทั่ว talc.
2. เติมน้าบริสุทธิ์ 1000 ml เขย่าให้เข้ากันดีประมาณ 10 นาที กรองส่วนผสมผ่านกระดาษกรองที่ทาให้ชื้น
ด้วยน้าบริสุทธิ์จนได้สารละลายใส ถ้าไม่ใสให้กรองซ้าแล้วปรับปริมาตรให้ครบผ่านกระดาษกรองอันเดิม
หมายเหตุ Talc. ทาหน้าที่เป็นสารช่วยกระจาย (distribution agent) โดยเร่งการละลายของน้ามันหอม
ระเหยในน้าให้เร็วขึ้น เพราะช่วยดูดซับน้ามันหอมระเหยและกระจายออกเป็นอนุภาคเล็กๆไว้ที่ผิวของอนุภาค
ทาให้พื้นผิวในการสัมผัสกับน้ามีมากขึ้น จึงได้สารละลายอิ่มตัวในเวลารวดเร็วขึ้น และทาหน้ าที่เป็นสารช่วย
กรอง (filter aid) ทาให้กรองได้สารละลายใสได้ง่ายขึ้น

4.2 ทิงเจอร์ (Tincture)


นิยาม สารละลายของสารประกอบต่างๆใน alc หรือ alc ผสมน้า มีทั้งชนิดรับประทานและใช้ภายนอก
- ถ้าเตรียมจาก crude drug มากกว่า 1 ชนิดมักมีคาว่า compound นาหน้า
- เตรียมได้โดยการสกัดสมุนไพร หรือการละลายสารเคมีในตัวทาละลาย

ประเภทของทิงเจอร์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ


1. Potent tincture เตรียมได้จาก potent drug คือ tincture 100 ml ที่เตรียมจาก potent drug
จะใช้ crude drug ในการสกัด 10 g หรือเรียกว่า 10% tincture
2. Non-potent tincture เตรียมได้จาก non-potent drug คือ tincture 100 ml ที่เตรียมจาก non-
potent drug จะใช้ crude drug ในการสกัด 20 g หรือเรียกว่า 20% tincture
* นอกจากนี้ยังมี 50% tincture ที่ได้จากการสกัดพืชสด คือ tincture 100 ml จะใช้พืชสด 50 g

20
Solution, syrup, elixir, tincture, etc. By Hilston 21 & Gift 83 & MintHG 64
(หัวกระดาษสามารถลบได้ค่ะ)

วิธีเตรียม มี 3 วิธี คือ


1. Maceration (process M) เป็นการแช่ crude drug ให้ยุ่ยในตัวทาละลาย
2. Percolation (process P) เตรียม crude drug โดยการบดเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิว->ทาให้ชื้นเพื่อให้พองตัว
เต็มที่ จะได้ไม่ไปพองใน percolator->นาไปแร่งคัดขนาด->บรรจุลง percolator->ทาการหมักและให้
menstruum ไหลผ่าน
3. Simple solution ใช้กับการเตรียมยาทิงเจอร์จากสารเคมี

การบรรจุและการเก็บรักษา tight light resistant container ที่อุณหภูมิห้อง

4.3 เหล้ายา (Spirits of Essence)


นิยาม สารละลายใสของสารระเหย (Volatile substance) ใน alcohol หรือใน alcohol ผสมน้า

ส่วนประกอบ
1. ตัวยาสาคัญ คือ volatile หรือ aromatic substance ชนิดเดียวหรือหลายชนิดร่วมกัน
2. Vehicle คือ Alcohol หรือ Alcohol ผสมน้า โดยทั่วไปแล้วในตารับเหล้ายาจะมีปริมาณ alcohol
ที่สูงทาให้สารหอมระเหยในเหล้ายาละลายได้ดี จึงมีความเข้มข้นของตัวยาสูงกว่าในน้าปรุงหอม
3. สารอื่นๆ ที่เหมาะสม

วิธีเตรียม มี 4 วิธี ได้แก่


1. การละลายธรรมดา (Simple solution)
2. การละลายด้วยการหมัก (Solution with maceration) เตรียมโดยหมักส่วนของพืชในตัวทาละลายที่
เหมาะสมเพื่อแยกส่วนที่ต้องการไว้หรือแยกส่วนที่ไม่ต้องการออกไป
3. การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical reaction) สารสาคัญเกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น เช่น สูตรตารับ
aromatic ammonia spirit ซึ่งมี ammonium carbonate เป็นสารสาคัญ เตรียมโดย
NH4HCO3.NH2COONH4 + NH4OH -> 2(NH4)2CO3
4. การกลั่น (distillation) ปัจจุบันไม่มีตารับเหล้ายาเตรียมโดยวิธีนี้แล้ว
การบรรจุและการเก็บรักษา tight light resistant container ที่อุณหภูมิห้อง

21

You might also like